กรมการจัดหางานได้แบ่งโครงสร้างประเภทมาตรฐานอาชีพในประเทศไทยออกเป็นกี่หมวด อะไรบ้าง

หน่วยที่ 3
มาตรฐานอาชพี เกษตร

สาระสาคญั
มาตรฐานอาชพี เกษตร เปน็ มาตรฐานที่กาหนดโดยเจา้ ของอาชีพหรือองคก์ รทางวิชาชพี โดยกาหนด

สมรรถนะในงานหลักหรือความสามารถในการปฏิบตั ิงาน (Competency Based) ของอาชีพน้ัน ๆ ใน
หลักการหรอื เทคนิคทีน่ ิยมใช้ในการวิเคราะห์

จุดประสงค์
1. อธิบายโครงสร้างการจดั ประเภทอาชีพได้
2. อธบิ ายการจดั ประเภทมาตรฐานอาชีพได้
3. บอกความหมายของคาต่าง ๆ ทีเ่ ก่ยี วกับการมาตรฐานได้
4. แบง่ ระดบั มาตรฐานอาชีพได้
5. บอกความหมายมาตรฐานอาชีพได้
6. แสดงภูมิรู้มาตรฐานอาชพี เกษตรได้

เนือ้ หา
1. โครงสร้างการจดั ประเภทอาชีพ

กรมการจัดหางานได้จัดแบ่งโครงสร้างประเภทมาตรฐานอาชีพ (ประเทศไทย) โดยใช้หลักเกณฑ์การ
จัดแบ่งประเภทอาชีพ เช่นเดียวกับการจัดประเภทมาตรฐานอาชีพสากล ปี 2531 (International Standard
Classification of Occupations 1988 : ISCO) โดย ISCO จะจัดแบ่งประเภทอาชีพออกเป็นหมวดใหญ่
(Major) หมวดย่อย (Sub Major) หมู่ (Group) และหน่วย (Unit) เท่าน้ัน ในระดับตัวอาชีพ (Occupation)
จะเป็นหน้าที่ของแต่ละประเทศในการพิจารณาจัดจาแนกและจัดทารายละเอียดอาชีพ ซ่ึงจะแตกต่าง ไปตาม
โครงสร้างเศรษฐกจิ และตลาดแรงงานของแตล่ ะประเทศ

การจัดจาแนกประเภทอาชีพจะจัดแบ่งเป็นกลุ่มในระดับต่าง ๆ และกาหนดเลขรหัสใน แต่ละระดับ
ด้วยเลขตง้ั แต่ 1-6 หลกั โดยเลขรหสั อาชีพแต่ละหลักจะแสดงถึงความสัมพันธ์ ระหว่างอาชีพและกลุ่มอาชีพท่ี
เกีย่ วข้องกัน

1.1 หลกั การจดั ทาโครงสรา้ งการจดั ประเภทอาชีพ และวธิ กี ารให้เลขรหัส มีดังนี้
1.1.1 หมวดใหญ่ เป็นกลุ่มอาชีพที่ใหญ่ที่สุด จัดแบ่งออกเป็น 10 หมวดใหญ่ แทนด้วยเลข

รหสั หลักที่ 1
1.1.2 หมวดย่อย เป็นกลุ่มอาชีพที่แบ่งย่อยจากหมวดใหญ่ จัดแบ่งออก เป็น 28 หมวดย่อย

แทนด้วยเลขรหสั หลกั ที่ 1 และ 2

1.1.3 หมู่ เป็นกลุ่มอาชีพที่แบ่งย่อยจากหมวดย่อย จัดแบ่งออกเป็น 116 หมู่ แทนด้วยเลข

รหัสหลกั ท่ี 1 ถงึ 3 หนว่ ย (Unit) เปน็ กลุม่ อาชพี ที่แบ่งย่อยจากหมู่ จัดแบ่งออกเป็น 391 หน่วย แทน ด้วยเลข

รหสั หลักท่ี 1 ถงึ 4

1.2 หลกั การให้ชอื่ อาชพี และการเขยี นนยิ ามอาชพี

1.2.1 หลักการให้ชอ่ื อาชีพ

ช่ือของกลุ่มอาชีพ ตั้งแต่ระดับหมวดและหมวดใหญ่ถึงหน่วยอาชีพนั้นใช้หลัก

มาตรฐานสากล ดงั นี้

1.2.1.1 หมวดใหญ่ (Major) ให้ชอื่ ทแ่ี สดงให้เหน็ ถึงลกั ษณะงานซง่ึ บุคคลนน้ั ทาอยู่

1.2.1.2. หมวดย่อย (Sub Major) ให้ชื่อกลุ่มอาชีพท่ีจาแนกย่อยจากหมวดใหญ่จะ

แสดงถึงลกั ษณะงานทจ่ี าแนกออกเปน็ ส่วนๆชดั เจนขึน้

1.2.1.3. หมู่ (Group) จะเปน็ ชื่อกล่มุ อาชพี ทจี่ าแนกย่อยจากหมวดยอ่ ยและแสดงถึง

ลักษณะงานท่ขี ีดวงจากัดข้นึ

1.2.1.4. หน่วย (Unit) เป็นกลุ่มอาชีพที่จาแนกย่อยจากหมู่และช่ือแสดงถึงกลุ่มตัว

อาชีพทอ่ี ยใู่ นหนว่ ยอาชพี น้นั ๆ

1.2.1.5. ตวั อาชพี (Occupation) เปน็ หนว่ ยทเี่ ลก็ ที่สุด

1.2.2 หลักการเขยี นนยิ ามอาชีพ

นิยามอาชีพของกลุ่มอาชีพในระดับหมวดใหญ่ หมวดย่อย หมู่ และหน่วยนั้น ๆ ส่วน

ใหญ่เป็นนิยามอาชีพท่ีทาการอ้างอิงจากนิยามอาชีพสามกล โดยผ่านการพิจารณาและปรับให้เข้ากับสภาพ

ขอ้ เทจ็ จริงของประเทศ

ตัวอาชีพ เป็นอาชพี ท่ีถกู จาแนกเข้าไวใ้ นกลมุ่ อาชพี ระดบั หนว่ ย แทนด้วยเลขรหสั หลักที่ 1 -

6 โดยแยกตัวเลขหลักที่ 5 และ 6 ออกจาก 4 หลักแรกด้วยจุดทศนิยม ซึ่งตัวอาชีพถูกจัดรวมเข้าไว้ในหน่วย

อาชพี น้นั เชน่ ผเู้ ล้ยี งสตั ว์นา้ สามารถแจกแจงโครงสร้างไดด้ ังน้ี

ตาราง 3.1 แสดงกลุ่มอาชีพระดับหนว่ ย

หมวด ชื่ออาชพี เลขรหสั

หมวดใหญ่ ผ้ปู ฏบิ ตั ิงานฝมี ือด้านการเกษตรและประมง 6

หมวดย่อยในหมวดใหญ่ ผู้ปฏิบัตงิ านฝมี อื ด้านการเกษตรและการประมงเพื่อการค้าขาย 61

หม่ใู นหมวดย่อย ผูท้ างานดา้ นการประมง การลา่ สัตวแ์ ละดักจับสตั วต์ ่าง ๆ 615

หน่วยในหมู่ ผู้ทางานด้านการเพาะเลีย้ งสัตวน์ า้ 6151

ตัวอาชพี ในหน่วย ผเู้ ลีย้ งสัตว์นา้ (Cultivator) 6151.10

2. การจดั ประเภทมาตรฐานอาชีพ
การจัดประเภทมาตรฐานอาชีพ (ประเทศไทย) เดิมเป็นภารกิจของกรมแรงงาน กระทรวงมหาดไทย

