สารในชีวิตประจําวัน ป.6 ppt

สารเคมีท่ใี ชใ้ นชวี ติ ประจาวัน

สารเคมี หมายถึง สารทป่ี ระกอบด้วยธาตชุ นิดเดยี วกันหรอื ธาตุ
ตา่ งชนิดกันมารวมตัวกันดว้ ยพันธะเคมี

สารเคมีทีใ่ ช้ในชีวติ ประจาวัน

สารเคมใี นชีวติ ประจาวัน จาแนกเป็น 5 ประเภท ดังน้ี
1. สารทาความสะอาด
2. สารปรุงแตง่ อาหาร
3. สารเคมที ีใ่ ช้ในการเกษตร
4. ยารักษาโรค
5. สารเคมีทใ่ี ชใ้ นสานกั งาน

สารทาความสะอาด

สารทาความสะอาด หมายถงึ สารทม่ี คี ณุ สมบตั ิในการกาจัดความ
สกปรกต่างๆ ตลอดจนฆ่าเชื้อโรค

แบ่งตามการเกิด ได้ 2 ประเภท คอื
1) ได้จากการสงั เคราะห์ เช่น น้ายาล้างจาน สบู่กอ้ น สบเู่ หลว แชมพู

ผงซกั ฟอก สารทาความสะอาดพน้ื เป็นต้น

2) ไดจ้ ากธรรมชาติ เช่น น้ามะกรดู มะขามเปียก เกลือ เปน็ ต้น

สารทาความสะอาด

แบง่ ตามวตั ถปุ ระสงค์ในการใชง้ านได้เป็น 4 ประเภท คือ
1. สารประเภททาความสะอาดรา่ งกาย ไดแ้ ก่ สบู่ แชมพสู ระผม เป็นตน้
2. สารประเภททาความสะอาดเสือ้ ผา้ ไดแ้ ก่ สารซกั ฟอกชนิดตา่ งๆ
3. สารประเภททาความสะอาดภาชนะ ไดแ้ ก่ น้ายาลา้ งจาน เป็นตน้
4. สารประเภททาความสะอาดห้องนา้ ไดแ้ ก่ สารทาความสะอาดหอ้ งนา้
ทงั้ ชนิดผงและชนดิ เหลว

สบู่(soap)

สบู่ คือ สารอินทรยี ์พวกเกลือท่ไี ด้จากปฏกิ ิรยิ าเคมรี ะหว่าง
เบสโซเดยี มไฮดรอกไซดห์ รือโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ กับน้ามนั หรอื
ไขมันท่ีมาจากสตั ว์หรือพืช

ปฏกิ รยิ าเคมีทีเ่ กิดข้นึ เรียกว่า สปอนนฟิ เิ คชั่น(saponification)
ได้สารใหม่ คือ เกลือของกรดไขมนั หรือที่เรยี กว่า สบู่ และกลเี ซอรอล

สบู่มคี วามสามารถละลายได้ทงั้ ในน้าและไขมัน และสามารถ
เกบ็ ไขมนั ไวก้ บั ตวั มันเองได้ ด้วยเหตนุ ้มี ันจงึ มีประสทิ ธิภาพในการทา
ความสะอาดได้เปน็ อยา่ งดี

สบู่(soap)

โครงสรา้ งของสบู่ แบ่งเปน็ 2 ส่วน ไดแ้ ก่
1. สว่ นที่ละลายไดด้ ีในนา้ มันเปน็ สว่ นไม่มขี ั้วซง่ึ เป็น
สารประกอบไฮโดรคารบ์ อน
2. ส่วนทลี่ ะลายน้าไดด้ ี เป็นส่วนทีม่ ขี ้ัวซงึ่ เป็นเกลอื โซเดียมหรอื
โพแทสเซยี ม

ผงซักฟอก

ผงซกั ฟอก เปน็ สารสังเคราะห์ท่ีประกอบด้วยสารอนิ ทรยี ์ซัลโฟเนต
ของสารไฮโดรคาร์บอนทีไ่ ดจ้ ากปิโตรเลียมกบั สารประกอบซลั เฟต

