นักเรียน ต้อง ทำโครงงาน 1 เรื่อง นักเรียน มีความสนใจ ในเรื่อง อะไรบ้าง ยก ตัวอย่าง มา 5 เรื่อง

ขั้นตอนการทำโครงงานวิทยาศาสตร์

นักเรียน ต้อง ทำโครงงาน 1 เรื่อง นักเรียน มีความสนใจ ในเรื่อง อะไรบ้าง ยก ตัวอย่าง มา 5 เรื่อง
 
นักเรียน ต้อง ทำโครงงาน 1 เรื่อง นักเรียน มีความสนใจ ในเรื่อง อะไรบ้าง ยก ตัวอย่าง มา 5 เรื่อง

3. การจัดทำเค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์                                                     

            การเขียนเค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์นั้นก็เป็นส่วนสำคัญส่วนหนึ่ง ซึ่งเป็นการบ่งบอกว่าหัวข้อเรื่องที่เรา

จะศึกษานั้นเราจะกำหนดวิธีการทดลองหรือดำเนินการไว้อย่างไร  มีขอบเขตการศึกษาทดลองไว้อย่างไร  เพื่อเป็น

แนวทางให้เราปฏิบัติไปตามที่เรากำหนดไว้  จะทำให้งานที่จัดทำสำเร็จไปด้วยดี

            การจัดทำเค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์นั้น  เป็นการจัดขึ้นตามแนวคิดของตนเอง หรือกลุ่มคณะที่ทำงาน

ร่วมกัน  เพื่อนำเสนอให้อาจารย์ที่ปรึกษาได้พิจารณาเพื่อปรับปรุงแก้ไข หรือการอนุมัติให้ดำเนินการได้หรืออนุมัติ

เงินทุนในการสนับสนุนจากงบประมาณของโรงเรียน  ในบางครั้งจะมีหน่วยงานบางหน่วยที่สนับสนุนเงินทุนเพื่อ

การจัดทำ 

            ดังนั้น  การจัดทำเค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์ จำเป็นที่จะต้องมีการเรียนรู้  เพื่อการจัดทำสำหรับในระดับ

นักวิทยาศาสตร์ หรือในมหาวิทยาลัย  ก็มีการให้ทุนอุดหนุนในการทำวิจัย

            จึงสรุปได้ว่า เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์ก็คือ การจัดทำโครงงาน นั่นเอง  กล่าวคือ  การที่เราจะจัดทำ

โครงการใดๆ ขึ้นในโรงเรียนเพื่อของบประมาณสนับสนุน เราจะต้องเขียนโครงการขึ้นมา  มีหลักการและเหตุผล 

วัตถุประสงค์ เป้าหมาย  และขอบเขตของโครงการ  แผนการดำเนินการ  ระยะเวลาดำเนินการ สถานที่ดำเนินการ 

ผลที่คาดว่าจะได้รับ เป็นต้น  การทำเค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์ก็เช่นกัน  มีรูปแบบในการจัดทำคล้าย ๆ กัน

            ในโรงเรียน เค้าโครงงานวิทยาศาสตร์ เป็นการจัดทำขึ้นเพื่อนำเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษา  เพื่อพิจารณารูปแบบ

ขั้นตอนที่จะศึกษา 

รูปแบบการเขียนรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์                                                                             

1. ชื่อโครงงาน                                                                                                                     

            ชื่อเรื่องควรจะเขียนให้กะทัดรัด  มีความชัดเจนในตัวเอง  อ่านแล้วเข้าใจง่ายว่าจะศึกษาอะไรบ้าง เช่น

-    การกำจัดน้ำเสียด้วยสาหร่าย

-    การทำกระดาษจากกาบกล้วย

-     การเปรียบเทียบวัสดุที่ใช้เพาะเลี้ยงไรแดง

            จากตัวอย่างจะเห็นว่าหัวข้อเรื่องเมื่ออ่านแล้วมีความเข้าใจในตัว  มีความเข้าใจว่าจะศึกษาอะไร  อย่างไร 