จัดพิมพ์เผยแพร่คร้ังแรกเมื่อ พ.ศ. 2512 โดยใช้หลักเกณฑ์การจัดแบ่งหมวดหมู่ และกาหนดรหัสตามการจัด
ประเภทมาตรฐานอาชีพสากล (International Standard Classification of Occupations : ISCO) ของ
องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International Labour Organization : ILO) ท้ังน้ีเพื่อประโยชน์ในการ
จัดเก็บสถิตดิ า้ นแรงงาน และสามารถ เปรยี บเทียบข้อมลู กบั นานาประเทศได้อย่างเปน็ สากล

ปัจจุบนั การจัดประเภทมาตรฐานอาชีพ (ประเทศไทย) เป็นภารกิจของกระทรวงแรงงาน โดยกรมการ
จัดหางานที่เป็นหน่วยงานหลักในการดาเนินการจัดทาข้อมูล และกาหนดรหัสหมวดหมู่อาชีพตามหลักเกณฑ์
เดียวกับการ จัดประเภทมาตรฐานอาชีพสากล (ISCO) ซ่ึงทาง ILO ได้ ทาการปรับปรุง ISCO มาแล้ว 2 คร้ัง
ครัง้ ลา่ สุดคอื ปี 1988 ซ่ึงเป็นฐานของการจดั ประเภทมาตรฐานอาชีพของไทย ในปจั จบุ ัน

2.1 วตั ถปุ ระสงค์
การจัดทาการจดั ประเภทมาตรฐานอาชีพ (ประเทศไทย) ในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ดังน้ี
2.1.1 เพอ่ื ปรบั ปรงุ ขอ้ มลู อาชพี ของประเทศไทยให้ถูกต้องและสมบูรณย์ ิ่งขน้ึ รวมทัง้ เพ่ือให้

สอดคลอ้ งกับการจัดประเภทมาตรฐานอาชีพสากลท่ีไดม้ ีการปรับปรุงใหม่
2.1.2 เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐ เอกชน และบุคคลทั่วไป มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง

เกี่ยวกบั ข้อมูลอาชีพ และสะดวกแก่การนาไปใชป้ ระโยชน์
2.2 ประโยชน์
กรมการจัดหางานได้ ดาเนินการจัดทาการจัดประเภทอาชีพ เพ่ือให้หน่วยงานทั้งภาครัฐและ

เอกชน ได้มีความเข้าใจท่ีถูกต้องตรงกันในเร่ืองอาชีพ และเพื่อการนาข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ ที่
เกยี่ วขอ้ งกบั การบรหิ ารงานดา้ นแรงงาน เช่น การกาหนดคา่ จา้ ง การแนะแนวอาชีพ การฝึกอบรม การจ้างงาน
รวมถึง การวิเคราะห์การเจ็บป่วย หรือเสียชีวิต ที่เกิดขึ้นจากอาชีพ การท่ีมีระบบฐาน ข้อมูลเดียวกันสามารถ
จะนาขอ้ มลู สถิติไปอา้ งองิ และเปรียบเทียบได้ทัง้ ในระดบั หน่วยงานและกับระดับประเทศ

2.3 การดาเนนิ งาน
เน่ืองจากองค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International Labour Organization) ซึ่งเป็น

ผู้รับผิดชอบดาเนินการได้มีการปรับปรุงและเปล่ียนแปลงโครงสร้างการจัดประเภทมาตรฐานอาชีพ (ISCO)
ประกอบกับ การเปล่ียนแปลงและการพัฒนาเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมของประเทศไทย ทาให้ประเทศไทย
ต้องทาการปรบั ปรงุ ข้อมูลอาชีพให้ทันสมัย และสอดคล้องกับการจัดประเภทมาตรฐานสากล การจัดประเภท
มาตรฐานอาชพี ประเทศไทยฉบับน้ีใช้เอกสารการจัดประเภทมาตรฐานอาชีพสากล ฉบับปี 1988 ขององค์การ
แรงงานระหว่างประเทศ เปน็ หลกั และแนวทางในการดาเนินงาน โดยกรมการจดั หางานไดด้ าเนินการดงั น้ี

2.3.1 แปลและศึกษาข้อมูลจากเอกสาร International Standard Classification of
Occupation (ISCO) ปี ค.ศ. 1988 ซงึ่ ได้มกี ารเปลยี่ นแปลงโครงสร้างให้เหมาะสมกบั สภาพขอ้ เท็จจริง

2.3.2 สารวจและเก็บรวบรวมข้อมูลอาชีพ จากกิจการและสถานประกอบการต่างๆ ใน
ประเทศ

2.3.3 ศึกษาข้อมูลจากเอกสารต่าง ๆ เพ่ิมเติม เช่น เอกสารหลักสูตรการเรียนการสอนใน
ระดับต่าง ๆ เอกสารประกอบการจัดทาโครงสร้างอัตรากาลังและตาแหน่งงาน ในหน่วยงานภาครัฐ เอกชน
รวมทง้ั การค้นหาข้อมลู ทางอนิ เทอรเ์ น็ต เป็นต้น

2.3.4 วิเคราะหแ์ ละเขยี นร่างนิยามอาชีพ
2.3.5 ประชุมผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาอาชีพต่าง ๆ ท่ีได้รับการแต่งตั้งเป็นคณะอนุกรรมการ ท่ี
ปรึกษา เพ่ือการปรับปรุงการจัดประเภทมาตรฐานอาชีพเฉพาะสาขา เพ่ือพิจารณาตรวจแก้ไขร่าง และให้
คาแนะนา รวมท้ังข้อมูลเพิ่มเติมก่อนนาเสนอคณะกรรมการที่ปรึกษาเพ่ือปรับปรุงการจัดประเภทมาตรฐาน
อาชีพและอุตสาหกรรม

3. ความหมายของคาต่าง ๆ ท่ีเกย่ี วกบั การมาตรฐาน
องคก์ ารระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน (International Organization for Standardization-

ISO) ได้ใหน้ ยิ ามศพั ท์การมาตรฐาน คอื
3.1 การมาตรฐาน (Standardization) หมายถึง กิจกรรมในการวางข้อกาหนดที่เก่ียวเนื่องกับปัญหา

สาคญั ท่มี อี ยหู่ รือทจี่ ะเกิดขน้ึ เพอื่ ให้เป็นหลักเกณฑ์ใช้กนั ท่ัวไปจนเป็นปกติ วิสัย โดยมุ่งให้บรรลุถึงความสาเร็จ
สูงสดุ ตามขอ้ กาหนดท่วี างไว้

3.1.1 กล่าวโดยเฉพาะ ได้แก่ กิจกรรมที่ประกอบไปด้วยกระบวนการในการกาหนด การ
ประกาศใช้ และการนามาตรฐานต่าง ๆ ไปใช้

