รายงานผลการติดตาม ตรวจ สอบ ประเมินผลและนิเทศการจัดการ ศึกษา

รายงานการติดตาม ตรวจสอบ
ประเมินผล และนเิ ทศการศึกษา

ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๔

ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาด

ของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19)

สานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาระนอง
สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน

บทสรปุ สำหรับผ้บู ริหาร

รายงานสรุปผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาของคณะอนุกรรมการ
ติดตาม ตรวจสอบประเมินผลและนิเทศการศึกษา (อ.ก.ต.ป.น.) ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา 2564
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของสำนักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษาประถมศึกษาระนอง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้สถานศึกษาในสังกัด มีความพร้อมในการจัด
การศึกษา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 ตามนโยบายการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน และสำนกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาระนอง อีก
ทั้งกระตุ้นให้ผู้บริหาร คณะครู และบุคลากรที่เกี่ยวข้องในสถานศึกษาได้เตรียมความพร้อมงานของ
สถานศึกษา ให้มีความพร้อมและเอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ให้กับนักเรียน ตามบริบทภายใต้สถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยมีกลุ่มเป้าหมายคือ โรงเรียนใน
สังกัดสำนักเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนองจำนวน 77 โรงเรียน 1 สาขา เครื่องมือที่ใช้ในการ
ตดิ ตาม คอื แบบตดิ ตาม และประเมินผลการจดั การศึกษา ภาคเรยี นท่ี ๑ ปกี ารศึกษา 256๔ มีทั้งหมด
3 ตอน มีผลการตดิ ตาม ดงั นี้

ตอนที่ 1 ข้อมูลสถานศกึ ษา
โรงเรียนในสังกัดสำนักเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนองจำนวน 77 โรงเรียน 1 สาขา

จำนวนผู้อำนวยการโรงเรยี น 65 คน รองผ้อู ำนวยโรงเรียน 9 คน จำนวนครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา
รวมท้ังหมด 685 คน จำนวนนักเรยี นท้ังหมด 16,248 คน (ขอ้ มูล ณ วนั ที่ 25 มถิ นุ ายน 2564)

การประเมนิ ตนเอง ในระบบ Thai Stop Covid Plus (TSC+)
ผลการประเมินตนเองของโรงเรียน อยู่ในระดับสีเขียว ผ่านเปิดเรียนได้ จำนวน 77 โรงเรียน
1 สาขา คดิ เป็นรอ้ ยละ 100
รปู แบบการจดั การเรยี นการสอน (เสนอ ศบค.ระนอง)
1. เปดิ เรยี นวนั ท่ี 1 มถิ ุนายน 2564 จำนวน 11 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 14.10

รูปแบบการจัดการเรยี นการสอน
• On Hand จำนวน 5 โรงเรยี น คดิ เปน็ ร้อยละ 45.45
• Blended จำนวน 6 โรงเรยี น คดิ เป็นรอ้ ยละ 54.55

2. เปดิ เรียนวันที่ 7 มถิ นุ ายน 2564 จำนวน 4 โรงเรยี น คดิ เปน็ ร้อยละ 5.13
รปู แบบการจดั การเรยี นการสอน
• On Hand จำนวน 4 โรงเรยี น คิดเป็นรอ้ ยละ 100

3. เปดิ เรยี นวันที่ 9 มิถุนายน 2564 จำนวน 1 โรงเรยี น คดิ เปน็ ร้อยละ 1.28
รปู แบบการจดั การเรียนการสอน
• Blended จำนวน 1 โรงเรียน คดิ เป็นร้อยละ 100

รายงานการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศึกษาของ อ.ก.ต.ป.น. ภาคเรยี นที่ 1/2564
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาระนอง

4. เปิดเรียนวนั ที่ 14 มิถนุ ายน 2564 จำนวน 62 โรงเรียน คิดเปน็ รอ้ ยละ 79.49
รูปแบบการจดั การเรียนการสอน
• On Hand จำนวน 9 โรงเรยี น คดิ เป็นร้อยละ 14.52
• On SITE จำนวน 3 โรงเรียน คดิ เปน็ ร้อยละ 4.84
• Blended จำนวน 50 โรงเรยี น คดิ เปน็ รอ้ ยละ 80.64

รูปแบบการจัดการเรยี นการสอนจริง เปดิ เรียนครบทุกโรงเรียน คิดเปน็ รอ้ ยละ 100
(ขอ้ มลู ณ วันท่ี 14 มิถุนายน 2564)

รูปแบบการจดั การเรียนการสอน
• On SITE จำนวน 14 โรงเรยี น คดิ เปน็ รอ้ ยละ 17.9
• On Hand จำนวน 15 โรงเรยี น คิดเป็นรอ้ ยละ 19.2
• Blended จำนวน 49 โรงเรียน คิดเปน็ รอ้ ยละ 62.9

ตอนที่ 2 การตรวจสอบการปฏิบัติงาน การเตรียมความพร้อมการเปิดภาคเรียนที่ 1
ปีการศกึ ษา 2564 ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

การตรวจสอบการปฏิบัติงาน การเตรียมความพร้อมการเปิดภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๔
ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยภาพรวม ทกุ โรงเรียน
มีการปฏิบัติอยใู่ นระดับ มากที่สดุ เมือ่ พิจารณารายด้านและรายข้อ พบว่า

1. ด้านการบรหิ ารงานทว่ั ไป
๑. โรงเรียนมีการเตรียมการจัดสภาพแวดล้อม ภูมิทัศน์ สะอาด ร่มรื่น สวยงาม ปลอดภัย

ปฏิบัตคิ รบทุกโรงเรียน
๒. จัดเตรียมอาคารเรียน ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ และ สิ่งก่อสร้างอื่น ๆ อยู่ในสภาพ

เหมาะสม พร้อมใชง้ าน ปฏิบัติครบทกุ โรงเรยี น
๓. การบริหารจัดการด้านอาหารกลางวัน และอาหารเสริมนมเป็นไป ตามระเบียบ

สอดคล้องกับรปู แบบการจดั การเรียนการสอนทโ่ี รงเรียนกำหนด ปฏบิ ตั คิ รบทกุ โรงเรยี น
๔. จัดเตรียมการคัดกรอง จุดคัดกรองและพื้นที่ใช้สอยร่วมกัน ตามแนวปฏิบัติด้านอนามัย

และสิ่งแวดล้อม ในคู่มือการปฏิบัติสำหรับสถานศึกษาในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19
อยา่ งเครง่ ครัด ปฏิบัติครบทกุ โรงเรียน

2. ด้านการบริหารงานบุคคล
1. โรงเรียนมีการจัดประชุมครู จัดทำคำสั่งมอบหมายงานและปฏิบัติหน้าที่การสอนใน

ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ปฏบิ ตั คิ รบทกุ โรงเรียน
2. คณะครูมาปฏิบัตหิ น้าที่ เตรยี มความพร้อมในการเปดิ ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๔ และการปิด

เรียนกรณีพิเศษในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) อย่าง
ตอ่ เนือ่ ง มาปฏิบัตหิ น้าท่คี รบทุกโรงเรยี น

รายงานการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศกึ ษาของ อ.ก.ต.ป.น. ภาคเรยี นที่ 1/2564
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาระนอง

3. ด้านการบรหิ ารงานวชิ าการ
1. โรงเรียนมีการประชุมเลือกรปู แบบการจัดการเรียนการสอนท่ีเหมาะสม ที่ตรงตามความ

ตอ้ งการของผปู้ กครองนักเรียนและคณะกรรมการสถานศกึ ษารบั ทราบ ปฏิบตั ิครบทกุ โรงเรยี น
2. โรงเรียนเลือกรูปแบบที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน สอดคล้องกับความต้องการของ

