หุ้น มา จาก ภาษา อะไร

ทุกวันนี้

การลงทุนในหุ้น

เริ่มแพร่หลายมากยิ่งขึ้น และไม่ได้จำกัดอยู่ในวงนักเล่นหุ้นเหมือนอย่างสมัยก่อนอีกแล้ว คนทำงานประจำมากมายตบเท้าเข้าสู่ตลาดหุ้นด้วยการเก็บเกี่ยวข้อมูลความรู้จากแหล่งต่าง ๆ ทั้งจากตำราและอินเทอร์เน็ตจนสามารถเป็นผู้ลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ได้ไม่ยากนัก

แต่ ณ ตอนนี้ หากคุณคือคนหนึ่งที่กำลังจะเป็นหน้าใหม่ในตลาดหุ้นล่ะก็ เราขอแนะนำคำศัพท์ 10 คำ ที่

นักเล่นหุ้น

จะต้องพบเจออยู่บ่อย ๆ มาทำความรู้จักและทำความเข้าใจ เพื่อการลงทุนในตลาดหุ้นจะเป็นไปอย่างราบรื่นและงอกเงยเป็นผลตอบแทนที่คุ้มค่า

1. Capital Gain

กำไรส่วนต่างของราคาในการซื้อขายหลักทรัพย์ ซึ่งถ้าหากคุณเลือกเป็นนักลงทุนประเภท Technical ข้อมูลส่วนนี้คือข้อมูลที่สำคัญ

2. Yield

ผลตอบแทนที่ไม่ใช่ดอกเบี้ย

3. VI – Value Investment

หากรูปแบบการลงทุนของคุณเลือกหุ้นพื้นฐานดี เน้นถือครองเป็นเวลานาน นั่นหมายความว่าคุณจัดอยู่ในกลุ่มนักลงทุนประเภท VI ที่จะเข้าซื้อหุ้นในช่วงที่ราคาไม่สูงมาก และไม่หวังส่วนต่างกำไรจากการถือหุ้นในระยะสั้น ๆ

4. Fundamental

พื้นฐานของหุ้น ซึ่งเป็นข้อมูลแบบหนึ่งที่นักลงทุนประเภท VI นำไปใช้วิเคราะห์หุ้นแต่ละตัวที่สนใจ

5. Uptrend Downtrend

หุ้นในช่วงขาขึ้น และ หุ้นในช่วงขาลง

6. ATO – At the Open / ATC – At the Close

คำสั่ง

ซื้อขายหลักทรัพย์

ณ ราคาเปิดตลาด และ คำสั่งซื้อขายหลักทรัพย์ ณ ราคาปิดตลาด ซึ่งจะใช้ก็ต่อเมื่อผู้ลงทุนต้องการซื้อหรือขายหลักทรัพย์ ณ เวลาที่เปิด หรือ ปิดตลาดเท่านั้น

7. Ceiling / Floor

ราคาเสนอซื้อเสนอขายที่สูงสุดและต่ำสุดของตลาดหลักทรัพย์

8. Circuit Breaker

มาตรการที่ตลาดหลักทรัพย์นำมาใช้เพื่อหยุดการซื้อขายชั่วคราวในบางกรณี เช่น การซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ลดต่ำลงจนมีความผิดปกติ เปิดโอกาสให้นักลงทุนได้ตรวจสอบข้อมูลและข่าวสารต่าง ๆ ก่อนจะกลับมาเปิดให้ซื้อขายอีกครั้ง

9. Dividend Yield

อัตราผลตอบแทนจาก

เงินปันผล

คือ รายได้ต่อปีจากเงินปันผล หรือดอกเบี้ยรับที่คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ โดยเทียบกับราคาที่ลงทุน

10. EPS (Earning per Share)

กำไรต่อหุ้น ซึ่งมาจากผลกำไรของบริษัทหารด้วยจำนวนหุ้นทั้งหมดที่เรียกชำระแล้ว

หุ้น มา จาก ภาษา อะไร

จริง ๆ แล้วสำหรับผู้ลงทุนหน้าใหม่ เวทีตลาดหลักทรัพย์ยังมีเรื่องที่ต้องทำความเข้าใจอีกมาก ซึ่ง Krungsri GURU ย้ำอยู่เสมอว่านักลงทุนควรให้น้ำหนักไปที่

การออมเงิน

และเงินปันผล มากกว่าการเล่นหุ้นเพื่อเก็งกำไร และทุกการลงทุนนั้นควรเกิดขึ้นอย่างรอบคอบ รวมถึงไตร่ตรองอย่างมีข้อมูลและหลักการด้วยนะครับ
 

ภาพรวมองค์กร

ความเป็นมาและบทบาท

ตลาดทุนไทยยุคใหม่มีจุดเริ่มต้นจากการประกาศใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2504 - 2509)
เพื่อรองรับการเติบโตและส่งเสริมความมั่นคงทางเศรษฐกิจและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ต่อมา แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2510 - 2514)
ได้เสนอให้มีการจัดตั้ง ตลาดหลักทรัพย์ที่มีระบบระเบียบขึ้นเป็นครั้งแรก