3.1.2 ประโยชนท์ สี่ าคญั ของการมาตรฐาน ได้แก่ การปรับปรุงความเหมาะสมของผลิตภัณฑ์
กรรมวิธี และการบริการตามวัตถุประสงค์ท่ีต้ังไว้ ป้องกันไม่ให้มีอุปสรรคในทางการค้า และส่งเสริมให้เกิด
ความร่วมมอื กนั ในทางเทคโนโลยี

3.2 มาตรฐาน (Standard) หมายถึง เอกสารที่จัดทาข้ึนจากการเห็นตรงกันและได้รับความเห็นชอบ
จากองค์กรอันเป็นที่ยอมรับกันท่ัวไป เอกสารดังกล่าววางกฎระเบียบแนวทาง ปฏิบัติหรือลักษณะเฉพาะแห่ง
กิจกรรม หรือผลท่ีเกิดข้ึนของกิจกรรมน้ัน ๆ เพ่ือให้เป็นหลักเกณฑ์ใช้ กันท่ัวไปจนเป็นปกติวิสัย โดยมุ่งให้
บรรลถุ ึงความสาเร็จสูงสุดตามขอ้ กาหนดทีว่ างไว้

หมายเหตุ : มาตรฐานควรตั้งอยู่บนผลท่ีแน่นอนทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และประสบการณ์ โดย
ม่งุ การส่งเสริมใหเ้ กดิ ผลประโยชน์สงู สุดแกช่ ุมชน

พจนานกุ รมฉบับราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. 2525 ไดใ้ ห้คานยิ ามของมาตรฐานว่า มาตรฐาน คือ สิ่งท่ีถือ
เป็นหลักสาหรับเทยี บกาหนด

พระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 ได้กาหนดคาว่า "มาตรฐาน" ไว้ว่า
มาตรฐาน คือ ข้อกาหนดรายการอยา่ งใดอยา่ งหนึ่ง หรอื หลายอย่างเก่ยี วกับ

1. จาพวก แบบ รปู ร่าง มิติ การทาเครอ่ื งประกอบ คณุ ภาพ ชัน้ ส่วนประกอบ ความสามารถ
ความทนทานและ ความปลอดภัยของผลิตภณั ฑ์อุตสาหกรรม

2. วิธีทา วิธีออกแบบ วิธี เขียนรูป วิธีใช้ วัตถุท่ีจะนามาทาผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม และ
ความปลอดภยั อนั เก่ียวกบั การทาผลติ ภณั ฑ์อตุ สาหกรรม

3. จาพวก แบบ รูปร่าง มิติของหีบห่อ หรือสิ่งบรรจุชนิดอื่นรวมตลอดถึง การทาหีบห่อหรือ
สงิ่ บรรจชุ นิดอืน่ วธิ ีการบรรจุ หุม้ หอ่ หรอื ผูกมดั และวตั ถทุ ใ่ี ชใ้ นการนั้นดว้ ย

4. วิธที ดลอง วธิ วี เิ คราะห์ วิธเี ปรยี บเทยี บ วิธตี รวจ วิธีทดสอบและวิธีชงั่ ตวง วัด อันเก่ียวกับ
ผลติ ภณั ฑอ์ ุตสาหกรรม

5. คาเฉพาะ คาย่อ สัญลักษณ์ เครื่องหมาย สี เลขหมาย และหน่วยที่ใช้ใน ทางวิชาการอัน
เกย่ี วกับผลิตภณั ฑ์อตุ สาหกรรม

6. ข้อกาหนดรายการอย่างอ่ืนอันเกี่ยวกับ ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ตามที่รัฐมนตรีประกาศ
หรือตามพระราชกฤษฎกี า

3.3 มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม หมายถึง ส่ิงหรือเกณฑ์ทางเทคนิคที่กาหนดข้ึน สาหรับ
ผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม เกณฑ์ทางเทคนิคนี้จะระบุคุณลักษณะท่ีสาคัญ ของผลิตภัณฑ์ ประสิทธิภาพของการ
นาไปใช้งาน คุณภาพของ วัตถุดิบที่นามาผลิต ซึ่งจะรวมถึงวิธีการทดสอบด้วย เพื่อใช้ เป็นเครื่องตัดสินว่า
คณุ ภาพผลติ ภัณฑน์ ้ัน ๆ เป็นไปตาม มาตรฐานหรอื ไม่

3.4 มาตรฐานชุมชน กาหนดข้ึนเพ่ือสนับสนุนการนาภูมิปัญญาของแต่ละท้องถ่ินมาพัฒนา และ
ยกระดับการผลิตให้มีคุณภาพเพื่อสร้างรายได้ให้ชุมชนอย่างยั่งยืนตามโครงการ "หน่ึงตาบล หน่ึงผลิตภัณฑ์"
ซึง่ เปน็ นโยบายของรฐั บาล โดยสานักงานฯ ให้การรับรองและแสดงเครื่องหมายรับรองคุณภาพ เพื่อเพิ่มความ
น่าเช่ือถอื แก่ ผ้บู ริโภคและสามารถขยายตลาดสง่ ออกจาหน่ายในตลาดวงกว้างได้มากข้ึน

3.5 มาตรฐานระบบการจัดการ (Management System Standard) คือ ข้อกาหนดหรือข้ันตอนใน
การบรหิ ารกระบวนการทางานต่าง ๆ ขององค์กร เพอ่ื ให้เกิดการพฒั นา ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการ
ดาเนินงาน และบรรลตุ ามวตั ถุประสงคท์ ี่วางไว้

ปจั จบุ นั มาตรฐานระบบการจดั การทส่ี าคัญและหนว่ ยงานทว่ั โลกนาไปใชอ้ ย่างแพร่หลาย ไดแ้ ก่
3.5.1 มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ ISO 9000 (Quality Management System

: QMS) เป็นมาตรฐานสากลสาหรับการบริหารงาน ในองค์กรที่นาไปใช้กันอย่างแพร่หลาย เพื่อพัฒนาองค์กร
ให้มีกระบวนการทางานที่มีประสิทธิภาพและมีคุณภาพ โดยสามารถนาไปใช้ได้ทุกองค์กร ทุกขนาดทั้ง
อุตสาหกรรมการผลิตและการบริการ เพ่ือสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้าและผู้ที่เก่ียวข้อง โดยปัจจุบัน ISO
9000 : 2000 แบง่ เน้อื หาออกเป็น 4 ฉบบั คือ

ISO 9000 : ระบบการบรหิ ารงานคุณภาพ - หลกั การพืน้ ฐานและคาศัพท์
ISO 9001 : ระบบการบริหารงานคุณภาพ - ขอ้ กาหนด
ISO 9004 : ระบบการบรหิ ารงานคุณภาพ - แนวทางการปรับปรุงสมรรถนะ
ISO 19011 : แนวทางในการตรวจประเมนิ ระบบการบริหารงานคณุ ภาพ และ/หรอื
ระบบการจดั การส่งิ แวดล้อม

