การ เลือก Time zone ให้เป็น ของ ไทย จะ เลือก แหล่ง ใด

สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ ในฐานะผู้รับผิดชอบในการสร้างและรักษาวินาทีมาตรฐานของประเทศไทย ตามพระราชบัญญัติพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ พ.ศ. 2540 และเป็นผู้รับผิดชอบส่งสัญญาณเวลา (Time Signal) ที่เกิดจากการสร้างวินาทีมาตรฐานไปยังหน่วยงานกลางระหว่างประเทศ เพื่อร่วมกำหนดมาตราเวลาพิกัดสากล UTC (Coordinate Universal Time) ร่วมกับสถาบันมาตรวิทยาและหน่วยงานด้านเวลาของประเทศอื่นๆ จึงได้สถาปนาหน่วยวัดด้านเวลามาตรฐานประเทศไทย (Stratum 0) โดยการใช้นาฬิกา (Cesium Clock) ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานานชาติและประเทศต่างๆ ทั่วโลก ใช้คำนวณเป็นเวลาอ้างอิงระหว่างประเทศ (International Atomic Time: TAI) รวมทั้งเวลามาตรฐาน ณ ตำแหน่งต่างๆ บนพื้นโลก หรือมาตราเวลาพิกัดสากล UTC (Coordinated Universal Time) ตามข้อกำหนดของสำนักงานชั่วและวัดระหว่างประเทศ (Bureau International des Poids et Measures: BIPM) ซึ่งเป็นหน่วยงานที่ดูแลด้านเวลามาตรฐานระหว่างประเทศ

มาตราเวลาพิกัดสากล UTC นี้ ได้รับการยอมรับร่วมกันให้เป็นมาตราเวลาระหว่างประเทศ โดยที่เวลามาตรฐานของประเทศต่างๆ จะได้จากการบวกเวลาตามมาตราเวลาพิกัดสากล UTC กับค่าประจำ Time Zone ที่ประเทศนั้นตั้งอยู่ เช่น ประเทศไทย ตั้งอยู่ใน Time Zone ที่ +7 ดังนั้น เวลามาตรฐานของประเทศไทย จึงเป็นเวลา UTC+7 ชั่วโมง

นอกจากนี้ ในปัจจุบันสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ ยังให้บริการการถ่ายทอดสัญญาณเวลามาตรฐานประเทศไทยผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เพื่อเป็นทางเลือกหนึ่งให้ประชาชนและหน่วยงานต่างๆ สามารถตั้งเวลาเครื่องคอมพิวเตอร์ให้ตรงกับเวลามาตรฐานประเทศด้วย

ทั้งนี้สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติได้จัดตั้ง Time Server เพื่อให้บริการปรับเทียบเวลาขึ้นได้แก่ time1.nimt.or.th, time2.nimt.or.th และ time3.nimt.or.th โดยไม่มีค่าใช้จ่ายแต่อย่างใด

เลยมีการกำหนดเขตเวลา (Time Zone) มาตรฐานขึ้นมา เพื่อให้คนทั่วโลก ระบบต่าง ๆ ทั่วโลกเข้าใจตรงกันว่า ถ้าพูดถึงวัน/เวลาเท่านี้ในประเทศนึง จะมีค่าเท่ากับเท่าไหร่ในประเทศอื่น ๆ

การ เลือก Time zone ให้เป็น ของ ไทย จะ เลือก แหล่ง ใด

Image from https://cdn.britannica.com/06/64906-050-675D6688/meridians-Facts-Lines-of-Longitude-angles-halves.jpg

การกำหนดเขตเวลาจะใช้เส้นลองจิจูด หรือเส้นแนวตั้ง ช่วยกำหนดเป็นหลัก

ทั่วโลกเรามีเส้นลองจิจูด 360 เส้น (360 องศา)

ถ้าผ่าตรงกลางโลก

  • จะอยู่ซีกซ้าย 180 เส้น (-180 องศา)
  • และซีกขวาอีก 180 เส้น (+180 องศา)

โดยเราถือว่าตรงกลางของโลก หรือลองจิจูดที่ 0 ผ่ากลาง กรีนิช ลอนดอน สหราชอาณาจักร (ประเทศอังกฤษ)

