หนังสือขอสนับสนุนเครื่องจักรกล

          องค์การบริหารส่วนตำบลวังหิน ประสานขอรับการสนับสนุนเครื่องจักรกลจากองค์การบริหารส่วนจังหวัดตาก โดยองค์การบริหารส่วนตำบลวังหินเป็นผู้จ่ายค่าน้ำมันเชื้อเพลิง เพื่อจัดทำแนวกันไฟ บริเวณ หมู่ที่ ๓ บ้านท่าไม้แดง และหมู่ที่ ๔ บ้านวังหิน ตำบลวังหิน อำเภอเมืองตาก จังหวัดตาก รวมทั้งทำการขุดลอกปากคลองน้ำโจน หมู่ที่ ๖ บ้านน้ำโจน ตำบลวังหิน อำเภอเมืองตาก จังหวัดตาก เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนให้กับประชาชน และกลุ่มเกษตรกร เมื่อวันที่ ๓๑ มีนาคม - วันที่ ๒ เมษายน ๒๕๕๖ จึงขอประชาสัมพันธ์ให้ทราบโดยทั่วกัน

                                               ส่วนโยธา อบต.วังหิน

ข่าว ณ. วันที่ 9 เม.ย. 2556 เวลา 16.00 น. โดย อบต.วังหิน004

ผู้เข้าชม 2973 ท่าน


หนังสือขอสนับสนุนเครื่องจักรกล
หนังสือราชการสถ.จ.อุทัยธานี
หนังสือขอสนับสนุนเครื่องจักรกล

หนังสือขอสนับสนุนเครื่องจักรกล
หนังสือขอสนับสนุนเครื่องจักรกล


การยืนยันความต้องการขอรับการสนับสนุนเครื่องจักรกลและเครื่องมือทางการเกษตร และความพร้อมในการบริหารจัดการขององค์การบริหารส่วนจังหวัด(ด่วนที่สุด)

ข่าว ณ. วันที่ 19 พ.ค. 2564 เวลา 14.38 น. โดย กลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่น

ผู้เข้าชม 490 ท่าน

จำนวนผู้เข้าชมเริ่มนับ วันที่ 22 ธ.ค. 2550

แวะมาที่ไรก็มีปัญหาข้อข้องใจมาถามอาจารย์ทุกทีเลย คือจะสอบถามอาจารย์ว่าการใช้บัญชีเงินเดือนใหม่ตามกลุ่มที่ 1-4 เป็นอย่างไรค่ะ ตามบัญชีที่บวก 5% แล้ว คือ

กลุ่มที่ 1 เดิมเต็มขั้นที่ 18,190 + 5 % เป็นเต็มขั้น 19,100

กลุ่มที่ 2 เดิมเต็มขั้นที่ 22,220 + 5 % เป็นเต็มขั้น 23,340

กลุ่มที่ 3 เดิมเต็มขั้นที่ 36,020 + 5 % เป็นเต็มขั้น 37,830

กลุ่มที่ 4 เดิมเต็มขั้นที่ 64,340 + 5 % เป็นเต็มขั้น 67,560

หมายความว่าสิ้นเดือนพฤษภาคม 2554 ทุกคนใช้บัญชีเงินเดือนใหม่ + 5 % ใช่ไหมค่ะ

แล้วสมมุติว่าพอเดือนตุลาคม 2554 ได้ขั้นเงินเดือนจนเต็มขั้นในกลุ่มที่ 1 เต็มขั้นที่ 19,100 ตำแหน่งพนักงานบริการ ยังไม่ได้ทำเรื่องขอปรับระดับ เดือนเมษายน 2555 ได้อีก 1 ขั้น จะใช้บัญชีเงินเดือนที่ขั้นไหนค่ะ

แต่ถ้าในกรณีที่ทำเรื่องขอปรับระดับเป็นพนักงานบริการ ระดับ 2 ได้แล้ว เดือนตุลาคม 2554 ได้เต็มขั้น 19,100 พอเมษายน 2555 ได้ 1 ขั้น จะใช้บัญชีขั้นไหนกลุ่มไหนค่ะ งงกับคำถามไหมค่ะ คนถามก็จะงงเอง ถ้าอาจารย์ลำดับใจความแล้วไม่งง คลายข้อสงสัยให้หน่อยนะค่ะ รบกวนอีกตามเคย แต่ถึงอย่างไรก้็ขอขอบคุณอาจารย์อย่างมากเลยที่เป็นกูรูให้กับผู้ที่ไม่รู้อีกหลายๆคนและขอให้อาจารย์มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงนะค่ะ....ขวัญใจลูกจ้างทั้งหลาย

“ออมสิน” ปล่อยสินเชื่อธุรกิจเพื่อสิ่งแวดล้มและสร้างสรรค์สังคม ไม่จำกัดวงเงินกู้ เช็คคุณสมบัติ และ เงื่อนไขด่วนที่นี่