 แต่ถ้าจะยกตัวอย่างหัวข้อต่อไปนี้  เป็นหัวข้อที่ไม่ดีนัก  เพราะกำหนดขึ้นมาแล้ว  ทำให้ผู้อ่านไม่เข้าใจว่าจะศึกษา

เรื่องใด  อย่างไร  เป็นเพียงดึงดูดความสนใจเท่านั้น  ได้แก่

-    ไทรใครไม่คิด..?

-    ติดไม่ติด

-    ไม้เท้ากายสิทธิ์

2.  สาขาวิชา / ประเภทโครงงาน                                                                                               

            ระบุว่า เป็นสาขาเคมี  ชีววิทยา  ฟิสิกส์  ดาราศาสตร์  เกษตร  คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์  เป็นต้น  หรืออาจจะ

บอกประเภทก็ได้ เช่น การทดลอง  สิงประดิษฐ์  การเก็บรวบรวมข้อมูล  ทฤษฎี  เป็นต้น

3.  คณะนักเรียนที่จัดทำ                                                                                                           

1  ………………............………….. ชั้น…...........………. เลขที่……......……  (หัวหน้ากลุ่ม)

2  ………………............………….. ชั้น…...........………. เลขที่……......……

3  ………………............………….. ชั้น…...........………. เลขที่……......……

4  ………………............………….. ชั้น…...........………. เลขที่……......……

4.  อาจารย์ที่ปรึกษา                                                                                                               

            1 อาจารย์……………………………………........................................…………………..

5. รายละเอียดเกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์                                                                                

5.1 ที่มาและความสำคัญของหัวเรื่อง                                                                                         

            อธิบายว่าเหตุใดจึงทำโครงงานวิทยาศาสตร์ในหัวข้อเรื่องนี้  และโครงงานเรื่องนี้มีที่มาและความสำคัญ

อย่างไร  นักเรียนอาจจะอ้างหลักฐานต่าง ๆ ประกอบ  ซึ่งอาจจะเป็นหลักฐาน  ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องมาประกอบการ

สนับสนุนด้วยก็ได้  หากเป็นเรื่องดัดแปลงมาจากเรื่องอื่นๆ ต้องแสดงความคิดเห็นด้วยว่า ผู้ที่เคยศึกษามาแล้วนั้น

เขาทำอย่างไร  และในส่วนของเรานั้นทำอย่างไร

5.2   จุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ของการศึกษา                                                                           

            เป็นการกำหนดจำเพาะเจาะจงว่าจะศึกษาอะไร  คล้ายๆ กับขอบเขตที่เราจะศึกษา  โดยทั่วไปแล้วไม่ควรจะ

เขียนจุดมุ่งหมายไว้หลายๆ ข้อเกินความจำเป็น  ควรจะมี 1 2 ข้อ  ก็คงเพียงพอ  เพราะว่าเรากำหนดไว้หลายๆ ข้อ

หากเราดำเนินการทดลองจะต้องเป็นไปตามหัวข้อจุดประสงค์ที่เรากำหนดไว้ทุกข้อ  หากทำไม่ครบทุกข้อก็จะทำให้

โครงงานของเราไม่ประสบผลสำเร็จนั่นเอง

5.3  ขอบเขตของการศึกษา                                                                                                      

               เป็นการระบุว่าหัวข้อเรื่องที่เราจะศึกษานี้จะศึกษาในเรื่องใดบ้าง  จะไม่ศึกษาในเรื่องใดบ้าง  ดังนั้นจึง

ต้องระบุขอบเขตไว้เพื่อเป็นข้อตกลงร่วมกันว่าจะทำเพียงแค่ที่กำหนดไว้เท่านั้น  ขอบเขตนี้  โดยทั่วไปจะสอดคล้องกับ