กลับมาที่เขตเวลา

พอเราเข้าใจเรื่องลองจิจูดแล้ว
ทีนี้เค้าก็ใช้ประโยชน์จากลองจิจูด ในการช่วยกำหนดเรื่องเขตเวลา คือ

เค้ากำหนดให้ กรีนิช ลอนดอน สหราชอาณาจักร คือเวลาที่ 0
ซึ่ง เราอาจจะคุ้น ๆ กันกับคำว่า UTC (Universal Time Coordinated) หรือ UTC 0

จากนั้น เค้าก็กำหนดอีกว่า
ให้ทุก ๆ ลองจิจูดที่เพิ่มขึ้น 15 องศา หรือ 15 เส้น (ทั้งซ้าย และขวา) จากลองจิจูดที่ 0
จะถูกบวกหรือลบเวลาเพิ่มเข้าไปครั้งละ 1 ชั่วโมง

วิธีคิด

ทุก ๆ 15 องศาเวลาจะเปลี่ยนไป 1 ชั่วโมง เพราะ
โลกเราเป็นทรงกลม
โลกหมุนรอบตัวเอง 1 รอบ เท่ากับ 1 วัน คือ 24 ชั่วโมง
การที่โลกหมุนรอบตัวเอง 1 รอบ มีค่าเท่ากับ 360 องศา 

เลยเป็นที่มาว่า

360 องศา / 24 ชั่วโมง = 15 องศา/ชั่วโมง นั่นเอง

ทำให้ในโลกนี้มีเขตเวลาเป็น

  • UTC (กรีนิช ลอนดอน สหราชอาณาจักร)
  • UTC-1 ไปจนถึง UTC-12 และ
  • UTC+1 ไปจนถึง UTC+14

โดยเขตเวลาประเทศไทยจะเท่ากับ UTC+7
เพราะลองจิจูดของไทยตั้งอยู่ที่ประมาณ +100 องศา
พอเราลองเอา 100/15 ~= 6.66667 หรือ +7 ชั่วโมงนั่นเอง

สมมติว่า

เวลาที่ กรีนิช ลอนดอน สหราชอาณาจักร หรือ เวลา UTC คือ 12:00 น. (คิดแบบ 24 ชั่วโมง)

เวลาในประเทศไทยซึ่งเป็น UTC+7 (ณ เวลาเดียวกัน) จะเท่ากับ 12:00 น. บวกไปอีก 7 ชั่วโมง ซึ่งก็คือ 19:00 น. นั่นเอง

แต่เค้าก็มีข้อยกเว้นนิดนึง ว่า
ไม่ใช่ว่าจะต้องใช้ลองจิจูดกำหนดเขตเวลาตายตัวขนาดนั้น
เพราะแต่ละประเทศในโลกมันมีรูปร่างไม่เหมือนกัน
บางประเทศอาจจะควบเวลาไป 2 - 3 เขตเวลา

ก็เลยเป็นดังรูปด้านล่าง (ที่เส้นเขตเวลาสีแดงมันไม่ตรง) ที่เราจะเห็นว่าบางประเทศเค้าก็ยุบรวมหรือใช้เขตเวลาเดียว แทนการใช้หลายเขตเวลา

หรือบางประเทศเค้าก็มีการกำหนดไปเลยว่ารัฐนี้ เมืองนี้ใช้เขตเวลานี้น่ะ ทั้ง ๆ ที่มันอาจจะไม่ได้อยู่ในลองจิจูดที่กำหนด เพื่อที่คนในประเทศจะได้ไม่สับสนกัน

การ เลือก Time zone ให้เป็น ของ ไทย จะ เลือก แหล่ง ใด

Image from https://www.wikiwand.com/th/เขตเวลา

ทีนี้การที่จะให้คนจำเขตเวลาเป็น UTC-1, UTC+1, UTC+2, UTC+3, .... มันจำยาก

เพื่อความสะดวกสบายมากขึ้น เค้าได้มีการตั้งชื่อเขตเวลาขึ้นมา สำหรับแต่ละประเทศแต่ละเมือง เพื่อให้คนจำได้ง่ายขึ้น

เช่น ประเทศไทย แทนที่เราจะต้องจำเป็น UTC+7 เราก็สามารถจำเป็น Asia/Bangkok แทนได้ ซึ่งก็มีค่าเท่ากับ UTC+7 นั่นเอง