3.5.2 มาตรฐานระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO 14001 มาตรฐานระบบการจัดการ
สงิ่ แวดล้อม (Environment Management System : EMS) เป็นมาตรฐานท่มี คี วามสาคัญมากเพราะกาหนด
ขึ้นเพอื่ สนับสนนุ การรักษาสิ่งแวดล้อมของหนว่ ยงาน หรือองค์กร ทคี่ รอบคลุมถึงการจัดระบบโครงสร้างองค์กร
การกาหนดความรับผิดชอบ การปฏิบัติงาน ระเบียบปฏิบัติ กระบวนการและการใช้ทรัพยากรท่ีเป็นมิตรกับ
สิ่งแวดลอ้ ม เพือ่ ใหม้ กี ารจดั การและสร้างจิตสานึกที่ ดรี ว่ มกนั ในการรักษาไว้ซึ่งสิ่งแวดล้อมท่ีดีท้ังในหน่วย งาน
และรวมไปถงึ ชมุ ชนใกล้เคียง เพ่อื นาไปสู่การพัฒนา

3.5.3 มาตรฐานระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย มอก. 18001 ระบบการ
จัดการอาชีวอนามยั และความปลอดภัย เป็นเรือ่ งทม่ี ีความสาคัญเป็นอย่างมาก ทั้งน้ีเพราะเป็นเรื่องที่เก่ียวข้อง
กันโดยตรง หน่วยงานหรือองค์กรสมัยใหม่ในปัจจุบันใส่ใจในเร่ืองอาชีวอนามัย และความปลอดภัยของ
บคุ ลากรในกระบวนการทางานตา่ ง ๆ กันมากขน้ึ โดยการช้ีบ่งอันตรายและประเมินความเส่ียงที่อาจจะเกิดขึ้น
ทั้งภายในองคก์ รเองและชมุ ชนใกลเ้ คียง ท้ังนเ้ี พ่ือปรบั ปรุงและพัฒนาการดาเนินงานในองค์กรอย่างต่อเนอื่ ง

3.5.4 มาตรฐานหอ้ งปฏิบตั ิการสอบเทียบและห้องปฏิบัติการทดสอบความม่ันใจได้ว่าสินค้ามี
คุณภาพหรือไม่ จาเป็นท่ีจะต้องนาไปทดสอบจากหน่วยงานท่ีน่าเชื่อถือ และมีเคร่ืองมือในการทดสอบท่ีมี
คุณภาพและมีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับ ซ่ึงมาตรฐานที่นามาใช้กับหน่วยงานท่ี ให้บริการในเรื่องดังกล่าว ได้แก่
มาตรฐานห้องปฏิบัติการสอบเทียบและห้องปฏิบัติการทดสอบตาม มอก. 17025-2543 ซึ่งเป็นไปตาม
มาตรฐานสากล ISO/IEC 17025

3.5.5 มาตรฐานระบบการวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤตท่ีต้องควบคุมในการผลิต อาหาร
มาตรฐานด้านอาหารนับวันจะมีความสาคัญมากขึ้นในปัจจุบัน ทั้งน้ีเพราะไทยเป็นประเทศเกษตรกรรมและ
เปน็ ประเทศส่งออกอาหารทส่ี าคญั ของโลก การส่งออกอาหารไปจาหน่าย และสามารถสร้างความน่าเช่ือถือให้
เกิดข้ึนกับผู้บริโภคได้นั้น จาเป็นต้องมีระบบการจัดการด้าน อาหารท่ีเป็นที่ยอมรับ และระบบการวิเคราะห์
อันตรายและจุดวิกฤตท่ีต้องควบคุมในการผลิตอาหาร HACCP (Hazard Analysis and Critical Control
Point (HACCP) System) เป็น มาตรฐานสากลที่ยอมรับกันทั่วโลก และนาไปใช้ในอุตสาหกรรมกันอย่าง
แพร่หลายมากขน้ึ

4. ระดับมาตรฐาน
มาตรฐานที่กาหนดข้ึนน้ัน หากจาแนกโดยระดับแล้วอาจมีได้หลายระดับ (Level) ทั้งนี้ โดยพิจารณา

จากการกาหนดข้ึนและการนาไปใช้ ระดบั ของมาตรฐานดงั กล่าวแยกไดเ้ ป็น 6 ระดับทีส่ าคัญ ดังน้ี
4.1 มาตรฐานระดับบุคคล (Individual Standards)
เป็นมาตรฐานทกี่ าหนดข้ึนโดยผูท้ ีต่ ้องการใช้แตล่ ะบคุ คลรวมไปถึงการกาหนดโดยแต่ละหน่วยงาน

เพือ่ ใหเ้ ป็นไปตามความประสงคข์ องแตล่ ะคนหรอื แต่ละหน่วยงานน้ัน เช่น ข้อกาหนดในการทาเฟอร์นิเจอร์แต่
ละช้นิ การออกแบบบา้ นแตล่ ะหลัง เข่อื นแต่ละแห่ง การสรา้ งโรงงาน ทาผลติ ภณั ฑเ์ ฉพาะ ฯลฯ

4.2 มาตรฐานระดบั บริษัท (Company Standards)

เป็นมาตรฐานท่ีเกดิ จากการกาหนดโดยการตกลงร่วมกันของแผนกในบริษัท เพ่ือใช้เป็นแนวทาง
ในการออกแบบการผลติ การซื้อขาย ฯลฯ

4.3 มาตรฐานระดับสมาคม (Association Standards)
เป็นมาตรฐานที่กาหนดข้ึนจากกลุ่มบริษัท หรือโดยกลุ่มบุคคลท่ีอยู่ในวงการค้าเดียวกัน หรือเกิด

จากข้อตกลงของกลุ่มบริษัทหรือโรงงานท่ีมีกิจกรรมของอุตสาหกรรมเป็นอย่างเดียวกัน หรือมีการผลิตของ
ชนดิ เดียวกัน เช่น กล่มุ ผผู้ ลิตช้นิ สว่ นรถยนต์ รถจกั รยานยนต์ สมาคมอุตสาหกรรมเครื่องใชไ้ ฟฟา้ ฯลฯ เปน็ ต้น

4.4 มาตรฐานระดบั ประเทศ (National Standards)
เป็นมาตรฐานที่ได้จากการประชุมหารือเพ่ือหาข้อตกลงร่วมกัน ของผู้เกี่ยวข้องหลายฝ่ายในชาติ

โดยมหี นว่ ยงานมาตรฐานของชาตินน้ั ๆ เป็นศนู ย์กลางซง่ึ หน่วยงานมาตรฐานของชาตินี้อาจเป็นหน่วยงานของ
รฐั หรอื เอกชนก็ได้

4.5 มาตรฐานระดับภมู ภิ าค (Regional Standards)
เป็นมาตรฐานที่เกิดขึ้นจากการประชุมปรึกษาหารือกันระหว่างประเทศในภูมิภาคเดียวกัน แล้ว

กาหนดข้อตกลงร่วมกัน ส่วนใหญ่จะเป็นการปรับมาตรฐานระดับประเทศในภูมิภาคเดียวกัน ให้มีสาระสาคัญ
สอดคล้องกนั

4.6 มาตรฐานระดับระหว่างประเทศ (International Standards)
เป็นมาตรฐานท่ีได้จากข้อตกลงร่วมกันของประเทศสมาชิกต่าง ๆ ที่มีความสนใจร่วมกัน เช่น

มาตรฐานระหว่างประเทศขององค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน (International Organization
for Standardization - ISO)

5. มาตรฐานอาชีพ
งาน (job) หมายถึง ภารกจิ (Task) หรือหนา้ ที่ (duties) ท่ีต้องปฏิบัตงิ านหลายงาน ท่มี ี ลักษณะ