โมเลกุลของผงซกั ฟอกประกอบด้วย 2 ส่วน มีสมบตั ิชาระล้างส่ิง
สกปรกทัง้ หลายไดเ้ ช่นเดยี วกับสบู่

สารปรุงแต่งอาหาร

สารปรงุ แตง่ อาหาร หมายถงึ สารปรงุ รสและวัตถุเจือปนในอาหาร
ท่นี ามาใช้เพื่อปรงุ แต่งสี กล่ิน รส และคุณสมบตั อิ ่ืน ๆ

สารปรงุ แตง่ สี

สีผสมอาหาร มวี ตั ถปุ ระสงคใ์ นการใชเ้ พือ่ เพิ่มความดงึ ดดู ใจ
แต่งแต้มสีสนั ทาให้อาหาร น่ารับประทานมากยิ่งขนึ้

ตามประกาศกระทรวงสาธารณสขุ ฉบับที่ 21 (พ.ศ.2522) ซึ่งได้
แบ่งสีผสมอาหารทก่ี ระทรวงสาธารณสขุ อนุญาตใหใ้ ช้ผสมอาหารได้
3 ประเภท คือ

1. สีอินทรยี ์ทไี่ ด้จากการสงั เคราะห์
2. สีอนินทรีย์
3. สที ่ีไดจ้ ากธรรมชาติ โดยการสกดั พืช ผกั ผลไม้ และสตั ว์

สารปรุงแตง่ สี

1. สอี ินทรียท์ ไ่ี ดจ้ ากการสงั เคราะห์ ได้แก่

1.1 จาพวกสีแดง ไดแ้ ก่ ปองโซ 4 อาร์ (Ponceau-4 R) เออรโิ ธรซีน
(Erythrosine)คารโ์ มอซี นี หรอื เอโซรูบนี (Carmoisine or Azorubine)

1.2 จาพวกสีเหลอื ง ได้แก่ ตาร์ตราซีน (Tartrazine) ซนั เซต เยลโลว์
เอฟซีเอฟ (Sunset yellow FCF) ไรโบฟลาวิน (Riboflavin)

1.3 จาพวกสีเขยี ว ไดแ้ ก่ ฟาสต์กรีน เอฟซีเอฟ (Fast Green FCF)
1.4 จาพวกสีน้าเงนิ ได้แก่ อนิ ดโิ กคาร์มนี หรืออินดโิ กทนี
(Indigocarmine or Indigotine) บริลเลียนต์บลู เอฟซเี อฟ(Brilliant Blue
FCF)

สารปรงุ แตง่ สี

2. สอี นินทรยี ์ ไดแ้ ก่

2.1 ผงถ่านทีไ่ ด้จากเผาพชื (Vegetable Charcoal)
2.2 ไททาเนียมไดออกไซด์ (Titanium Dioxide)

สารปรุงแต่งสี

3. สีที่ไดจ้ ากธรรมชาติ ได้แก่

- สเี หลือง จากขมน้ิ ชนั ขมน้ิ ออ้ ย ดอกคาฝอย ดอกกรรณิการ์ ลกู พดุ
- สแี ดง จากครงั่ ข้าวแดง มะเขอื เทศสกุ กระเจี๊ยบ มะละกอ ถ่ัวแดง
- สมี ่วง จากดอกอัญชันสนี ้าเงนิ ผสมมะนาว
- สเี ขยี ว จากใบเตย
- สนี ้าตาล จากนา้ ตาลไหม้
- สีน้าเงิน จากดอกอญั ชัน
- สดี า จากถ่ัวดา และดอกดิน
- สแี สด จากเมล็ดของผลคาแสด

สารแตง่ กลิน่ และรส

หมายถึง สารเคมที เ่ี กดิ ในธรรมชาตแิ ละทส่ี งั เคราะห์ข้นึ สามารถทา
ใหก้ ล่นิ และรสของอาหารเปน็ ท่พี อใจของผู้บริโภค