นักเรียนและผู้ปกครอง ปฏิบตั ิครบทุกโรงเรยี น
3. โรงเรียนจัดทำกำหนดการสอน ตารางสอน ตารางเรียน กำหนดการสอนชดเชย และ

แผนการบริหารจัดการขึ้นเฉพาะในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-
19) ปฏิบตั ิครบทุกโรงเรียน

4. โรงเรียนมีการจัดทำเอกสารประกอบการจัดการเรียนการสอนตามรูปแบบที่โรงเรียน
เลอื ก และสง่ มอบใหก้ บั นกั เรยี น ตามกำหนดการท่โี รงเรยี นกำหนด ปฏบิ ตั ิครบทกุ โรงเรียน

5. มีกำหนดการติดตาม ช่วยเหลือนักเรียน และวางแผนการวัดและประเมินผลการจัด
การศึกษาตามสภาพบรบิ ทและรปู แบบการจดั การเรียนการสอนท่โี รงเรียนกำหนด ปฏิบัติครบทุกโรงเรียน

4. ด้านการบรหิ ารงบประมาณ
1. โรงเรียนจดั ทำแผนปฏิบัติการประจำปี มแี ผนงานโครงการรองรับในสถานการณ์การแพร่

ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ปฏิบัติครบทุกโรงเรียน
2. มีการดำเนินงานตามโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบ

การศึกษาขั้นพื้นฐาน ครบทั้ง 4 รายการประกอบด้วย ๑) หนังสือเรียน 2) ค่าอุปกรณ์การเรียน
3) เคร่ืองแบบนักเรยี น และ 4) คา่ กิจกรรมพฒั นาผ้เู รียน ปฏิบัติครบทุกโรงเรียน

ตอนที่ 3 ข้อค้นพบอื่น ๆ จากการติดตาม การเตรียมความพร้อมการเปิดภาคเรียนที่ 1
ปกี ารศึกษา 2564 ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

1. ดา้ นการบริหารงานท่ัวไป
1.1 ความสะอาดของโรงเรียนและความพร้อมในการเตรียมจุดคัดกรอง เพื่อรองรับ

นักเรยี นในวนั เปิดภาคเรยี น ในภาพรวมทกุ โรงเรยี นสะอาดและมีความพร้อม
1.2 ชุมชนและภาคีเครือข่ายทุกโรงเรียนมีความเข้มแข็งให้ความร่วมมือและเชื่อม่ัน

ศรทั ธาครใู นโรงเรยี น ชว่ ยเหลือในการบรหิ ารงาน
2. ด้านการบรหิ ารงานบุคคล
2.1 โรงเรียนมีการประชุมครูอย่างต่อเนื่อง ทั้งเป็นทางการและไม่เป็นทางการ โดยมี

การประยกุ ตใ์ ช้ Google Meet , Zoom และกลุ่มไลนใ์ นการประชมุ ทางไกล
2.2 ครูได้รับการฉีดวัคซีน มากกว่าร้อยละ 80 มีครูบางส่วนที่ไม่ฉีดเนื่องจากมีโรค

ประจำตวั และตัง้ ครรภ์
2.3 ครูมีการอบรมพัฒนาตนเองผ่านระบบออนไลน์ในรูปแบบที่หลากหลาย

สอดคลอ้ งกบั หลกั สูตรและความต้องการพฒั นาตนเอง

รายงานการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาของ อ.ก.ต.ป.น. ภาคเรียนที่ 1/2564
ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สำนักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาระนอง

3. ดา้ นการบรหิ ารงานวิชาการ
3.1 การสง่ เสริมด้านดิจิทลั แพลตฟอร์มให้กบั ครูผ้สู อน และผ้เู รยี น เพื่อใช้เปน็ เคร่ืองมือ

ในการทำงานและการจดั การเรียนรู้
3.2 โรงเรียนมีการจดั ทำปฏิทินการสอน 200 วนั โดยกำหนดวนั สอนชดเชย และ

