วิวัฒนาการดนตรีไทยสมัยอยุธยา

ดนตรีไทยสมัยรัตนโกสินทร์ สมัยรัชกาลที่ ๑ การจัดวงปี่พาทย์เครื่องห้าได้เพิ่มกลองทัดเข้ามาในวงอีก ๑ ใบ ทำให้วงปี่พาทย์มีกลองทัด ๒ ใบ เสียงสูงและเสียงต่ำเป็นที่นิยมในปัจจุบัน     สมัยรัชกาลที่ ๒ เป็นยุคทองของดนตรีไทย เพราะรัชกาลที่ ๒

Read More »

วิวัฒนาการดนตรีไทยสมัยอยุธยา

ดนตรีไทยสมัยอยุธยา

ดนตรีไทยสมัยอยุธยา การดนตรีสมัยกรุงศรีอยุธยานี้เจริญขึ้นกว่าสมัยกรุงสุโขทัยมาก ชาวพระนครศรีอยุธยาสมัยนั้นมีความสนใจในศิลปะการดนตรีเป็นอย่างมากและนิยมเล่นกันอย่างแพร่หลาย เครื่องดนตรีสมัยอยุธยา ก็คือ เครื่องดนตรีที่เล่นกันมาตั้งแต่ครั้งกรุงสุโขทัยนั้นเอง แต่ได้วิวัฒนาการให้ดีขึ้นทั้งด้านรูปทรงและการประสมวง ตลอดจนการบรรเลงก็ประณีตขึ้น และเพิ่มเครื่องดนตรีบางชนิด ซึ่งสรุปได้ดังนี้ เครื่องดีด มีกระจับปี่ จะเข้ พิณเพี้ยะ พิณน้ำเต้า

Read More »

วิวัฒนาการดนตรีไทยสมัยอยุธยา

ดนตรีไทยสมัยสุโขทัย

ดนตรีไทยสมัยสุโขทัย นับตั้งแต่ไทยได้มาตั้งถิ่นฐานในแหลมอินโดจีน และได้ก่อตั้งอาณาจักรไทยขึ้น จึง เป็นการเริ่มต้น ยุคแห่งประวัติศาสตร์ไทย ที่ปรากฏ หลักฐานเป็นลายลักษณ์อักษร กล่าวคือ เมื่อไทยได้สถาปนาอาณาจักรสุโขทัยขึ้น และหลังจากที่ พ่อขุนรามคำแหง มหาราช ได้ประดิษฐ์อักษรไทยขึ้นใช้แล้ว นับตั้งแต่นั้นมาจึงปรากฏหลักฐานด้าน

Read More »

ดนตรีไทยสมัยอยุธยา

วิวัฒนาการดนตรีไทยสมัยอยุธยา

ดนตรีไทยสมัยอยุธยา การดนตรีสมัยกรุงศรีอยุธยานี้เจริญขึ้นกว่าสมัยกรุงสุโขทัยมาก ชาวพระนครศรีอยุธยาสมัยนั้นมีความสนใจในศิลปะการดนตรีเป็นอย่างมากและนิยมเล่นกันอย่างแพร่หลาย เครื่องดนตรีสมัยอยุธยา ก็คือ เครื่องดนตรีที่เล่นกันมาตั้งแต่ครั้งกรุงสุโขทัยนั้นเอง แต่ได้วิวัฒนาการให้ดีขึ้นทั้งด้านรูปทรงและการประสมวง ตลอดจนการบรรเลงก็ประณีตขึ้น และเพิ่มเครื่องดนตรีบางชนิด ซึ่งสรุปได้ดังนี้

  • เครื่องดีด มีกระจับปี่ จะเข้ พิณเพี้ยะ พิณน้ำเต้า
  • เครื่องสี มี ซอสามสาย ซออู้ ซอด้วง
  • เครื่องตี มีกรับพวง กรับคู่ กรับเสภา ระนาดเอก ฆ้องวงใหญ่ ฆ้องคู่ ฆ้องชัย ฆ้องโหม่ง ฉิ่ง ฉาบ มโหระทึก ตะโพน กลองทัด กลองตุ๊ก บัณเฑาะว์ กลองมลายู กลองชนะ
  • เครื่องเป่า มี ปี่ใน ปี่กลาง ขลุ่ย แตรงอน แตรสังข์

