โครงการ แนวคิด เศรษฐกิจ พอ เพียง เกษตรทฤษฎีใหม่

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

โครงการ แนวคิด เศรษฐกิจ พอ เพียง เกษตรทฤษฎีใหม่

สวนที่จัดแสดง "แนวพระราชดำริทฤษฎีใหม่" ของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ในงานราชพฤกษ์ 2549

เกษตรทฤษฎีใหม่ เป็นแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เกี่ยวกับการจัดพื้นที่ดินเพื่อการอยู่อาศัยและมีชีวิตอย่างยั่งยืน โดยมีการแบ่งพื้นที่เป็นส่วน ๆ ได้แก่ พื้นที่น้ำ พื้นที่ดินเพื่อเป็นที่นาปลูกข้าว พื้นที่ดินสำหรับปลูกพืชไร่นานาพันธุ์ และที่สำหรับอยู่อาศัยและเลี้ยงสัตว์ ในอัตราส่วน 30:30:30:10 เป็นหลักการในการบริหารจัดการที่ดินและน้ำ เพื่อการเกษตรในที่ดินขนาดเล็กให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ดังนี้

  1. มีการบริหารและจัดแบ่งที่ดินแปลงเล็ก ออกเป็นสัดส่วนที่ชัดเจน เพื่อประโยชน์สูงสุดของเกษตรกร
  2. มีการคำนวณโดยหลักวิชาการ เกี่ยวกับปริมาณน้ำที่จะกักเก็บให้พอเพียง ต่อการเพาะปลูกได้ตลอดปี
  3. มีการวางแผนที่สมบูรณ์แบบ สำหรับเกษตรกรรายย่อย 3 ขั้นตอน เพื่อให้พอเพียงสำหรับเลี้ยงตนเองและเพื่อเป็นรายได้

พื้นที่โครงการตามแนวเกษตรทฤษฎีใหม่[แก้]

  • โครงการพัฒนาพื้นที่เกษตรน้ำฝน บ้านแดนสามัคคี ตำบลคุ้มเก่า อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์
  • โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ปักธงชัย หรือ ทฤษฎีใหม่บ้านฉัตรมงคล ตำบลปักธงชัยเหนือ อำเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา
  • โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ปากท่อ, โครงการพัฒนาที่ดินของมูลนิธิชัยพัฒนา ตำบลวันดาว อำเภอปากท่อ จังหวัดราชบุรี
  • โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่หนองหม้อ ตำบลหนองหม้อ อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์

อ้างอิง[แก้]

  • ทฤษฎีใหม่ - New Theory จากเครือข่ายกาญจนาภิเษก

โรงเรียน ห้วยยอดคัดเลือก "โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ เดินตามรอยพ่ออยู่อย่างพอเพียง" ขึ้นมาเป็นโครงการเด่น เพื่อเป็นตัวอย่างและแนวทางแก่นักเรียนและผู้สนใจโดยทั่วไป 

วัตถุประสงค์

โครงการ แนวคิด เศรษฐกิจ พอ เพียง เกษตรทฤษฎีใหม่
1.เพื่อพัฒนาผู้บริหาร ครู บุคลากร ให้มีความรู้ความเข้าใจหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่

โครงการ แนวคิด เศรษฐกิจ พอ เพียง เกษตรทฤษฎีใหม่

2.เพื่อ พัฒนานักเรียน ให้มีความรู้ความเข้าใจหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ มีทักษะกระบวนการคิดและกระบวนการทำงาน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

โครงการ แนวคิด เศรษฐกิจ พอ เพียง เกษตรทฤษฎีใหม่
3.เพื่อ ส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักกระบวนการจัดการกับผลผลิต เพื่อให้เกิดประโยชน์และคุ้มค่าสูงสุด และนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ไปประยุกต์ใช้ในชีวิต ประจำวันและเผยแพร่สู่ครอบครัวและชุมชน