ดำเนนิ การแจ้งให้คณะกรรมการสถานศึกษาและผู้ปกครองนกั เรียนทราบ
3.3 ครูมกี ารพฒั นารูปแบบการจดั การเรียนการสอน มีการจัดทำส่อื ออนไลน์ บทเรียน

สำเร็จรูป และคลิปการสอน
3.4 ครมู ีการออกแบบการจัดการเรียนรู้และการวัดผลประเมินผลที่หลากหลาย มีการ

นเิ ทศตดิ ตามโดยใช้เทคโนโลยเี ปน็ ฐานในการดำเนนิ งาน
4. ดา้ นการบรหิ ารงานงบประมาณ
4.1 ทุกโรงเรียนมีการจัดทำแผนพัฒนาการศึกษา และแผนปฏิบัติการประจำปี มีการ

เสนอขออนมุ ัติคณะกรรมการสถานศกึ ษาเพื่อดำเนนิ การ
4.2 โรงเรียนดำเนนิ การจัดซ้ือหนังสือเรียนครบทุกวชิ าและดำเนนิ การแจกจ่ายหนังสือ

เรยี น ค่าอุปกรณก์ ารเรยี น ค่าเคร่ืองแบบนกั เรียนให้นักเรียนเรียบรอ้ ยแล้ว
5. สภาพปญั หาอุปสรรค/ขอ้ เสนอแนะจากโรงเรียน
5.1 โรงเรียนสว่ นใหญใ่ ช้รปู แบบการสอน ON Hand เพยี งอยา่ งเดียว ควรมีการสำรวจ

ความพร้อมและความต้องการของผู้เรียนและผู้ปกครอง และจัดการเรียนการสอนในรูปแบบท่ี
หลากหลาย

5.2 บางโรงเรียนยงั ไมไ่ ด้รับจดั สรรอาหารเสริมนมจากองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ่
5.3 ได้รับจัดสรรอาหารกลางวนั ไม่ตรงตามจำนวนนักเรยี น เนื่องจากมีการปรับเลื่อน
เวลาการรบั นกั เรียน

รายงานการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศึกษาของ อ.ก.ต.ป.น. ภาคเรียนท่ี 1/2564
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาระนอง

คำนำ

รายงานสรุปผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาของคณะอนุกรรมการ
ติดตาม ตรวจสอบประเมินผลและนิเทศการศึกษา (อ.ก.ต.ป.น.) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาระนอง ภาคเรียนท่ี ๑ ปีการศึกษา 2564 ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง ฉบับนี้ จัดทำ
ขึ้นเพื่อสรุปผลการติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา ตลอดถึงการเตรียมความพร้อมการเปิด
ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา 2564 ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) ของอนุคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการศึกษาและนิเทศการศึกษา ของ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา (อ.ก.ต.ป.น) ของสถานศึกษาในสังกัด เพื่อช่วยเหลือ กำกับ ติดตามผล
การจดั การศึกษาครอบคลมุ ภารกิจงานทั้ง 4 ฝ่ายงาน ประกอบด้วย งานบรหิ ารทวั่ ไป งานบริหารบุคคล
งานบรหิ ารวชิ าการ และงานบริหารงบประมาณ

ขอขอบพระคุณทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องที่ให้ความร่วมมือ และสนับสนุนการนิเทศ ติดตามและ
ประเมินผลการจัดการศึกษา ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง เป็นอย่างดี
ขอขอบคุณคณะทำงานที่ร่วมจัดทำรายงานสรุปผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศ
การศึกษา จนเสร็จสมบูรณ์ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารรายงานผลการฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อการ
พัฒนาคุณภาพการศึกษา ในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง และผู้สนใจหรือ
หน่วยงานอนื่ ท่ีเก่ยี วข้อง

กลมุ่ งานเลขานุการ คณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศึกษา
กลมุ่ นิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา
สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาระนอง

รายงานการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาของ อ.ก.ต.ป.น. ภาคเรยี นที่ 1/2564
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำนักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาระนอง

สารบัญ

บทสรปุ ผู้บรหิ าร หนา้
คำนำ ก
สารบัญ จ
สารบัญตาราง ฉ
สว่ นที่ 1 บทนำ ช
1
ความเปน็ มาและความสำคญั 1
วัตถุประสงค์การรายงาน 3
3
ขอบเขตการรายงาน 3
4
ประโยชนท์ ไ่ี ด้รับ 4

ส่วนที่ 2 หลกั การ แนวคดิ การติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศกึ ษา 7
8
นโยบายกระทรวงศึกษาธกิ าร
9
นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน 10
11
ทิศทางการพฒั นาการศึกษาของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาระนอง 16
16
บทบาทหน้าทข่ี องคณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศึกษา 17
ของเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษา ตามระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธิการ วา่ ด้วยการตรวจราชการ
การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจดั การศึกษา พ.ศ.2560 20
แนวทางการเตรียมความพรอ้ มการเปิดเรยี นภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564
22
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ 22
24
ส่วนที่ 3 วิธีการดำเนนิ งาน

ส่วนที่ 4 ผลการดำเนนิ งาน

ตอนท่ี 1 ข้อมูลสถานศึกษา

ตอนที่ 2 การตรวจสอบการปฏบิ ัตงิ าน การเตรียมความพร้อมการเปิดภาคเรียนท่ี 1
ปกี ารศึกษา 2564 ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรสั
โคโรนา 2019 (COVID-19)

ตอนท่ี 3 ขอ้ ค้นพบอ่ืน ๆ จากการติดตาม การเตรียมความพร้อมการเปดิ ภาคเรยี น
ท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อ
ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

สว่ นท่ี 5 สรปุ ผล และขอ้ เสนอแนะ

สรุปผล

ขอ้ เสนอแนะ

รายงานการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศึกษาของ อ.ก.ต.ป.น. ภาคเรยี นที่ 1/2564
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาระนอง

สารบญั (ตอ่ ) ช

ภาคผนวก หน้า
คณะผู้จดั ทำ 25
42

รายงานการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศึกษาของ อ.ก.ต.ป.น. ภาคเรียนที่ 1/2564
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สำนักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาระนอง

สารบญั ตาราง

ตารางที่ 1 ผลการพิจารณาตามรายการประเมินการปฏิบัติงานการจดั การศกึ ษา หนา้
ตารางที่ 2 และตรวจสอบการปฏบิ ัติงาน การเตรยี มความพร้อมการเปิดภาคเรียน 17
ตารางท่ี 3 ที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ 18
ตารางท่ี 4 เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ด้านการบริหารงานท่ัวไป 18
ผลการพิจารณาตามรายการประเมนิ การปฏิบตั งิ านการจัดการศึกษา
และตรวจสอบการปฏบิ ัติงาน การเตรียมความพร้อมการเปิดภาคเรยี น 19
ท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ
เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ดา้ นการบริหารงานบุคคล
ผลการพิจารณาตามรายการประเมินการปฏบิ ัตงิ านการจัดการศึกษา
และตรวจสอบการปฏิบัติงาน การเตรียมความพร้อมการเปิด
ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564 ในสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ดา้ นการบรหิ ารงานวิชาการ
ผลการพจิ ารณาตามรายการประเมินการปฏบิ ัติงานการจัดการศกึ ษา
และตรวจสอบการปฏิบตั ิงาน การเตรียมความพร้อมการเปิดภาคเรียน
ท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ
เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ดา้ นการบรหิ ารงานท่ัวไป

รายงานการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศกึ ษาของ อ.ก.ต.ป.น. ภาคเรยี นท่ี 1/2564
ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาระนอง

ส่วนที่ 1
บทนำ

ความเปน็ มาและความสำคัญ
การจัดการศึกษาในสถานการณ์ปัจจุบันที่โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มีการ