ตลาดทุนไทยยุคใหม่มีจุดเริ่มต้นจากการประกาศใช้แผน
พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 1
(พ.ศ. 2504 - 2509)เพื่อรองรับการเติบโต
และส่งเสริมความมั่นคงทางเศรษฐกิจ
และพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน
ต่อมาแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 2
(พ.ศ. 2510 - 2514)ได้เสนอให้มีการจัดตั้ง
ตลาดหลักทรัพย์ที่มีระบบระเบียบขึ้นเป็นครั้งแรก

“โดยเน้นให้มีบทบาทสำคัญในการเป็นแหล่งระดมเงินทุน 
เพื่อสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมของประเทศ” 

พัฒนาการของตลาดทุนของไทยในยุคใหม่นั้น สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ยุค
เริ่มจาก "ตลาดหุ้นกรุงเทพ" (Bangkok Stock Exchange)
ซึ่งเป็นองค์กรเอกชน และต่อมาเป็น "ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย"
ภายใต้ชื่อภาษาอังกฤษว่า "The Securities Exchange of Thailand"

พัฒนาการของตลาดทุนของไทยในยุคใหม่นั้น
สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ยุค
เริ่มจาก "ตลาดหุ้นกรุงเทพ"
(Bangkok Stock Exchange)
ซึ่งเป็นองค์กรเอกชน และต่อมาเป็น
"ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย"
ภายใต้ชื่อภาษาอังกฤษว่า
"The Securities Exchange of Thailand"

2505
การจัดตั้งตลาดหุ้นกรุงเทพ

หุ้น มา จาก ภาษา อะไร

การจัดตั้งตลาดหุ้นของไทยเริ่มขึ้นในเดือนกรกฎาคม พ.ศ.2505 ในรูปห้างหุ้นส่วน จำกัด โดยในปีต่อมาได้จดทะเบียนเป็นบริษัทจำกัดและเปลี่ยนชื่อเป็น "ตลาดหุ้นกรุงเทพ" (Bangkok Stock Exchange)

ถึงแม้ว่าจะมีพื้นฐานในการจัดตั้งที่ดีการซื้อขายหุ้นในตลาดหุ้นกรุงเทพก็ ไม่ได้รับความสนใจมากนัก มูลค่าการซื้อขายมีเพียง 160 ล้านบาทในปี พ.ศ.2511 และ 114 ล้านบาทในปี พ.ศ.2512 การซื้อขายมีปริมาณลดลงเป็น 46 ล้านบาทในปี พ.ศ.2513 และลดลงเหลือ 28 ล้านบาทในปี พ.ศ.2514 การซื้อขายหุ้นกู้มีมูลค่าถึง 87 ล้านบาทในปี พ.ศ.2515 แต่การซื้อขายหุ้นก็ยังคงไม่เป็นที่สนใจ โดยมูลค่าการ ซื้อขายหุ้นที่ต่ำสุดมีเพียง 26 ล้านบาทเท่านั้นและในที่สุดตลาดหุ้นกรุงเทพก็ต้องปิด กิจการลงเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่าตลาดหุ้นกรุงเทพไม่ประสบความสำเร็จเท่า ที่ควร เนื่องจากขาดการสนับสนุนจากภาครัฐ ประกอบกับประชาชนยังขาดความรู้ ความเข้าใจที่เพียงพอในเรื่องตลาดทุน

2510-2514
การเสนอแผนการจัดตั้งตลาดทุน 

ถึงแม้ว่าตลาดหุ้นกรุงเทพจะไม่ประสบความสำเร็จ แต่แนวความคิดเกี่ยวกับ การจัดตั้ง ตลาดหลักทรัพย์ที่มีระบบระเบียบและได้รับการสนับสนุนอย่างเป็น ทางการนั้นได้รับ ความสนใจจากประชาชนเป็นอย่างมาก ดังนั้นแผนพัฒนา เศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2510 - 2514) จึงได้เสนอแผน การจัดตั้งตลาดทุนดังกล่าวขึ้นเป็นครั้งแรกโดยให้มีเครื่องมืออำนวยความ สะดวกและมาตรการ สำหรับการซื้อขายหลักทรัพย์ที่เหมาะสม ในปี พ.ศ. 2512 รัฐบาลได้ทำการว่าจ้าง ศาสตราจารย์ซิดนีย์ เอ็ม รอบบิ้นส์ ศาสตราจารย์ ประจำภาควิชาการเงิน จากมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย สหรัฐอเมริกา เพื่อมาทำการศึกษาช่องทางการพัฒนาตลาดทุนไทยในเวลาต่อมา