โครงการ แนวคิด เศรษฐกิจ พอ เพียง เกษตรทฤษฎีใหม่
ขั้นตอนการดำเนินโครงการ

โครงการ แนวคิด เศรษฐกิจ พอ เพียง เกษตรทฤษฎีใหม่

1.ขั้นวางแผน

โครงการ แนวคิด เศรษฐกิจ พอ เพียง เกษตรทฤษฎีใหม่
โครงการ แนวคิด เศรษฐกิจ พอ เพียง เกษตรทฤษฎีใหม่
1.1 แต่ง ตั้งคณะกรรมการเพื่อวิเคราะห์สภาพปัญหาและความต้องการจำเป็นในการดำเนินงาน และประชุมคณะกรรมการเพื่อวิเคราะห์นโยบายของหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้อง

โครงการ แนวคิด เศรษฐกิจ พอ เพียง เกษตรทฤษฎีใหม่
โครงการ แนวคิด เศรษฐกิจ พอ เพียง เกษตรทฤษฎีใหม่
1.2 เตรียม การด้านบุคลากร งบประมาณ อาคารสถานที่ วัสดุอุปกรณ์ เทคโนโลยีแหล่งเรียนรู้ พร้อมกับประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องและให้การสนับสนุน

โครงการ แนวคิด เศรษฐกิจ พอ เพียง เกษตรทฤษฎีใหม่
โครงการ แนวคิด เศรษฐกิจ พอ เพียง เกษตรทฤษฎีใหม่
1.3 สำรวจแหล่งเอกสาร สื่อ นวัตกรรม ข้อมูลจากอินเตอร์เน็ตไว้ให้เพียงพอกับ ครู นักเรียน บุคลากรและผู้เกี่ยวข้อง


 

โครงการ แนวคิด เศรษฐกิจ พอ เพียง เกษตรทฤษฎีใหม่
2. ขั้นดำเนินการ

โครงการ แนวคิด เศรษฐกิจ พอ เพียง เกษตรทฤษฎีใหม่

2.1 อบรม สัมมนาครูและบุคลากรให้มีความรู้-เข้าใจหลักคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และหลักการเกษตรทฤษฎีใหม่

โครงการ แนวคิด เศรษฐกิจ พอ เพียง เกษตรทฤษฎีใหม่

2.2 แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินโครงการ ประกอบด้วยฝ่ายวิชาการ ฝ่ายงบประมาณ ฝ่ายบุคลากร และฝ่ายบริหารทั่วไป

โครงการ แนวคิด เศรษฐกิจ พอ เพียง เกษตรทฤษฎีใหม่
2.3 ขับเคลื่อนกิจกรรมเกษตรทฤษฎีใหม่

โครงการ แนวคิด เศรษฐกิจ พอ เพียง เกษตรทฤษฎีใหม่
โครงการ แนวคิด เศรษฐกิจ พอ เพียง เกษตรทฤษฎีใหม่
(1) เตรียมสถานที่ และจัดซื้อครุภัณฑ์จัดทำสิ่งก่อสร้าง จัดซื้อจัดหาพันธุ์พืชและพันธุ์ปลามาเลี้ยง

โครงการ แนวคิด เศรษฐกิจ พอ เพียง เกษตรทฤษฎีใหม่
โครงการ แนวคิด เศรษฐกิจ พอ เพียง เกษตรทฤษฎีใหม่
(2) ทำตารางการดูแลบำรุงรักษา โดยมอบหมายครู บุคลากร นักเรียนรับผิดชอบดูแลบำรุงรักษา โดยมีกลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยีเป็นหลักในการทำงาน

โครงการ แนวคิด เศรษฐกิจ พอ เพียง เกษตรทฤษฎีใหม่
โครงการ แนวคิด เศรษฐกิจ พอ เพียง เกษตรทฤษฎีใหม่
(3) ดำเนินการผลิตปุ๋ยใช้เอง โดยใช้วัสดุในท้องถิ่นและเศษวัสดุในโรงเรียน

โครงการ แนวคิด เศรษฐกิจ พอ เพียง เกษตรทฤษฎีใหม่
โครงการ แนวคิด เศรษฐกิจ พอ เพียง เกษตรทฤษฎีใหม่
(4) ทำนาข้าวสาธิตได้แบ่งที่ดินเนื้อที่ประมาณ 1 ไร่ไว้เพื่อทำนาปลูกข้าวเจ้าปีละ 2  ครั้ง เพื่อให้นักเรียนเห็นกระบวนการทำนาข้าว การบำรุงรักษาและการเก็บเกี่ยวตลอดถึงแปรรูปเป็นข้าวสาร