วันที่ 15 พฤศจิกายน 2565 ออมสิน ได้ออกผลิตภัณฑ์ใหม่ ด้วยการออกสินเชื่อ ปล่อยสินเชื่อธุรกิจเพื่อสิ่งแวดล้อมและสร้างสรรค์สังคม ไม่จำกัดวงเงินกู้

 

เหตุผลออกผลิตภัณฑ์ใหม่

เพื่อเป็นทุนหมุนเวียน ลงทุนในทรัพย์สินถาวร สนับสนุนกิจการที่มีโมเดลเศรษฐกิจ  BCG  (Bio-Circular-Green Economy)  สำหรับลูกค้าอุตสาหกรรม  ได้แก่

1.อุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร  การผลิตสินค้าเกษตรและอาหารที่เป็นพรีเมี่ยมสร้างรายได้สูง การใช้เทคโนโลยีระบบการผลิตและเครื่องจักรกลที่เหมาะสมโดยคำนึงถึงความยั่งยืน การยกระดับสินค้าเกษตรสู่สินค้าปลอดภัย

2.อุตสาหกรรมพลังงานและวัสดุ  มุ่งเน้นการเพิ่มความมั่นคงด้านพลังงานและการต่อยอดสู่ผลิตภัณฑ์เคมีและวัสดุชีวภาพมูลค่าสูง ด้วยการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรให้เกิดความคุ้มค่ามากที่สุด

3.อุตสาหกรรมสุขภาพและการแพทย์  มุ่งเน้นพัฒนาขีดความสามารถด้านการสร้างนวัตกรรม ยา วัคซีน  ยาชีววัตถุ  อุปกรณ์ทางการแพทย์ รวมถึงการวิจัยทางคลินิคและการบริหารจัดการข้อมูลวิทยาศาสตร์การแพทย์รองรับการขึ้นทะเบียนผลิตภัณฑ์ เพื่อลดการนำเข้า

4.อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและบริการ มุ่งพัฒนาสู่การท่องเที่ยวที่ยั่งยืนควบคู่กับการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพสูงในการรองรับนักท่องเที่ยว ฟื้นฟูและป้องกันปัญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นการรักษาภูมิปัญญาท้องถิ่น และต่อยอดผลิตภัณฑ์และบริการให้มีมูลค่าที่สูงขึ้น

 

อ่านข่าวที่เกี่ยวข้อง

  • เช็คสิทธิ์บัตรสวัสดิการแห่งรัฐ 65 welfare.mof.go.th ผ่าน-ไม่ผ่านดูเลย

  • ไร่ละ 1000 ปี 65/66 ประกันรายได้ข้าว เช็คสิทธิ์วันนี้ 15 ตุลาคม 2565 ดูที่นี่

 

คุณสมบัติผู้ขอสินเชื่อ

  • 1.1 เป็นบุคคลธรรมดาอายุ 20 ปีขึ้นไป สัญชาติไทย หรือ นิติบุคคลจดทะเบียนตามกฎหมายไทย
  • 1.2 เป็นผู้ประกอบการที่นำทฤษฎีเศรษฐกิจใหม่ BCG  ซึ่งเน้นการนำวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี  และนวัตกรรมมาต่อยอดจุดแข็งในการพัฒนาธุรกิจ โดยมีรายละเอียดตามแนวคิด  BCG  ดังนี้
    • เศรษฐกิจชีวภาพ  (Bioeconomy) โดย“เน้นการเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้า”ผ่านการนำความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมมาพัฒนาทรัพยากรชีวภาพ หรือผลผลิตทางการเกษตร  เช่น

– ธุรกิจไบโอดีเซล และพลังงานทดแทน

– ธุรกิจผลิตบรรจุภัณฑ์ที่ทำมาจากวัสดุธรรมชาติ

  • เศรษฐกิจหมุนเวียน  (Circular Economy) โดย “เน้นการลดปริมาณของเสียให้น้อยลงหรือเท่ากับศูนย์ (Zero Waste)” ผ่านการนำทรัพยากรมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดและคุ้มค่าที่สุด ด้วยการปรับกระบวนการผลิต ตลอดจนการนำวัสดุกลับมาใช้ซ้ำ (Reuse) และแปรสภาพ  กลับมาใช้ใหม่ (Recycle)  เช่น