การประสมวงดนตรีสมัยกรุงศรีอยุธยา ดนตรีไทยสมัยอยุธยา

ดนตรีไทยสมัยอยุธยา การดนตรีในสมัยนี้ เจริญกว้างขวางไปกว่าแต่ก่อนมาก จึงมีการประสมวงดนตรีแบบใหม่ขึ้น แบ่งออกได้ดังนี้

วงมโหรี

ในสมัยอยุธยานี้ได้วิวัฒนาการมาจากการบรรเลงพิณและวงขับไม้ ของเดิมสมัยกรุงสุโขทัยเข้าด้วยกัน ได้แก่ คนสีซอ สามสาย ดีดกระจับปี่ทำลำนำ คนขับลำนำ คนไกวบัณเฑาะว์ ต่อมา ได้ปรับ จากการไกวบัณเฑาะว์เป็นโทนเพราะกำกับจังหวะได้ดีกว่า และการขับลำนำก็เปลี่ยนเป็นการขับร้องแทนเรียกว่ามโหรีเครื่อง ๔ ต่อมาได้เพิ่มคนบรรเลง และเครื่องดนตรีเพิ่มขึ้นอีก๒อย่างคือรำมะนาใช้ตีคู่กับโทนและขลุ่ย ภายหลังคนร้องเปลี่ยนจากตีกรับพวงเป็นฉิ่งแทน เรียกว่ามโหรีเครื่อง ๖

             ในสมัยโบราณเป็นคำเรียกการบรรเลงโดยทั่วไป เช่น "มโหรีเครื่องสาย" "มโหรีปี่พาทย์" ในปัจจุบัน มโหรี ใช้เป็นชื่อเรียกเฉพาะวงบรรเลงอย่างหนึ่งอย่างใดที่มีเครื่อง ดีด สี ตี เป่า มาบรรเลงรวมกันหมด ฉะนั้นวงมโหรีก็คือวงเครื่องสาย และวงปี่พาทย์ ผสมกัน วงมโหรีแบ่งเป็น วงมโหรีเครื่องสี่,วงมโหรีเครื่องหก,วงมโหรีเครื่องเดี่ยว หรือ มโหรีเครื่องเล็ก,วงมโหรีเครื่องคู่

       2. วงมโหรี ในสมัยนี้พัฒนามาจาก วงมโหรีเครื่องสี่ ในสมัยสุโขทัยเป็น วงมโหรีเครื่องหก เพราะได้เพิ่ม เครื่องดนตรี เข้าไปอีก 2 ชิ้น คือ ขลุ่ย และ รำมะนา ทำให้ วงมโหรี ในสมัยนี้ ประกอบด้วย เครื่องดนตรี จำนวน 6 ชิ้น คือ