1. รสหวาน
2. รสเปรย้ี ว
3. รสเคม็
4. รสขม
5. รสกลมกล่อม

ผงชูรส

ผงชูรส เปน็ สารประกอบอินทรยี ์ชนดิ หนงึ่ มชี ่อื ทางเคมวี า่ โมโนโซเดยี ม
กลูทาเมต (Monosodiumglutamate) เรยี กย่อๆ วา่ เอม็ เอสจี (MSG)

แผนผงั การผลติ ผงชรู สจากแปง้ มันสาปะหลงั

ผงชูรส

ลักษณะของผงชูรส
1. เปน็ เกลด็ สีขาวคอ่ นขา้ งใส ไม่สะท้อนแสง
2. เกล็ดมลี ักษณะปลายทัง้ สองข้างใหญ่ ตรงกลางคอดรูปกระดูกหรอื เป็นลม่ิ
3. ปลายมลี กั ษณะขา้ งหนงึ่ ใหญ่ อกี ข้างหน่งึ เลก็

ผงชูรส สามารถแบ่งเปน็ 2 ชนิดคอื
1. ผงชูรสแท้ เป็นผงชรู สทีม่ ีสารโมโนโซเดียมกลูทาเมต ไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 98
โดยนา้ หนกั
2. ผงชรู สผสม เป็นผงชรู สทีม่ ีโมโนโซเดยี มกลูทาเมตรอ้ ยละ 50 – 98 โดย
นา้ หนัก ส่วนผสมทีจ่ ะเพม่ิ จนถึง 100 กรมั จะตอ้ งเปน็ สารท่ีไมเ่ ป็นอันตราย

ผงชูรส

คุณสมบตั แิ ละประโยชนข์ องผงชรู ส
1. มรี สคล้ายนา้ ตม้ เนือ้ คือ หวานและเค็มเลก็ นอ้ ย
2. มกี ล่ินคล้ายหัวผกั กาดเค็ม หรือคล้ายนา้ ตม้ เนอื้
3. ช่วยละลายไขมันใหผ้ สมกลมกลนื กบั นา้
4. กระตุ้นปุ่มปลายประสาทโคนลน้ิ กบั ลาคอใหร้ ้สู กึ อร่อย
5. ลดกล่ินเน้ือ กล่นิ ผกั และรสของอาหารท่ีไม่พงึ ประสงค์ได้ (โดยเฉพาะกล่ินเนอื้ )
6. ทาหน้าท่ใี นการปรงุ แตง่ รสอาหารไดด้ ี เมอ่ื อาหารมีพีเอช 6-8
7. ผงชรู สมกี รดกลูตามกิ เม่อื รับประทานเขา้ ไปเล็กน้อยช่วยกระตนุ้ สมองให้

แจม่ ใส กระปรกี้ ระเปรา่

ผงชรู ส

การทดสอบสารปลอมปนในผงชูรส

1). บอแรกซ์ การตรวจสอบหาบอแรกซใ์ นผงชรู สทาได้โดยนาผงชรู สประมาณเมด็
ถวั่ เขียวละลายนา้ 1 ช้อนกาแฟแล้วนากระดาษขมนิ้ จุ่มลงไป ถา้ เป็นผงชูรสแท้
กระดาษขมิน้ จะไมเ่ ปลยี่ นสี แตถ่ า้ มีบอแรกซผ์ สมอย่กู ระดาษขมนิ้ จะเปลยี่ นเป็น
สนี ้าตาลแดง หรอื มสี ีคลา้ ลงทนั ที