คล้ายคลึงกัน รวมกันเปน็ อาชีพ
“อาชพี ” หมายถงึ งานซ่ึงบุคคลใดบุคคลหนึ่งปฏบิ ตั ไิ ม่หมายรวมถงึ อตุ สาหกรรม กิจการ สถานการณ์

ทางาน หรอื ประสบการณ์ในการทางานของผู้ปฏิบัตงิ าน
5.1 ความหมายของมาตรฐานอาชพี
ตามความหมายของมาตรฐานอาชีพ (Occupation Standard) ฝีมือแรงงานแห่งชาติ (กรม

พัฒนาฝีมือแรงงาน 2556 : 1) มาตรฐานอาชีพ คือ ข้อกาหนดทางวิชาการที่ใช้เป็นเกณฑ์วัดระดับความรู้
ความ สามารถและทัศนคติในการทางานของผู้ประกอบอาชีพในสาขาต่างๆ มาตรฐานอาชีพตามแนวคิดของ
ฉัตรชาญ ทองจับ (2553 : 36) กล่าวว่า เป็นการกาหนดมาตรฐานของสมรรถนะ รวมท้ังความรู้และความ
เข้าใจทค่ี าดหวังวา่ บคุ ลากรจะบรรลสุ าหรบั อาชพี หนึง่ มาตรฐานอาชีพน้ีใช้เป็นฐานในการกาหนดและประเมิน
เพอ่ื ให้ได้คุณวุฒวิ ชิ าชพี (Vocation Qualification = VQ)

มาตรฐานอาชีพ (Occupational Standards : OS) หมายถึง สมรรถนะงานหลักและงานย่อย
ของแต่ละอาชีพ ประกอบด้วยเกณฑ์การปฏิบัติงาน ขอบเขตของงาน ความรู้ที่ต้องใช้ และผลงานที่เป็น

รูปธรรม มาตรฐานอาชีพเป็นมาตรฐานที่กาหนดโดยเจ้าของอาชีพหรือองค์กรทางวิชาชีพ โดยกาหนด
สมรรถนะในงานหลัก หรือความสามารถในการปฏิบัติงาน (Competency Based) ของอาชีพนั้น ๆ ใน
หลักการหรือเทคนิคที่นิยมใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ Functional Analysis เป็นกรอบแนวทาง ในการพัฒนา
หลักสตู รการจัดการเรียนการสอนและการฝึกอบรมนักเรียนในอาชีพหนึ่ง ๆ สามารถ กาหนดสมรรถนะต่าง ๆ
ออกเปน็ ระดบั หลายระดบั ตามท่คี ณะกรรมการกาหนด เช่น กาหนดเป็น 5 ระดับ โดยระดับ 1 เป็นงานประจา
คอ่ นขา้ งง่าย และพัฒนาข้นึ เป็นลาดับจนถึงระดับ 5 ซึ่งเป็น ระดับท่ซี ับซอ้ นของงานในอาชพี มากท่สี ดุ

มาตรฐานอาชีพ (Occupational Standard / professional standards) เป็นการกาหนดมาตรฐาน
ของสมรรถนะรวมทั้งความรูแ้ ละความเข้าใจท่ีคาดหวังว่าบุคลากรจะบรรลุสาหรับอาชีพหน่ึงมาตรฐานอาชีพน้ี
ใช้เปน็ ฐานในการกาหนดและประเมินเพื่อให้ได้คุณวุฒิวิชาชีพ (Vocational Qualifications - VQ) มาตรฐาน
อาชพี ทาโดยกลุ่มอาชพี เฉพาะนั้นๆ (บางครงั้ เรยี กมาตรฐานสมรรถนะ)

มาตรฐานอาชีพ ซ่งึ กาหนดโดยกลุ่มอาชพี หรือเจ้าของอาชีพ คือ การกาหนดมาตรฐานของสมรรถนะ
ที่คาดหวงั ว่าบคุ ลากรจะบรรลุสาหรบั อาชพี หน่งึ รวมทง้ั ความรู้ ความเข้าใจ ส่วนสมรรถนะ คือ ความสามารถ
ในการประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้ ความเข้าใจ ทักษะปฏบิ ัติ และทักษะด้านความคิด ในการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิผล
ตามมาตรฐานที่ต้องการของอาชีพ มาตรฐานอาชพี ใช้เปน็ เกณฑใ์ นการหาคุณวุฒวิ ิชาชีพ (TVQ)

สรปุ แล้ว มาตรฐานอาชพี หมายถงึ ข้อกาหนดทเี่ ปน็ เกณฑเ์ ก่ียวกบั ความรูค้ วามสามารถและทัศนคติท่ี
คน สามารถใชใ้ นการทางานในอาชีพตา่ ง ๆ ได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

5.2 องคป์ ระกอบสาคญั ของมาตรฐานอาชพี
มาตรฐานอาชพี มีองคป์ ระกอบทส่ี าคัญ 3 สว่ นดังน้ี
5.2.1 ความรู้ (Knowledge)
ความรู้เป็นส่ิงจาเป็นที่จะใช้ในงานน้ันๆ ได้ถูกต้องตามหลักวิชาการ หรือหลักทฤษฎี

ในอาชพี ต่างๆ
5.2.2 ทักษะ (Skill)
ทักษะเป็นการสะสมประสบการณ์จนเกิดความชานาญ มีความสามารถเพียงพอท่ีจา

ทางานได้อย่างมีคุณภาพ ตามข้อกาหนดและแล้วเสร็จ เช่น ทักษะอาชีพช่างไฟฟ้าภายนอกอาคารสามารถ
ติดตง้ั ซ่อมแซม แก้ปัญหาเกย่ี วกับระบบไฟฟ้านอกอาคารไดท้ ุกวธิ ี โดยถกู ตอ้ งและปลอดภยั เป็นตน้

5.2.3 ทัศนคติ(Attitude)
มีจิตสานึกในการทางานท่ีดี ซ่ึงเป็นเร่ืองเกี่ยวกับนิสัยในการประกอบอาชีพ เช่น การ

ตรงต่อเวลา การรักษาวินัยมีความซ่ือสัตย์ ประหยัด และวิเคราะห์วางแผน แก้ไขปัญหาในการทางาน โดย
คานึงถึงประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทางาน ซ่ึงทัศนคตินี้มีความสาคัญมากในการประกอบอาชีพ ทุก
อย่างในยคุ สมัยใหม่ ท่ีเจริญก้าวหนา้ ดว้ ยเทคโนโลยี

5.3 ประเภทมาตรฐานอาชีพ
กรมพฒั นาฝีมอื แรงงาน โดยกองมาตรฐานฝีมือแรงงานได้แบง่ ประเภทมาตรฐานอาชีพออกเปน็ 4

ประเภท ดังน้ี

5.3.1 มาตรฐานอาชีพเฉพาะ เป็นมาตรฐานที่กาหนดขึ้นเพ่ือรับรองฝีมือแรงงาน ซ่ึงมี
วัตถุประสงค์เฉพาะ เช่น เพื่อคนหางานท่ีต้องการไปทางานต่างประเทศ เพื่อตามความต้องการของสถาน
ประกอบการทีอ่ อกให้ หรอื เพอ่ื ความต้องการของแรงงานจังหวัด เป็นตน้