 
การศึกษาเรื่องราวของดนตรีไทยนั้น  จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องทราบถึงแหล่งกำเนิด ความเป็นมา และวิวัฒนาการของดนตรีไท่ยในแต่ละยุคสมัย เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความซาบซึ้ง  มองเห็นคุณค่าของดนตรีไทย อันเป็นมรดกทางศิลปวัฒนธรรมประจำชาติไทย ซึ่งการแบ่งยุคสมัยทางดนตรีของไทยจะนิยมกำหนดตามยุคสมัยทางประวัติศาสตร์  ดังต่อไปนี้
          1. สมัยสุโขทัย
           สมัยสุโขทัยนับเป็นสมัยเริ่มต้นที่คนไทยรวตัวกันเป็นชาติอย่างสมบูรณ์  แทนที่จะเป็นเพียงอาณาจักรที่มีเขตอิทธิพลอย่างจำกัดดังแต่กอ่น เรื่องราวของสุโขทัยมีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น เมื่อพ่อขุนรามคำแหงได้ประดิษฐ์อักษรไทยและจารึกเรื่องราวต่างๆ ลงในหลักศิลาจารึก  และจากศิลาจารึกนี้เองทำให้คนรุ่นหลังทราบว่าสมัยสุโขทัยเป็นยุคสมัยหนึ่งที่มีความเจริญก้าวหน้าทางด้านสังคม เศรษฐกิจ  การเมือง  การทหาร  ภาษา  และศิลปวัฒนธรรม  ชาวเมืองมีเครื่องเล่นสร้างควงามรื่นเริงบันเทิงใจ  และมีอิสระเสรีที่จะแสดงออกในเรื่องราวของบทเพลงและดนตรี  เพลงและเรื่องราวของดนตรีบางส่วนจึงปรากฏอยู่บนหลักศิลาจารึก  เช่น ข้อความที่ว่า "เสียงพาทย์ เสียงพิณ  เสียงเลื่อน  เสียงขับ" แสดงให้เห็นว่า ในสมัยสุโขทัยมีการนำดนตรีมาใช้ในกิจกรรมต่างๆ ทั้งในราชสำนักและประเพณีของราษฎร
           เครื่องดนตรีที่ปรากฏหลักฐานว่ามีการใช้กันในสมัยสุโขทัย เช่น บัณเฑาะห์  สังข์  แตรงอน (กาหล)  แตรเขาควาย (พิสเนญชัย) พิณเพียะ หรือเบี๊ยะะพวง  กรับคู่  มโหระทึก ฆ้อง  กลอง  กังสดาล ฉิ่ง ฉาบ เป็นต้น  เพลงไทยที่ปรากฏขึ้นในสมัยนี้ได้แก่  เพลงเทพทอง หรือ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "เพลงสุโขทัย"
วิวัฒนาการดนตรีไทยสมัยอยุธยา
พิณน้ำเต้า

วิวัฒนาการดนตรีไทยสมัยอยุธยา
แตรเขาควาย
วิวัฒนาการดนตรีไทยสมัยอยุธยา
แตรสังข์

วิวัฒนาการดนตรีไทยสมัยอยุธยา
แตรงอน
วิวัฒนาการดนตรีไทยสมัยอยุธยา
มโหระทึก


วิวัฒนาการดนตรีไทยสมัยอยุธยา
กังสกาล
วิวัฒนาการดนตรีไทยสมัยอยุธยา
                     บัณเฑาะห์



          2. สมัยอยุธยา
           สมัยอยุธยาดนตรีมีการพัฒนาในหลายๆด้าน ทั้งนี้ เพราะอยุธยาเป็นราชธานียาวนนานถึง 417 ปีจึงมีการติดต่อสัมพันธ์กับชาติต่างๆ หลายชาติ ดดยผ่านทางการเมือง  การค้า และการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรม  เชื่อกันว่าในสมัยอยุธยาดนตรีไทยน่าจะมีความเจริญมาก  ทำให้ประชาชนนิยมเล่นดนตรีกันมากมาย  แม้แต่ในเขตพระราชฐาน  จนกระทั่งในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนถ (พ.ศ.1991-2031) ต้องมีกฏมณเฑียรบาลกำหนดว่า "ห้ามร้องเพลงเรือ  เป่าขลุ่ย เป่าปี่  สีซอ ดีดกระจับปี่  ดีดจะเข้  ตีโทนทับ ในเขตพระราชฐาน"
            เครื่องดนตรีในสมัยอยุธยาบางชนิดรับช่วงมาจากสมัยสุโขทัย  แต่ได้มีการพัฒนาในการคิดสร้างเครื่องดนตรีขึ้นมาอีกหลายชิ้นจำทำให้ดครื่องดนตรีในสมัยนี้มีครบเกือบทุกประเภท  เช่น กระจับปี่  จะเข้ (พัฒนามาจากเครื่องดนตรีของมอญ) พิณน้ำเต้า  ซอสามสาย ซออู้  ซอด้วง ขลุย กรับคู่  กรับเสภา  ระนาดเอก  ฆ้องวงใหญ่ ฆ้องชัย  ฆ้องโหม่ง ฉิง  ฉาบ ตะโพน  โทน  รำมะนา  กลองทัด กลองตุ๊ก ปี่ใน ปี่กลาง แตรงอน  แตรสังข์  เป็นต้น