ผงชูรส

การทดสอบสารปลอมปนในผงชูรส

2). โซเดยี มเมตาฟอสเฟต
➤ ถ้าเป็นผงชรู สแท้ สารท่ีไหมจ้ ะเปน็ สดี า แตถ่ ้าผงชรู สนัน้ มีสารอ่ืนผสมอยู่ เชน่
บอแรกซห์ รอื โซเดยี มเมตาฟอสเฟต จะปรากฏสว่ นหนึ่งไหม้เป็นสีดา และอีกสว่ น
หนงึ่ หลอมตวั เปน็ สขี าวรวมอยู่ด้วย
➤ ถ้าเปน็ บอแรกซห์ รือโซเดียมเมตาฟอสเฟตเพียงอยา่ งเดยี ว สารนัน้ จะหลอม
ตวั เป็นสารสขี าวเทา่ น้ัน

สารเคมีในการเกษตร

สารเคมปี ราบศตั รพู ชื ซึ่งสามารถแบง่ เปน็ 4 กลมุ่

1). กลุ่มออรก์ าโนคลอรีน (Organochlorine)
เป็นสารประกอบไฮโดรคารบ์ อนทม่ี ีธาตุคลอรนี (Cl) เปน็ องค์ประกอบ

และสลายตวั ได้ยาก โดยเม่ือฉดี พ่นไปแลว้ มกั สลายตวั ไดห้ มดในระยะเวลา 2-5 ปี
แตบ่ างชนิดก็เปน็ พษิ ตกค้างอย่นู านหลายปี

ตัวอย่างของสารพษิ ในกลมุ่ น้ี ได้แก่ ดดี ที ี (DDT) แอลดริน (Aldrin) และ
ดีลดรนิ (Dieldrin)ถา้ รา่ งกายได้รบั สารพษิ น้ีเขา้ ไปเปน็ จานวนมาก จะกอ่ ให้เกดิ
อาการหนา้ มดื เวียนศีรษะ ท้องร่วงหัวใจวาย และเสยี ชวี ิตได้ แต่ถ้าได้รับใน
ปริมาณนอ้ ย ความเปน็ พิษจะคอ่ ยๆ สะสมแลว้ ทาใหเ้ กิดโรครา้ ยแรงตา่ งๆ ตามมา
ได้ภายหลัง

สารเคมใี นการเกษตร

2). กลุ่มออรก์ าโนฟอสเฟต (Organophosphate)
เปน็ สารประกอบไฮโดรคาร์บอนท่ีมีธาตฟุ อสฟอรสั (P) เป็นองคป์ ระกอบ

และสลายตัวได้เรว็ โดยจะสลายตวั ไดห้ มดหลงั จากที่ฉดี หรอื พ่นแล้วในระหวา่ ง
1-12 สปั ดาห์

ตัวอยา่ งของสารพษิ กลมุ่ นี้ ได้แก่ พาราไทออน (Parathion)
มาลาไทออน (Malathion)และไดอะซินอน (Diazinon)หากร่างกายได้รับ
สารพษิ น้เี ข้าไป จะทาใหเ้ กดิ อาการเวียนศีรษะ ตื่นเต้น ตกใจงา่ ย คลนื่ ไสเ้ ปน็
ตะคริว ชัก ไม่สามารถควบคมุ กลา้ มเน้ือ และถงึ ข้ันเสียชวี ติ ได้

สารเคมใี นการเกษตร

3). กลุ่มคาร์บาเมต (Carbamate)
เป็นอนพุ ันธข์ องกรดคารบ์ ามกิ ท่มี ีธาตุไนโตรเจน (N) เมโทมิล

(Methomyl) และคาร์โบฟวิ แรน (Carbofuran)สารพษิ กล่มุ นถี้ กู ใชก้ นั อยา่ ง
แพรห่ ลาย และค่อนข้างจะเปน็ พษิ น้อยกวา่ 2 กลุ่มแรก แต่จะมีพษิ สงู ตอ่ ผง้ึ และ
ปลา และมคี วามเป็นพิษตอ่ ระบบประสาทเชน่ เดยี วกบั สารพิษกลมุ่ ออรก์ าโน
ฟอสเฟต