จุดมุ่งหมาย  เพียงแต่เป็นการนำจุดมุ่งหมายมาขยายความนั่นเอง

5.4  สมมติฐานของการศึกษา ( ถ้ามี )                                                                                         

            เป็นการคาดคะเนการทดลองของเราที่คาดว่าน่าจะมีผลเป็นอย่างนั้น  เป็นอย่างนี้ไว้ล่วงหน้า  สมมติฐานที่

กำหนดขึ้นมาควรจะมีเหตุมีผล  คือ มีหลักการ  ทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์มารองรับ และเป็นข้อความที่กำหนดแนวทาง

ให้เราได้ศึกษาทดลองเพื่อการพิสูจน์

5.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ                                                                                                 

            ให้กำหนดเป็นข้อ ๆ  ว่าเรื่องที่เราจะศึกษานี้สามารถประยุกต์  หรือนำไปใช้ประโยชน์ในด้านใดได้บ้าง  เช่น

เป็นประโยชน์ด้านการเกษตรต่อเกษตรกร  ในด้านการศึกษาเป็นเครื่องมือหรือแนวทางในการนำไปใช้ในบทเรียนที่

กำลังเรียน  หรือในด้านสิ่งแวดล้อม เป็นต้น

5.6  หลักฐานเอกสารที่เกี่ยวข้อง                                                                                                

            ให้ระบุว่าหัวข้อเรื่องนี้  นักเรียนได้แนวคิดมาจากหนังสือ  เอกสาร  วารสาร  ในเล่มใด  มีข้อความว่าอย่างไร 

พร้อมกับเขียนบรรณานุกรมของเอกสาร  ไว้เป็นหลักฐานด้วย

5.7  วิธีดำเนินการศึกษาค้นคว้า                                                                                                 

             เป็นการกำหนดขั้นตอนที่เราจะศึกษาทดลอง  โดยกำหนดวิธีการทดลอง  ตามวัตถุประสงค์และขอบเขตของ

การศึกษา  ที่กำหนดไว้ทุกประการ  ให้ระบุถึงวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยว่าจะเก็บอย่างไร  เช่น  เขียนบรรยายข้อมูล

ที่ได้จาการสังเกต  จัดทำรูปแบบ ( ตัวอย่าง )  การเก็บข้อมูลเป็นรูปตาราง  การกำหนดตัวเลข  มีหน่วยวัด  แปลข้อมูล

เป็นกราฟต่าง ๆ ด้วย หรืออาจเก็บข้อมูลโดยการถ่ายภาพ  วาดภาพ  เป็นต้น

5.8 ระยะเวลาและแผนการดำเนินการทำ                                                                                      

            กากำหนดระยะเวลาในการศึกษา  ทดลองเป็นเรื่องสำคัญมาก  กล่าวคือ  เป็นการระบุว่าจะดำเนินการได้ใน

ช่วงเวลาหรือเดือนอะไร  โดยเฉพาะการศึกษาด้านการเกษตร  เกี่ยวกับแมลงซึ่งต้องกำหนดไปตามฤดูกาลที่พบ 

ที่ระบาด  ที่จะศึกษาได้  ถ้าไม่จำเป็นเกี่ยวกับการกำหนดช่วงเวลาก็ควรจะมีเป้าหมายว่า  จะมีการกำหนดเดือนหรือ

วันที่  ที่เราจะศึกษาเป็นช่วงๆ เป็นตอนๆ การกำหนดเช่นนี้  เพื่อให้เราได้มีโอกาสศึกษาที่เป็นไปตามแผนกำหนดการ 

 ทำให้งานที่ทำสำเร็จไปด้วยดี นั่นเอง

5.9  สถานที่โครงงานวิทยาศาสตร์                                                                                            

            ระบุว่า โครงงานวิทยาศาสตร์นี้ทำในห้องปฏิบัติการทดลองในโรงเรียน  หรือทำนอกสถานศึกษา  เช่น โรงงาน