5.3.2 มาตรฐานอาชีพแห่งชาติ เป็นมาตรฐานท่ีทาการร่างโดยผู้เช่ียวชาญแต่ละสาขาอาชีพ
และคณะกรรมการส่งเสริมอาชีพให้การอนุมัติ โดยมีการจัดทาและปรับปรุงเพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการ
ของตลาดแรงงานและการเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยีสมัยใหม่

5.3.3 มาตรฐานอาชพี ของอาเซียน เป็นมาตรฐานท่ีจาเป็นที่จะต้องร่วมมือกันจัดทาข้ึน จาก
ประเทศสมาชิกอาเซียนท้ัง 10 ประเทศ เนื่องจากนับตั้งแต่ปี 2558 เป็นต้นไป จะมีการเคล่ือนย้ายแรงงาน
หรอื ประกอบอาชีพตา่ งๆ ในกล่มุ อาเซียนอย่างเสรี

5.3.4 มาตรฐานอาชพี นานาชาติ
5.4 ประโยชน์ของมาตรฐานอาชพี

5.4.1 ประโยชนต์ ่อภาคเอกชน หรือสถานประกอบการ
5.4.1.1 ได้บุคคลที่มคี วามรู้ ความสามารถ ทักษะฝมี อื และทศั นคติท่ีดตี ่อการทางาน
5.4.1.2 ได้รบั ความรว่ มมือในการพฒั นาอาชพี ร่วมกันระหว่างภาครฐั และเอกชน
5.4.1.3 สถานประกอบการได้รบั ผู้เขา้ ทางานทมี่ ีฝมี ือตามมาตรฐาน
5.4.1.4 ลดปัญหาหรือลดความเสยี หายในกระบานการผลิต
5.4.1.5 มีการประหยดั และได้รบั ผลผลิตเพ่ิม
5.4.1.6 ไดส้ นิ คา้ และบริการท่ีมคี ุณภาพและแข่งขนั ได้

5.4.2 ประโยชน์ต่อรฐั บาล
5.4.2.1 ใช้ในการจดั ระดบั กาลงั แรงงานของชาติ
5.4.2.2 ใช้เป็นแนวทางในการประกอบการพจิ ารณาจัดทาสตู รฝกึ อบรมแรงงาน
5.4.2.3 พัฒนาเศรษฐกจิ ของประเทศ ใหส้ ามารถแขง่ ขันในระดับนาๆชาติได้
5.4.2.4 ประเทศมฝี ีมือเพ่มิ ขึ้น สอดคล้องกับทิศทางและความต้องการของธรุ กจิ
5.4.2.5 ประชาชนมีทศั นคติท่ีดีต่อรัฐบาลเนอื่ งจากไดร้ บั ความคุ้มครองจากภาครฐั

5.4.3 ประโยชน์ตอ่ ประชาชน
5.4.3.1 ประชาชนได้รับสินค้าและบริการที่พงึ พอใจ
5.4.3.2 ประชาชนได้ใช้สนิ ค้าท่ีมีคณุ ภาพดี ทนทาน ปลอดภัย
5.4.3.3 ประชาชนลดความสูญเสยี ค่าใช้จ่ายจากสนิ ค้าที่ไม่มคี ุณภาพ
5.4.3.4 ประชาชนเกิดความปลอดภยั ตอ่ ชีวิตและทรัพย์สิน

5.5 ระดับของมาตรฐานอาชพี
ในการจัดประเภทมาตรฐานอาชีพสากลได้เอาทักษะ (skill) หมายถึง ความสามารถในการ

ทางานท่ีได้รับมอบหมายให้สาเร็จ มาพิจารณาโดยดูถึงระดับของทักษะ (skill level) และทักษะเฉพาะด้าน
แบ่งทักษะออกเป็น 4 ระดับ โดยใช้ระดับการศึกษาเป็นตัวแบ่งหรืออธิบายถึงความสามารถ แต่ทั้งน้ีมิได้

หมายความว่าการทางานท้ังหมดน้ันต้องได้รับการศึกษาจากสถานศึกษาหรือการศึกษาในระบบเท่าน้ัน แต่
อาจได้ทักษะจากการฝึกอบรมอย่างไม่เป็นทางการ หรือจากประสบการณ์การทางานก็ได้ ทักษะที่ต้องการ
เพียงแต่สามารถปฏิบัติงานหรือทาหน้าที่ได้ โดยไม่คานึงว่าผู้ประกอบอาชีพนั้นจะมีทักษะในการทางานมาก
หรือนอ้ ยกวา่ บุคคลอนื่ ทอ่ี ย่ใู นอาชีพเดียวกนั ตามทักษะท้ัง 4 ระดบั ทเี่ ปรยี บเทียบกับการศกึ ษาของไทย ดงั น้ี

1. ทักษะระดับที่ 1 หมายถึง ผู้ทจี่ บการศึกษาในระดบั ประถมศึกษา
2. ทกั ษะระดับท่ี 2 หมายถึง ผ้ทู ีจ่ บการศกึ ษาในระดบั ชั้นมัธยมศึกษา
3. ทกั ษะระดบั ท่ี 3 หมายถึง ผทู้ ี่จบการศกึ ษาในระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาสายอาชีพ ปวช.
ปวส. อนปุ รญิ ญา
4. ทกั ษะระดบั ที่ 4 หมายถึง ผทู้ จ่ี บการศึกษาตงั้ แต่ปรญิ ญาตรขี ึ้นไป
เกณฑ์การจดั แบ่งระดบั การศึกษาตามการจาแนกประเภทอาชพี ที่ใชป้ ระกอบการวิเคราะห์
การจดั กลมุ่ เบ้ืองตน้ มดี ังน้ี

หมวดใหญ่ หมวด หมู่ หน่วย ระดบั ทักษะ
ยอ่ ย

1 ผู้บญั ญตั กิ ฎหมาย ข้าราชการระดับอาวุโส ผู้จดั การ 3 8 33 -

2 ผปู้ ระกอบวชิ าชีพด้านตา่ ง ๆ 4 18 55 4

3 ช่างเทคนิคสาขาตา่ ง ๆ และผปู้ ฏิบัติงานท่เี กยี่ วข้อง 4 21 73 3

4 เสมยี น , เจ้าหน้าที่ 2 7 23 2

5 พนักงานบริการ พนักงานขายในร้านค้า และตลาด 2 9 23 2

6 ผปู้ ฏิบตั ิงานมฝี มี ือด้านการเกษตรและประมง 2 6 17 2

7 ผปู้ ฏิบัติงานมฝี ีมอื ในธุรกจิ ต่าง ๆ 4 16 70 2

8 ผู้ปฏบิ ัตกิ ารดา้ นเคร่ืองจักรในโรงงานและผ้ปู ฏบิ ตั ิงานด้านการ 3 20 70 2

ประกอบ

9 อาชีพงานพน้ื ฐาน 3 10 25 1

0 ทหาร 111 -

* หมายเหตุ : ในหมวดใหญ่ 1 และ 0 ไม่ไดก้ าหนดระดบั การศกึ ษาไว้ เนอ่ื งจากกลุ่มอาชีพในสาขาท้งั 2