2510-2514
การเสนอแผนการจัดตั้งตลาดทุน 

2517
การประกาศใช้ พ.ร.บ.
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

หุ้น มา จาก ภาษา อะไร

2517
การประกาศใช้ พ.ร.บ.
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

ในปี พ.ศ. 2515 รัฐบาลได้เข้ามามีบทบาทโดยการแก้ไข "ประกาศคณะปฏิวัติ ที่ 58 เกี่ยวกับการควบคุมธุรกิจ การค้าที่มีผลกระทบต่อความปลอดภัยและความเป็นอยู่ ของประชาชน" การแก้ไขดังกล่าวส่งผลให้รัฐบาลสามารถกำกับดูแลการดำเนินงาน ของบริษัทเงินทุนและหลักทรัพย์ ซึ่งทำให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างมีระเบียบ และยุติธรรม หลังจากนั้นในปี พ.ศ. 2517 ได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย พ.ศ. 2517 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อจะจัดให้มีแหล่ง กลางสำหรับการซื้อขายหลักทรัพย์เพื่อส่งเสริมการออมทรัพย์และการระดมเงินทุน ในประเทศ ตามมาด้วยการแก้ไขบทบัญญัติเกี่ยวกับรายได้เพื่อให้สามารถนำเงินออม มาลงทุนในตลาดทุนได้ ในปี พ.ศ. 2518

2518
การเปิดทำการซื้อขายอย่างเป็นทางการครั้งแรก
รูปแบบทางกฎหมายต่างๆ ได้รับการปรับแก้จนลงตัว และใน วันที่ 30 เมษายน พ.ศ.2518 ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ชื่อภาษาอังกฤษในขณะนั้นคือ The Securities Exchange of Thailand) ได้เปิดทำการซื้อขายขึ้นอย่างเป็นทางการครั้งแรก และได้ทำการเปลี่ยนชื่อภาษาอังกฤษเป็น "The Stock Exchange of Thailand" (SET) เมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2534

หุ้น มา จาก ภาษา อะไร

2526
ย้ายที่ทำการมายังอาคารสินธร ถ.วิทยุ

หุ้น มา จาก ภาษา อะไร

2526
ย้ายที่ทำการมายังอาคารสินธร ถ.วิทยุ

2541
ย้ายมายังอาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ถ. รัชดาภิเษก เขตคลองเตย 

หุ้น มา จาก ภาษา อะไร

2559
เปิดอาคารสำนักงานแห่งใหม่
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
พิธีเปิดอาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยแห่งใหม่ ถ. รัชดาภิเษก เขตดินแดง โดย สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินเป็นประธานในพิธีเปิดอาคารฯ เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2559
รายละเอียดเพิ่มเติม

หุ้น มา จาก ภาษา อะไร

2559
เปิดอาคารสำนักงานแห่งใหม่
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
พิธีเปิดอาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยแห่งใหม่ ถ. รัชดาภิเษก เขตดินแดง โดย สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินเป็นประธานในพิธีเปิดอาคารฯ เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2559
รายละเอียดเพิ่มเติม

บทบาทตลาดหลักทรัพย์
ตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ตลาดหลักทรัพย์มีบทบาทสำคัญ ดังนี้

01
หุ้น มา จาก ภาษา อะไร

ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางการซื้อขายหลักทรัพย์ จดทะเบียน และพัฒนา ระบบต่างๆ ที่จำเป็น เพื่ออำนวยความสะดวกในการซื้อขายหลักทรัพย์

02
หุ้น มา จาก ภาษา อะไร

ดำเนินธุรกิจใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับการซื้อขาย หลักทรัพย์ เช่น การทำหน้าที่เป็นสำนัก หักบัญชี (Clearing House) ศูนย์รับฝาก หลักทรัพย์ นายทะเบียน หลักทรัพย์หรือ
กิจกรรมอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

03
หุ้น มา จาก ภาษา อะไร

การดำเนินธุรกิจอื่น ๆ ที่ได้รับความ เห็นชอบจากคณะกรรมการกำกับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

ที่มาของตราสัญลักษณ์ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

หุ้น มา จาก ภาษา อะไร

หุ้น มา จาก ภาษา อะไร

หุ้น มา จาก ภาษา อะไร
   ตราประจำตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ได้รับการออกแบบในปี 2518 มี 2 ส่วนประกอบกันเป็นวงกลม โดยส่วนบนเป็นสีทองและส่วนล่างเป็นสีดำซึ่งมีลายสลักรูปปลาคู่ที่มีลักษณะว่ายเวียนหนึ่งหัวจรดหนึ่งหาง ว่ายวนกันต่อเนื่องไม่สิ้นสุด 

สอดคล้องกับหลักธรรมในลัทธิเต๋า ที่กล่าวถึงความสมดุลของสองสิ่ง ที่เป็นทั้งคู่และสิ่งที่ตรงข้ามกัน คือ หยิน กับ หยาง เปรียบเสมือนสตรีกับบุรุษความมืดกับความสว่าง อันอาจอุปมาได้ถึงสัจธรรมของการซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ ที่มีอุปสงค์และอุปทาน มีผลตอบแทนและความเสี่ยงมีความคึกคักและซบเซา เป็นสองสิ่งที่ท้าทายผู้ลงทุนเสมอมาทุกยุคทุกสมัย 

หุ้น มา จาก ภาษา อะไร


หุ้น มา จาก ภาษา อะไร

นายศุกรีย์ แก้วเจริญ กรรมการและผู้จัดการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยคนแรก 
ดำรงตำแหน่ง 20 ธันวาคม 2517–29 มิถุนายน 2521