อุตสาหกรรม  โรงพยาบาล  ศูนย์วิจัยที่อยู่ใกล้โรงเรียน  หรือสถานที่เก็บข้อมูล ( ภาคสนาม ) ในกรณีที่เป็นโครงงาน

ประเภทสำรวจรวบรวมข้อมูล

5.10  วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการศึกษาทดลอง                                                                                  

            การกำหนดวัสดุอุปกรณ์  เป็นการกำหนดคร่าว ๆ ก่อน  ซึ่งอาจจะแยกเป็นประเภท เช่น  ประเภทวัสดุถาวร 

สารเคมี อุปกรณ์การทดลองที่เป็นส่วนประกอบของเครื่องมือ  อุปกรณ์ที่มีในห้องปฏิบัติการ  อุปกรณ์ที่ต้องจัดซื้อ 

จัดหา  อุปกรณ์ที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล  เช่น  กล้องถ่ายรูป  ฟิล์ม  เป็นต้น    

5.11 งบประมาณในการทำ                                                                                                      

            ให้ระบุงบประมาณที่จะใช้วัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ตามข้อ 5.10 โดยระบุเฉพาะที่จะต้อง จัดซื้อ  พร้อมกับรวม

ยอดเงินงบประมาณด้วยว่าควรจะใช้จ่ายสำหรับการทำโครงงานนี้เป็นเงินเท่าใด

5.12  คำชี้แจงเพิ่มเติม ( ถ้ามี )                                                                                                 

5.13  ลงชื่อนักเรียนเจ้าของโครงงาน                                                                                         

นักเรียน ต้อง ทำโครงงาน 1 เรื่อง นักเรียน มีความสนใจ ในเรื่อง อะไรบ้าง ยก ตัวอย่าง มา 5 เรื่อง

                         ตัวอย่างรูปแบบเค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์                          

1. ชื่อโครงงาน ................................................................................................

2. สาขาวิชา / ประเภทโครงงาน ......................................................................

3.  ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ...............................................................................

4.  คณะนักเรียนที่จัดทำ

1  ...................................................ชั้น................เลขที่............. (หัวหน้ากลุ่ม)

2  ...................................................ชั้น................เลขที่.............

3  ...................................................ชั้น................เลขที่............. 

4  ...................................................ชั้น................เลขที่............. 

5.  อาจารย์ที่ปรึกษา

1.........................................................................................................

6. บทคัดย่อ ( เรื่องที่จะดำเนินการทำ  )

.....................................................................................................................

.....................................................................................................................

.....................................................................................................................

.....................................................................................................................

7.  จุดมุ่งหมายของการศึกษา

1.........................................................................................................

2.........................................................................................................

8. สมมุติฐาน

1.........................................................................................................

2.........................................................................................................

9.   แนวคิด  ที่มา  และความสำคัญ

.....................................................................................................................

.....................................................................................................................

.....................................................................................................................

.....................................................................................................................

10. หลักการและทฤษฎี  หรือข้อมูลที่เกี่ยวข้อง

.....................................................................................................................

.....................................................................................................................

.....................................................................................................................

.....................................................................................................................

      ชื่อหนังสือเอกสารอ้างอิง

.....................................................................................................................

.....................................................................................................................

.....................................................................................................................

.....................................................................................................................

11. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับของโครงงานนี้

     .....................................................................................................................

.....................................................................................................................

.....................................................................................................................

.....................................................................................................................

.....................................................................................................................

12.  อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลอง

.....................................................................................................................

.....................................................................................................................

.....................................................................................................................

.....................................................................................................................

13.  งบประมาณที่ใช้ในการทดลอง

.....................................................................................................................

.....................................................................................................................

.....................................................................................................................

.....................................................................................................................