มคี วามแตกต่างกนั มากจนทาใหไ้ มส่ ามารถจะสร้างความสมั พันธ์ระหว่างอาชีพได้

6. มาตรฐานอาชพี เกษตร

กรมการจัดหางาน ไดด้ าเนินการจัดทาเอกสารการจัดประเภทมาตรฐานอาชีพ (ประเทศไทย) ฉบับปี

2544 น้ี โดยทาการสารวจและเกบ็ รวบรวมข้อมลู ลกั ษณะงานอาชีพจากสถานประกอบการต่าง ๆ เพื่อนาไป

วิเคราะห์ กาหนดนิยามอาชีพ และกาหนดรหัสอาชีพ โดยใช้หลักเกณฑ์และโครงสร้างตามอย่างการจัด

ประเภทมาตรฐานอาชีพสากลขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ ท้ังนี้ เพื่อความเป็นสากลและสามารถ

เปรียบเทียบหรือแลกเปล่ียนข้อมูลด้านอาชีพกบั นานาประเทศได้ (นคร ศิลปอาชา : 2544) ในท่ีน้ีขอนาเพียง
บางสว่ นที่เกยี่ วขอ้ งกบั อาชีพเกษตรมาเปน็ ตวั อย่าง

หมวดใหญ่ 6 ผู้ปฏิบตั ิงานฝมี อื ด้านการเกษตรและประมง
ผู้ปฏบิ ตั ิงานอาชพี ในหมวดใหญน่ ี้ ไดแ้ ก่ ผูท้ ่ีมฝี ีมือในดา้ นการเกษตรและการประมง ทางานปลูกพชื
เลี้ยงสตั ว์ หรอื ใช้ประโยชน์จากป่าไม้ ลา่ สตั ว์ และประมง เพอื่ ให้ได้มาซงึ่ ผลผลติ สาหรับ การจาหน่ายและการ
ดารงชพี
กลุ่มอาชีพในหมวดใหญ่น้ี มี

61 ผปู้ ฏิบัติงานฝมี อื ด้านการเกษตรและการประมงเพื่อการคา้ ขาย
62 ผปู้ ฏบิ ัติงานฝมี ือด้านการเกษตรและการประมงเพ่ือการดารงชีพ
615 ผทู้ างานด้านการประมง การลา่ สัตว์และดกั จับสัตวต์ ่าง ๆ

ผูป้ ฏิบตั ิงานอาชีพในหมู่น้ี ไดแ้ ก่ ผู้ท่ดี าเนนิ การผสมพันธ์ุสัตว์ เพาะเลย้ี งและจับสัตว์
นา้ รวมถงึ การล่าและดกั จบั สัตว์ทีเ่ ลย้ี งลูกดว้ ยนม นกและสัตว์เลอ้ื ยคลาน เพื่อการจาหน่ายให้แก่ผ้ซู ้ือ องคก์ ร
ตลาดหรือตลาดอืน่ ๆ รวมถึงการควบคุมดแู ลผู้ปฏบิ ตั ิงานอื่น ๆ

กลุ่มอาชีพอย่ใู นหมู่นี้ มดี ังน้ี
6151 ผู้ทางานด้านการเพาะเล้ียงสตั ว์น้า
6152 ผู้ทางานด้านการประมงชายฝั่งทะเล
6153 ผู้ทางานด้านการประมงในทะเลน้าลึก
6154 ผู้ทางานด้านการล่าสตั ว์ และวางกับดกั สตั ว์ต่าง ๆ

ผู้ทางานด้านการเพาะเล้ียงสัตว์น้า (Aquatic-life Cultivation Workers)
ผปู้ ฏบิ ัติงานอาชีพในหน่วยนี้ ได้แก่ ผู้ท่ีทาการผสมพันธุ์และเพาะเลี้ยงปลา หอยแมลงภู่ หอยนางรม และ
สัตว์น้าประเภทอ่ืน ๆ เพื่อการจาหน่ายให้กับผู้ซ้ือ องค์กรหรือตลาดอ่ืนๆ ทาการเช่า อาคารส่ิงปลูกสร้าง
อุปกรณ์และเคร่ืองจักรต่าง ๆ พร้อมกับการบารุงรักษา จัดซ้ืออาหารและสิ่งของ เคร่ืองใช้สาหรับการ
ดาเนินการ จัดเตรียมปลาและสัตว์น้าอื่น ๆ เพ่ือขายให้กับผู้ซื้อ ฆ่า ชาแหละ ทา ความสะอาด แช่แข็ง
หรือใส่เกลือกอ่ นการส่งจาหนา่ ย ปฏิบัติหนา้ ท่ีการงานทเ่ี กยี่ วข้อง และควบคมุ ดแู ล ผู้ปฏิบัติงานอ่ืน ๆ

อาชีพในหน่วยน้ี มีดงั นี้
6151.10 ผเู้ ล้ียงสตั ว์น้า (Cultivator)

ผู้ท่ีทาการเล้ียงสัตว์น้าท้ังชนิดที่มีกระดูกสันหลังและไม่มีกระดูกสันหลัง
รวมท้ัง สาหร่ายและพันธ์ุไม้น้าท่ีมีคุณค่าทางเศรษฐกิจ : เล้ียงและแพร่พันธุ์ หรือทาฟาร์มสัตว์น้า ที่มาจากไข่
ลูกสัตว์น้าวัยอ่อน ; การแพร่กระจายหรือเมล็ดพันธ์ุ รวมท้ังสัตว์น้าที่เลี้ยงในแหล่งน้าธรรมชาติ หรือ นาเข้า
จากต่างประเทศ หรือวิธีการอ่ืนท่ีใกล้เคียงกันไม่ว่าในน้าจืด น้ากร่อย หรือน้าเค็ม; เตรียมที่และ อุปกรณ์ที่ใช้
สาหรับเล้ียงสัตว์ เช่น บ่อ กระชัง แพ คอก เป็นต้น ; ทาการคัดเลือกพันธ์ุจากโรงเพาะฟัก หรือจาก
ธรรมชาติ ; เลี้ยงให้เติบโตเพ่ือเพ่ิมน้าหนักและขนาดตามต้องการ ; ควบคุมสภาพแวดล้อมของ สถานท่ีเลี้ยง

ให้มีความเหมาะสมกับสัตว์น้า ; ป้องกันและกาจัดโรค และ/หรือศัตรูของสัตว์น้าท่ีเลี้ยง ; เก็บรวบรวม
ข้อมูลเก่ียวกับการเจริญเติบโต การใหอ้ าหาร การตาย ฯลฯ จบั สัตว์น้าเมอื่ ไดข้ นาดตาม ต้องการของผู้บรโิ ภค

6151.30 คนงานเพาะเล้ยี งสัตว์น้า (Skilled farming worker, fishery )
ผู้ท่ีทาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้าเป็นประจาสม่าเสมอ เช่น การขุดลอก

ซอ่ มแซม ปรบั ปรงุ บ่อ การสูบนา้ เข้า-ออกจากบ่อ ให้อาหาร ยารักษาโรค ตรวจสอบคุณภาพน้าโดยท่ัวไป
จับสัตวน์ า้ ฯลฯ ปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ีการงานที่เก่ียวข้อง

สรปุ
มาตรฐานอาชีพเกษตร เปน็ มาตรฐานท่กี าหนดโดยเจ้าของอาชีพหรอื องค์กรทางวิชาชพี โดยกาหนด