สารเคมีในการเกษตร

4). กล่มุ ไพรีทรอยด์ (Pyrethroids)
เป็นสารพิษทส่ี ลายตัวได้ง่าย ไดแ้ ก่ ไพรีทริน (Pyrethrin) ซ่งึ มไี ดจ้ ากทั้ง

ธรรมชาติ คอื สกัดจากดอกทานตะวัน และจากการสงั เคราะห์ เชน่ เฟอร์เมทริน
ไซเปอร์เมทรนิ

สารพิษในกลมุ่ น้ถี กู นามาใชฆ้ ่าแมลงไดด้ ี มีพษิ คอ่ นขา้ งนอ้ ยตอ่ มนุษย์
และสัตว์เลอื ดอุ่น

สารเคมใี นการเกษตร

ขอ้ ควรปฏบิ ัติในการใชส้ ารเคมีปราบศตั รูพืช
1). กอ่ นใช้สารเคมปี ราบศตั รพู ชื ตอ้ งอ่านฉลากกากบั ทุกครง้ั ให้เขา้ ใจ
กอ่ นใช้ และตอ้ งปฏบิ ัตติ ามคาเตือนและขอ้ ควรระวงั โดยเครง่ ครัด
2). การผสมสารเคมีปราบศัตรูพชื อย่าใช้มอื ผสม ใหใ้ ช้ไมก้ วนหรือคลุก
ยาให้เขา้ กนั ควรสวมถุงมือและผ้าปดิ ปากทุกครัง้ อยา่ ใหเ้ ด็กหรือผทู้ ีไ่ ม่เกี่ยวขอ้ ง
เขา้ ใกลข้ ณะผสมยา
3). ถ้าหัวฉีดอดุ ตันหา้ มใชป้ ากเปา่ หรอื ดูด ใหใ้ ช้ลวดเลก็ ๆ เขี่ยสิง่ อดุ ตนั
ออกหรอื เปลยี่ นหัวฉดี ใหม่
4). ก่อนฉดี พน่ สารเคมปี ราบศตั รูพชื ควรแตง่ ตัวใหม้ ดิ ชดิ เพอื่ ปอ้ งกนั การ
สัมผัสละอองยา

สารเคมใี นการเกษตร

5). ขณะฉดี พน่ สารเคมกี าจดั ศตั รพู ชื ควรสวมหน้ากาก หรือใช้
ผา้ ขาวมา้ สะอาดคาดจมกู และปากไว้ควรอยู่เหนอื ลม และหยุดฉีดพน่ เมื่อลมแรง

6). อยา่ สบู บหุ ร่ีหรือรบั ประทานอาหารขณะผสมยาหรือฉดี พ่นยา
7). อยา่ ล้างภาชนะบรรจหุ รืออปุ กรณเ์ ครื่องพน่ ยาลงในแหล่งนา้ และ
อยา่ ท้งิ ยาทีเ่ หลือไว้ในไร่เนือ่ งจากเดก็ หรอื สัตว์เลี้ยงอาจสมั ผสั หรือไดร้ ับอนั ตราย
จากยาเหล่าน้ีได้
8). เม่ือเสรจ็ จากการฉีดพน่ ยาแล้ว ให้เปลย่ี นเสอ้ื ผ้าท่ีใส่นาไปซักและ
อาบนา้ ให้สะอาด
9). เก็บวัตถุมีพษิ ไว้ในภาชนะเดิมเทา่ นน้ั อย่าถ่ายภาชนะโดยเดด็ ขาด
10). เกบ็ วัตถมุ ีพษิ ไว้ในท่ปี ลอดภยั หา่ งจากเดก็ สัตว์เลยี้ ง อาหาร และ
เปลวไฟ