โครงการ แนวคิด เศรษฐกิจ พอ เพียง เกษตรทฤษฎีใหม่
โครงการ แนวคิด เศรษฐกิจ พอ เพียง เกษตรทฤษฎีใหม่
(5) นักเรียน ครู บุคลากร นำผลผลิตไปดำเนินการ โดยการส่งป้อนโรงครัวอาหารกลางวัน จำหน่ายแก่ครู บุคลากร จำหน่ายบุคคลทั่วไปและจัดตลาดนัดนักเรียน เพื่อจำหน่ายผลผลิตเดือนละ 2 ครั้ง

 

โครงการ แนวคิด เศรษฐกิจ พอ เพียง เกษตรทฤษฎีใหม่
3. ขั้นตรวจสอบ

โครงการ แนวคิด เศรษฐกิจ พอ เพียง เกษตรทฤษฎีใหม่

3.1 ติดตามการปฏิบัติงาน ประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ โดยฝ่ายบริหาร

โครงการ แนวคิด เศรษฐกิจ พอ เพียง เกษตรทฤษฎีใหม่
3.2 สำรวจความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง

โครงการ แนวคิด เศรษฐกิจ พอ เพียง เกษตรทฤษฎีใหม่
4. ขั้นปรับปรุง

โครงการ แนวคิด เศรษฐกิจ พอ เพียง เกษตรทฤษฎีใหม่
สรุป ผลงานเพื่อพัฒนาปรับปรุงใช้ในปีต่อไป ปรับปรุงข้อผิดพลาด เพื่อพัฒนาโครงการให้ดียิ่งขึ้น เพื่อให้เป็นโครงการที่มั่นคงและยั่งยืน สนองพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

โครงการ แนวคิด เศรษฐกิจ พอ เพียง เกษตรทฤษฎีใหม่

ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2549 - 31 พฤษภาคม 2550

โครงการ แนวคิด เศรษฐกิจ พอ เพียง เกษตรทฤษฎีใหม่
สิ่งที่ได้เรียนรู้จากกิจกรรม

โครงการ แนวคิด เศรษฐกิจ พอ เพียง เกษตรทฤษฎีใหม่

- นักเรียน ครู บุคลากร ได้เรียนรู้และลงมือปฏิบัติในหลักการของเกษตรทฤษฎีใหม่และจัดสรรแบ่งพื้นที่ ในโรงเรียนให้สอดคล้องกับหลักทฤษฎีใหม่ โดยยืดหยุ่นไปตามสภาพจริง
 
โครงการ แนวคิด เศรษฐกิจ พอ เพียง เกษตรทฤษฎีใหม่
- โรงเรียนได้กรอบแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงนำมาบริการสถานศึกษา เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้ดี และมีความสุข รวมทั้งมีร้านจำหน่ายผลผลิตนักเรียน ตลาดนัดนักเรียน เป็นศูนย์การเรียนรู้ของโรงเรียนต่างๆ ทั้งในและนอกเขตพื้นที่การศึกษา บริการชุมชนได้มาฝึกปฏิบัติจริง เป็นโรงเรียนต้นแบบปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่สมบูรณ์

เงื่อนไขความสำเร็จ

โครงการ แนวคิด เศรษฐกิจ พอ เพียง เกษตรทฤษฎีใหม่
1.ผู้บริหาร ครู บุคลากรเข้าใจหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่

โครงการ แนวคิด เศรษฐกิจ พอ เพียง เกษตรทฤษฎีใหม่

2.นักเรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรมเกษตรทฤษฎีใหม่ โดยใช้กระบวนการคิดวางแผนกระบวนการทำงาน การสรุปประเมินผลงานอยู่ในขั้นดี

โครงการ แนวคิด เศรษฐกิจ พอ เพียง เกษตรทฤษฎีใหม่
3.นักเรียนสามารถใช้ผลผลิตได้คุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด

โครงการ แนวคิด เศรษฐกิจ พอ เพียง เกษตรทฤษฎีใหม่
4.โรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ศึกษาดูงานด้านปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่