วิวัฒนาการดนตรีไทยสมัยอยุธยา



วิวัฒนาการดนตรีไทยสมัยอยุธยา
ซออู้
วิวัฒนาการดนตรีไทยสมัยอยุธยา
ซอด้วง
วิวัฒนาการดนตรีไทยสมัยอยุธยา
จะเข้
วิวัฒนาการดนตรีไทยสมัยอยุธยา
ตะโพน
วิวัฒนาการดนตรีไทยสมัยอยุธยา
กลองตุ๊ก (กลองชาตรี)
วิวัฒนาการดนตรีไทยสมัยอยุธยา
ปี่ใน
             เพลงที่ปรากฏในสมัยนี้ สามารถจำแนกออกเป็น 3 ประเภท คือ
          1. เพลงมโหรี ใช้วงมโหรีบรรเลง มีไว้สำหรับบรรเลงขับกล่อม  เพลงที่บรรเลงมี 2 ชนิด คือ เพลงตับและเพลงเกร็ด ซึ่งมีตำราเพลงมโหรีปราฏกรายชื่อตกทอดมาถึงสมัยรัตนโกสินทร์ถึงจำนวน 197 เพลง
           2. เพลงปี่พาทย์  ใช้วงปี่พาทย์ มีไว้สำหรับบรรเลงประกอบการแสดงโขน  ละคร และใช้บรรเลงประกอบพิธีกรรมต่างๆ เพลงที่บรรเลง เช่น เพลงหน้าพาทย์ เพลงประกอบละคร เพลงเรื่อง เป็นต้น
           3. เพลงภาษา เป็นเพลงไทยที่มีสำเนียงของชาติต่างๆ มักใช้เพลงประกอบตัวละครตามเชื้อชาติ นั้นๆ เช่น เพลงสำเนียงภาษาจีน เพลงาสำเนียงมอญ  เป็นต้น

                                                                ตัวอย่างเพลงภาษา
















ผลิตภัณฑ์ WINKWHITE

ข้อใดคือความพัฒนาของดนตรีไทยในสมัยอยุธยา

ในสมัยอยุธยานี้ได้วิวัฒนาการมาจากการบรรเลงพิณและวงขับไม้ ของเดิมสมัยกรุงสุโขทัยเข้าด้วยกัน ได้แก่ คนสีซอ สามสาย ดีดกระจับปี่ทำลำนำ คนขับลำนำ คนไกวบัณเฑาะว์ ต่อมา ได้ปรับ จากการไกวบัณเฑาะว์เป็นโทนเพราะกำกับจังหวะได้ดีกว่า และการขับลำนำก็เปลี่ยนเป็นการขับร้องแทนเรียกว่ามโหรีเครื่อง ๔ ต่อมาได้เพิ่มคนบรรเลง และเครื่องดนตรี ...

ดนตรีไทยในสมัยอยุธยามีอะไรบ้าง

ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ดนตรีไทยมีลักษณะเป็นการขับลำนำ และร้องเล่น วรรณคดี "ไตรภูมิพระร่วง" กล่าวถึงเครื่องดนตรี ได้แก่ ฆ้อง กลอง ฉิ่ง แฉ่ง (ฉาบ) บัณเฑาะว์ พิณ ซอ ปี่ไฉน ระฆัง กรับ และกังสดาล

ดนตรีไทยมีวิวัฒนาการมาจากสิ่งใด

ดนตรีไทย เป็นศิลปะแขนงหนึ่งของไทย ได้รับอิทธิพลมาจากประเทศต่าง ๆ เช่น อินเดีย, จีน, มาเลเซีย และอื่น ๆ เครื่องดนตรีมี 4 ประเภท ดีด สี ตี เป่า

วิวัฒนาการของดนตรีไทยเเบ่งออกได้กี่สมัย

ประวัติดนตรีไทยศึกษาประกอบด้วย 5 ยุค ได้แก่ 1. ยุคเริ่มต้น (สมัยกรุงสุโขทัย พ.ศ. 1800 - 1981) 2. ยุคพัฒนา (สมัยกรุงศรีอยุธยาและกรุงธนบุรีพ.ศ.1893 - 2325) 3. ยุคฟื้นฟู(รัชกาลที่1 - 3 สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ พ.ศ. 2325 - 2394) 4. ยุครุ่งเรือง (รัชกาลที่4 - 6 สมัย กรุงรัตนโกสินทร์ พ.ศ. 2394 - 2468) และ 5. ยุคผสมผสาน (รัชกาล ...