สารเคมีทใี่ ช้ในสานักงาน

1). สารเคมที ีเ่ ปน็ ส่วนผสมในสเปรยป์ รับอากาศ เช่น อะซีโตน
(Acetone) ถ้ารา่ งกายไดร้ ับในปริมาณมากจะมผี ลตอ่ ระบบหายใจ ทาให้หายใจ
ชา้ ลง มึนงงคล้ายคนเมาเหล้า ถ้าไดร้ ับเป็นประจาจะทาใหเ้ กิดผลตอ่ ระบบ
หมนุ เวยี นเลอื ด ทาใหโ้ ลหติ จาง เนื่องจากสารพวกนไ้ี ปขัดขวางการผลิตเม็ดเลอื ด
แดง และทาให้ประสทิ ธิภาพการทางานของระบบตา่ งๆ ในร่างกายต่าลงดว้ ย
นอกจากน้ีในกระป๋องสเปรยป์ รับอากาศยังมีสารฟรอี อน ซงึ่ เป็นสารทท่ี าใหเ้ กิด
แกส๊ ซีเอฟซี (Chloro Fluoro Carbon : CFC) ท่ีไปทาลายโอโซนในช้นั
บรรยากาศอีกดว้ ย

สารเคมที ี่ใชใ้ นสานักงาน

2). สารเคมีที่นามาใช้เป็นสว่ นผสมของน้ายาลบคาผดิ (Liquid Paper)
เช่น เมทลิ ไซโคลเฮกเซนและไซโคลเพนเทน (Methyl Cyclohexane &
Cyclopentane) เปน็ สารเคมที ่ีเป็นอนั ตรายต่อรา่ งกาย ห้ามสูดดมเพราะจะทา
ให้วงิ เวยี นศรี ษะ คลนื่ ไส้ อาเจียน ต้องระวงั อย่าใหเ้ ขา้ ตา จะทาให้เกิดอาการ
ระคายเคืองและอาจทาใหต้ าบอดได้

สารเคมที ีใ่ ชใ้ นสานกั งาน

3). สารเคมที ีอ่ ย่ใู นเครอื่ งถา่ ยเอกสาร ไดแ้ ก่
➤ ผงหมกึ เครอื่ งถ่ายเอกสารท่ัวไปในปจั จบุ นั (ระบบแห้ง) จะใช้ผงหมึก
ประเภทผงคารบ์ อนดาร้อยละ 10 ผสมกับพลาสติกเรซนิ ซง่ึ มอี ันตรายต่อสขุ ภาพ
➤ แกส๊ โอโซน ขณะทเ่ี ครือ่ งถา่ ยเอกสารกาลงั ทางานจะเกดิ แก๊สโอโซนข้ึน เม่ือ
ผใู้ ช้หายใจเข้าไปจะมผี ลต่อระบบประสาท มอี าการง่วง มนึ ศีรษะ ปากคอแห้ง
ระคายระบบทางเดินหายใจระคายตาและผวิ หนัง
➤ น้ายาทอ่ี าบกระดาษทีใ่ ชใ้ นการถา่ ยเอกสาร ได้แก่ สารฟอรม์ าลดีไฮด์ ทาให้
เกิดการระคายเคืองของผวิ หนัง นอกจากนยี้ ังมีสารเคมีอืน่ ๆ ที่อาจพบไดใ้ นเครือ่ ง
ถ่ายเอกสาร เช่น เซเลเนียม แคดเมียมซัลไฟด์ซิงไดออกไซด์

สารเคมีทีใ่ ชใ้ นสานักงาน

4). สารเคมีทเี่ ป็นสว่ นผสมในน้ายาเชด็ กระจก เชน่ เมทานอลหรอื เมทลิ
แอลกอฮอล์เปน็ ส่วนผสมอยู่ในนา้ ยาเช็ดกระจก สารน้จี ะทาปฏกิ ิรยิ ากบั ผวิ หนงั
และเปน็ อันตรายต่อผ้ใู ช้ แต่สามารถทาลายคราบสกปรกตา่ งๆ ได้ดี ถ้า
แอลกอฮอลเ์ ข้าสู่รา่ งกายปริมาณมาก จะทาให้มอี าการปวดศรี ษะ หัวใจเต้นช้า
และมผี ลตอ่ นัยน์ตา ทาให้ตาพรา่ มวั และอาจถงึ ขัน้ ตาบอดได้