สมรรถนะในงานหลักหรือความสามารถในการปฏบิ ัติงานของอาชีพนนั้ ๆ ในหลักการหรือเทคนคิ ทน่ี ิยมใช้ใน
การวเิ คราะห์

กรมการจัดหางานได้จัดแบ่งโครงสร้างประเภทมาตรฐานอาชีพ (ประเทศไทย) โดยใช้หลักเกณฑ์การ
จดั แบ่งประเภทอาชีพ เช่นเดยี วกับการจัดประเภทมาตรฐานอาชีพสากล จัดแบ่งประเภทอาชีพออกเป็นหมวด
ใหญ่ หมวดย่อย หมู่ และหน่วย เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐ เอกชน และบุคคลท่ัวไป มีความรู้ความเข้าใจท่ี
ถกู ต้อง เกย่ี วกับขอ้ มูลอาชพี และสะดวกแก่การนาไปใชป้ ระโยชน์

มาตรฐานอาชพี หมายถึง ขอ้ กาหนดที่เป็นเกณฑเ์ กีย่ วกับความรู้ความสามารถและทัศนคติ ที่สามารถ
ใช้ในการทางานในอาชีพตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ มอี งค์ประกอบที่สาคัญ 3 ส่วน คือความรู้ ทักษะ และ
ทัศนคติ การจัดประเภทมาตรฐานอาชีพสากลได้เอาทักษะซึ่งหมายถึง ความสามารถในการทางานที่ได้รับ
มอบหมายให้สาเร็จ มาพิจารณาโดยดูถึงระดับของทักษะ และทักษะเฉพาะด้าน แบ่งทักษะออกเป็น 4
ระดับทีเ่ ปรยี บเทยี บกบั การศกึ ษาของไทย ดงั นี้

1. ทักษะระดับท่ี 1 หมายถึง ผู้ทจ่ี บการศึกษาในระดบั ประถมศึกษา
2. ทักษะระดบั ที่ 2 หมายถึง ผทู้ ่ีจบการศกึ ษาในระดับชั้นมัธยมศึกษา
3. ทกั ษะระดับท่ี 3 หมายถึง ผู้ทจี่ บการศกึ ษาในระดับช้ันมธั ยมศึกษาสายอาชีพ ปวช.
ปวส. อนปุ รญิ ญา
4. ทกั ษะระดับท่ี 4 หมายถึง ผู้ทีจ่ บการศึกษาตัง้ แต่ปริญญาตรีขึ้นไป

เอกสารอ้างองิ

จะเดด็ เปาโสภาและมนตรี พรหมเพช็ ร. 2548. เอกสารประกอบการประชมุ สมั มนาเชิงปฏิบัติการ การพัฒนา
หลกั สตู รแบบฐานสมรรถนะ.สานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ.สานกั งานคณะกรรมการการ
อาชวี ศึกษา.กระทรวงศกึ ษาธกิ าร.

นคร ศิลปะอาชา. 2544. การจดั ประเภทมาตรฐานอาชพี . เข้าถงึ ไดจ้ าก https://www.doe.go.th/pdf
มาตรฐานอาชพี และคณุ วฒุ วิ ชิ าชีพ สถาบันคุณวุฒิวิชาชพี เขา้ ถงึ ได้จาก https://www.pmat.or.th/pdf
สานกั มาตรฐานและทดสอบฝีมอื แรงงาน. มปป. ทาความรู้จกั กับมาตรฐานฝีมอื แรงงาน. สานกั มาตรฐานฯ.

กรมพฒั นาฝีมือแรงงาน.กระทรวงแรงงาน.
หลกั การศึกษาและการอาชวี ศกึ ษาและฝกึ อบรมของ UNESCO (2549). สานกั มาตรฐานการอาชวี ศึกษาและ

วิชาชีพ.สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา, กระทรวงศึกษาธิการ.
อโณทัย เช่ียวชาญ. มาตรฐานอาชพี . เข้าถึงไดจ้ าก http://anothai573.blogspot.com/2015/06/4.html

โครงสร้างมาตรฐานวิชาชีพของไปแบ่งออกได้กี่หมวด

หลักการจัดท าโครงสร้างการจัดประเภทอาชีพและวิธีการให้เลขรหัสมีดังนี้ หมวดใหญ่ (major) เป็นกลุ่มอาชีพที่ใหญ่ที่สุด จัดแบ่งออกเป็น 10 หมวดใหญ่ แทนด้วย เลขรหัสหลักที่ 1 หมวดย่อย (sub major) เป็นกลุ่มอาชีพที่แบ่งย่อยจากหมวดใหญ่ จัดแบ่งออกเป็น 28 หมวดย่อย แทนด้วยเลขรหัส หลักที่ 1 และ 2 หมู่ (group) เป็นกลุ่มอาชีพที่แบ่งย่อย ...

อาชีพในประเทศไทยมีกี่กลุ่ม

การแบ่งอาชีพตามลักษณะของการประกอบอาชีพ นอกจากจะจัดกลุ่มอาชีพเป็น 6 ประเภทแล้ว เรายังสามารถจัดกลุ่มอาชีพตาม ลักษณะการ ประกอบอาชีพ เป็น 2 ลักษณะ คือ อาชีพอิสระ และอาชีพรับจ้าง

อาชีพแบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง

ประเภทของอาชีพ.
อาชีพอิสระ มีลักษณะเป็นเจ้าของกิจการ บริหารจัดการด้วยตนเอง อาจเป็นกิจการขนาดเล็ก หรือเป็นอุตสาหกรรมในครัวเรือน อาชีพอิสระแยกย่อยออกไปเป็น 2 ประเภท ดังนี้ ... .
อาชีพรับจ้าง ... .
อาชีพงานฝีมือ ... .
อาชีพรับราชการหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ รวมทั้งพนักงานรัฐวิสาหกิจ.

ผู้ที่จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตามมาตรฐานอาชีพอยู่ที่ระดับใด

การศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) รับผู้จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระยะเวลาการศึกษา 3 ปี เมื่อจบการศึกษาแล้วสามารถออกไปประกอบอาชีพ หรือศึกษาต่อระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือระดับปริญญาตรีสายสามัญ เป็นการศึกษาที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนา ทักษะ ความรู้ ความสามารถ และสมรรถนะทางวิชาชีพขั้น ...

โครงสร้างมาตรฐานวิชาชีพของไปแบ่งออกได้กี่หมวด อาชีพในประเทศไทยมีกี่กลุ่ม อาชีพแบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง ผู้ที่จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตามมาตรฐานอาชีพอยู่ที่ระดับใด ผู้ประกอบวิชาชีพครู จัดอยู่ในทักษะระดับการศึกษาใด การจัดประเภทมาตรฐานอาชีพของประเทศไทย เป็นภารกิจของหน่วยงานใด ทักษะระดับที่ 4 หากเปรียบเทียบกับการศึกษาของไทยแล้วคือข้อใด ทักษะระดับที่ 2 หากเปรียบเทียบกับการศึกษาของไทยแล้วคือข้อใด การจัดประเภทอาชีพตามมาตรฐานสากล มีกี่ประเภท การจัดประเภทมาตรฐานอาชีพสากล ตัวย่อคือข้อใด การจัดทําประเภทมาตรฐานอาชีพ ในประเทศไทย มีวัตถุประสงค์อย่างไรอย่างไร