14.  การกำหนดตัวแปรที่จะศึกษา

ตัวแปรต้น  ( ตัวแปรอิสระ ) ได้แก่ .........................................................

ตัวแปรตาม  ได้แก่ ................................................................................

ตัวแปรควบคุม  ได้แก่ ...........................................................................

15.  วิธีการดำเนินการทดลอง  และวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล

.....................................................................................................................

.....................................................................................................................

.....................................................................................................................

.....................................................................................................................

16.  การวางแผนระยะเวลาทดลอง

.....................................................................................................................

.....................................................................................................................

.....................................................................................................................

.....................................................................................................................

ลงชื่อ...............................................................

( ...................................................................... )

หัวหน้ากลุ่ม

นักเรียน ต้อง ทำโครงงาน 1 เรื่อง นักเรียน มีความสนใจ ในเรื่อง อะไรบ้าง ยก ตัวอย่าง มา 5 เรื่อง

นักเรียน ต้อง ทำโครงงาน 1 เรื่อง นักเรียน มีความสนใจ ในเรื่อง อะไรบ้าง ยก ตัวอย่าง มา 5 เรื่อง

โครงงานต้องมีอะไรบ้าง

1. ชื่อโครงงาน ชื่อโครงงานเป็นสิ่งสำคัญประการแรก เพราะชื่อโครงการจะช่วยโยงความคิดไปถึง ... .
2. ผู้จัดทำโครงงาน ... .
3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ... .
4. ที่มาและความสำคัญของโครงงาน ... .
5. วัตถุประสงค์ของการทำโครงงาน ... .
6. สมมติฐานของการศึกษา ... .
7. ขอบเขตของการทำโครงงาน ... .
8. วิธีดำเนินการ.

ทำโครงงานเกี่ยวกับอะไรดี

1. ให้สังเกตสิ่งแวดล้อมใกล้ตัวที่เป็นปัญหา ... .
2. ให้สำรวจปัญหาที่เกิดจากอาชีพในท้องถิ่น ... .
3. สำรวจปัญหาของอาชีพเสริม ... .
4. สำรวจความเชื่อของคนในท้องถิ่น ... .
5. ศึกษาค้นคว้าจากหนังสือ ตำราทางวิทยาศาสตร์ หรือหนังสือพิมพ์ ... .
6. ชม ฟัง รายการวิทยุ หรือโทรทัศน์ ... .
7. ศึกษาจากนิทรรศการ หรือโครงงานของผู้อื่น ... .
8. สนทนาแลกเปลี่ยนความรู้จากผู้รู้.

สิ่งที่ควรทำเป็นอันดับแรกในการทำโครงงาน คือทำอย่างไร

ลำดับขั้นตอนในการทำโครงงานวิทยาศาสตร์.
สำรวจ และตัดสินใจเลือกเรื่องที่จะทำโครงงาน.
ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่จะทำจากเอกสาร และแหล่งข้อมูลต่าง ๆ.
วางแผนการทดลอง การใช้วัสดุอุปกรณ์ และระยะเวลาในการดำเนินงาน.
เขียนเค้าโครงของโครงงานวิทยาศาสตร์.
ลงมือศึกษาทดลอง วิเคราะห์ข้อมูล และสรุปผล.

ทำไมถึงต้องทำโครงงาน

1. เพื่อให้ผู้เรียนได้ได้ท าการทดลองและพิสูจน์สิ่งต่าง ๆ ตามความถนัดและความสนใจ 2. เพื่อรู้จักการวางแผนท างานอย่างเป็นระบบ 3. เพื่อฝึกการเป็นผู้น าและผู้ตามที่ดี 4. เพื่อฝึกวิเคราะห์ และประเมินตนเอง ได้รับประสบการณ์ตรง 5. เพื่อพัฒนาและได้แสดงออกซึ่งความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 6. เพื่อศึกษา ค้นคว้า และแก้ปัญหาจากการท างาน ...