รายชื่อเขตเวลา (Time Zone) ทั้งหมดในโลก

สามารถดูได้จาก

เพราะเรื่องเขตเวลา (Time Zone) เป็นพื้นฐานในการเขียนโปรแกรม และการ Setup ระบบอย่างนึง

ถ้าเราเขียนโปรแกรมถูก แต่ดัน Set เขตเวลา (Time Zone) ไม่ถูก ก็อาจจะทำให้ระบบแสดงผล ประมวลผลเรื่องวัน/เวลาไม่ถูกต้องก็เป็นได้ ซึ่งมันจะเป็นปัญหาเล็ก ๆ ที่ดูจะปวดหัวมาก เมื่อต้องมาตามแก้ไขในภายหลัง

หลังจากที่ติดตั้ง windows เสร็จจะเห็นว่าเวลาหรือนาฬิกาไม่ตรงกับประเทศไทย ดังนั้นเราต้องทำการตั้งค่า Time Zone ให้เป็นโซนของประเทศไทย ซึ่งโซนเวลาที่ไทยใช้ก็คือ “(UTC+07:00) Bangkok, Hanoi, Jakarta” มาดูขั้นตอนกันครับ ว่าเข้าไปตั้งค่าตรงไหน

การ เลือก Time zone ให้เป็น ของ ไทย จะ เลือก แหล่ง ใด

  1. ที่มุมขวาด้านล่างจอของเราครับ จะเห็นวันที่และเวลา ให้เราคลิกที่วันที่และเวลาตรงนั้นเลยครับ และ คลิกเลือก Change date and time settings

การ เลือก Time zone ให้เป็น ของ ไทย จะ เลือก แหล่ง ใด

ADVERTISEMENT

  1. จากนั้นจะได้หน้าต่าง Date and Time คลิกที่ปุ่ม Change time zone

การ เลือก Time zone ให้เป็น ของ ไทย จะ เลือก แหล่ง ใด

  1. เลือก (UTC+07:00) Bangkok, Hanoi, Jakarta แล้วคลิก Ok

การ เลือก Time zone ให้เป็น ของ ไทย จะ เลือก แหล่ง ใด

  • ตามด้วยคลิกปุ่ม Ok เพื่อปิดหน้าต่าง ตรวจสอบดูเวลาว่าตรงกับปัจจุบันไหม เท่านี้ก็เรียบร้อยครับ

Tags: windows 7windows 8Windows 8.1

เขตเวลาแบ่งออกเป็นกี่โซน

ก าหนดให้แบ่งพื้นที่มาตรฐานของโลก ออกเป็น 24 โซน โดยใช้เส้นที่ลากจากขั้วโลก เหนือ ไปยังขั้วโลกใต้เป็นเส้นแบ่ง โดยแต่ละโซนมีความกว้าง 15 องศา และให้ จุดเริ่มต้นหลัก (Prime Meridian) เป็นเส้นเมอริเดียน หรือลองติจูดที่ผ่านเมือง Greenwichประเทศอังกฤษ

UTC คือกี่โมงไทย

กรุงเทพ ประเทศไทย (UTC +7) - เวลาท้องถิ่น 17:00. โตเกียว ประเทศญี่ปุ่น (UTC +9) - เวลาท้องถิ่น 19:00.

UTC+7 คือกี่โมงไทย

ตัวอย่างการคิดเวลา เวลาในประเทศไทยซึ่งเป็น UTC+7 (ณ เวลาเดียวกัน) จะเท่ากับ 12:00 น. บวกไปอีก 7 ชั่วโมง ซึ่งก็คือ 19:00 น. นั่นเอง

ในการติดตั้ง Windows 10 ตัว CPU ต้องมีความเร็วเท่าใด

ตัวประมวลผล: 1 กิกะเฮิร์ตซ์ (GHz) หรือตัวประมวลผลที่เร็วกว่า หรือ SoC. RAM: 1 กิกะไบต์ (GB) สำหรับ 32 บิต หรือ 2 GB สำหรับ 64 บิต พื้นที่ว่างบนฮาร์ดดิสก์: 16 GB สำหรับระบบปฏิบัติการ 32 บิตหรือ 20 GB สำหรับระบบปฏิบัติการ 64 บิต การ์ดแสดงผล: DirectX 9 หรือใหม่กว่าพร้อมโปรแกรมควบคุม WDDM 1.0.