– ผู้ผลิตหรือจำหน่ายบรรจุภัณฑ์จากธรรมชาติ

– ผู้ผลิตหรือจำหน่ายบรรจุภัณฑ์รีไซเคิล ยกเว้น บรรจุภัณฑ์ที่ผลิตจากปิโตรเคมี

  •  เศรษฐกิจสีเขียว  (Green Economy)  โดย “เน้นการแก้ไขปัญหามลพิษเพื่อลดผลกระทบต่อโลกอย่างยั่งยืน” ผ่านการพัฒนาที่สมดุลทั้ง 3 ด้าน คือ ด้านเศรษฐกิจ สังคม  และสิ่งแวดล้อม  เน้นการใช้ทรัพยากรอย่างสมดุล   เช่น

– ผู้ผลิตหรือจำหน่ายแผงพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา (Solar Rooftop)

– โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน (ก๊าซชีวภาพ/ชีวมวล/พลังงานหมุนเวียน/ขยะ)

– ธุรกิจท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ เช่น การนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาช่วยท้องถิ่นสร้างเนื้อหาการท่องเที่ยว  การบริหารจัดการเส้นทาง  การลดพลังงาน  และการรักษาสิ่งแวดล้อม

  • 1.3 ผู้ประกอบธุรกิจที่เป็น Supply Chain ของผู้ประกอบการตามข้อ 1.2 หรือ นำผลิตภัณฑ์จากข้อ 1.2  มาใช้ในการดำเนินงานธุรกิจ

 

หนังสือขอสนับสนุนเครื่องจักรกล

 

วัตถุประสงค์

  • เพื่อเป็นเงินทุนหมุนเวียนในการดำเนินกิจการ
  • เพื่อลงทุนในทรัพย์สินถาวร
  • เพื่อไถ่ถอนจำนองจากสถาบันการเงินอื่น

 

ประเภทสินเชื่อ

  • ประเภทเงินกู้ระยะสั้น ได้แก่ เงินเบิกเกินบัญชี ตั๋วสัญญาใช้เงิน วงเงินการค้าต่างประเทศ
  • ประเภทเงินกู้ระยะยาว
  • หนังสือค้ำประกัน (L/G)

 

จำนวนเงินให้กู้

  • พิจารณาตามความจำเป็นและความสามารถในการชำระหนี้ของกิจการ ทั้งนี้ กรณีเป็นบุคคลธรรมดาให้กู้เกินกว่า 1,000,000 บาทขึ้นไป

 

ระยะเวลาชำระเงินกู้

  • เงินกู้ระยะสั้น ระยะเวลาชำระเงินกู้ไม่เกิน 1 ปี ทบทวนวงเงินทุกปี
  • เงินกู้ระยะยาว ระยะเวลาชำระเงินกู้ไม่เกิน 10 ปี โดยจะให้ปลอดชำระหนี้เงินต้น ไม่เกิน  2  ปี  ในกรณีที่มีระยะเวลาชำระเงินกู้ตั้งแต่  2  ปีขึ้นไป

 

อัตราดอกเบี้ย

ระยะเวลา

  • ปีที่ 1 – 2

หลักทรัพย์เป็นประกันเต็มวงเงินกู้

เงินกู้ระยะสั้น  

  • MOR – 2.005
  • เงินกู้ระยะยาว  MLR – 2.160

 

หลักทรัพย์เป็นประกัน ไม่น้อยกว่าร้อยละ  30

เงินกู้ระยะสั้น

  •  MOR – 1.005

เงินกู้ระยะยาว

  • MLR – 1.160

 

ปีที่ 3 เป็นต้นไป

หลักทรัพย์เป็นประกัน เต็มวงเงินกู้

เงินกู้ระยะสั้น  

  • MOR

 

เงินกู้ระยะยาว

  • MLR

หลักทรัพย์เป็นประกัน ไม่น้อยกว่าร้อยละ  30

เงินกู้ระยะสั้น  

  • MOR + 1

 

เงินกู้ระยะยาว

  • MLR + 1

 

หลักประกันการกู้เงิน

1. หลักประกันประเภทใดประเภทหนึ่ง หรือหลายประเภทร่วมกัน เป็นหลักประกันเต็มวงเงินกู้  ดังนี้

1.1 สมุดฝากเงินออมสิน สลากออมสินพิเศษ พันธบัตรรัฐบาล พันธบัตรรัฐวิสาหกิจ ให้กู้ได้ไม่เกินร้อยละ 95 ของมูลค่าหลักประกัน

1.2 ที่ดินและอาคาร ให้กู้ได้ไม่เกินร้อยละ 80 ของราคาประเมินหลักทรัพย์

1.3 โฉนดที่ดิน หรือ น.ส.3 ก. หรือห้องชุด ให้กู้ได้ไม่เกินร้อยละ 70 ของราคาประเมินหลักทรัพย์

2. กรณีหลักประกันตาม 1. ไม่เพียงพอ ให้ใช้หลักประกันตาม 1. อย่างน้อยร้อยละ 30 ของวงเงินกู้ ร่วมกับบรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.) ค้ำประกันเพิ่มเติม