ระบาดในวงกว้าง โดยเมื่อวันที่ 30 มกราคม พ.ศ.2563 องค์การอนามัยโลก ได้ประเมินสถานการณ์
และประกาศให้โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เป็นภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระหว่าง
ประเทศ (Public Health Emergency of International Concern) โดยแนะนำให้ทุกประเทศเร่งรัด
การเฝ้าระวังและป้องกันความเสี่ยงจากเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และสำหรับในประเทศ
ไทยนั้นได้มีการพบผู้ป่วยติดเชื้อใหม่ในระลอกที่ 3 ซึ่งถึงแม้ว่าตัวเลขผู้ป่วยติดเชื้อในแต่ละวันจะมี
จำนวนลดน้อยลง แต่ก็ยังคงอยู่ในสภาวการณ์ท่ีไม่อาจวางใจได้ ดังนั้น เพื่อลดความเสี่ยงของประชาชน
ทุกคนต่อการสัมผัสเชื้อโรค และป้องกันไม่ให้ประชาชนได้รับผลกระทบต่อสุขภาพ ต้องให้ความสำคัญ
ตั้งแต่การรักษาสุขวิทยาส่วนบุคคล โดยเฉพาะในประชาชนกลุ่มเสี่ยง ทั้งเด็ก ผู้สูงอายุ และผู้ที่มีโรค
ประจำตัว รวมถึงการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมอย่างถูกสุขลักษณะและเหมาะสมในทุกพื้นท่ี
โดยเฉพาะพ้นื ทีส่ าธารณะ

กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศให้สถานศึกษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ เลื่อนการเปิด
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 จากวันที่ 1 มิถุนายน 2564 เป็นวันที่ 14 มิถุนายน 2564
เนื่องจากสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ยังมีความรุนแรง
อยา่ งต่อเน่ือง จึงตอ้ งเลอื่ นการเปดิ ภาคเรียน เพ่อื ความปลอดภัยและระวงั ป้องกันนักเรียน นกั ศึกษา ครู
และบุคลากรทางการศึกษา ไม่ต้องเสี่ยงกับการ ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และเพื่อให้มี
ระยะเวลารับการฉีดวัคซีนของครูและบุคลากรทางการศึกษา และรองรับการย้ายสถานศึกษาของ
นกั เรยี นในแตล่ ะช่วงชนั้

การเลื่อนเปิดภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 หากมีสถานศึกษาใดในพื้นที่ที่ตั้งอยู่ในพื้นท่ี
ควบคุมสูงสุด หรือพื้นที่สีแดง และพื้นที่ควบคุม หรือพื้นที่สีส้ม ประสงค์จะดำเนินการเปิดภาคเรียน
ที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564 ต้ังแตว่ ันท่ี 1 มิถนุ ายน 2564 เป็นตน้ ไป ให้โรงเรียนหรือสถานศึกษาแห่งน้ัน
ดำเนินการประเมินความพร้อมตามระบบ Thai Stop COVID Plus ของกระทรวงสาธารณสุข
ทมี่ ี 44 ขอ้ โดยตอ้ งผ่านทุกข้อ และต้องเสนอขอความเห็นชอบต่อคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด เพ่ือ
อนุญาตให้โรงเรียนหรือสถานศึกษาแห่งนั้นสามารถจัดการเรียนการสอนได้ก่อนวันที่ 14 มิถุนายน
2564 ส่วนโรงเรียนในพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด หรือพื้นที่สีแดงเข้ม 4 จังหวัด ได้แก่
กรุงเทพมหานคร, จังหวัดนนทบุรี, จังหวัดปทุมธานี และจังหวัดสมุทรปราการ หากต้องการเปิดสอน
ก่อน สามารถจัดการเรียนได้ในรูปแบบการสอนออนไลน์ และการจัดการศึกษาทางไกลเท่านั้น และปิด
ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 พร้อมกันในวันที่ 11 ตลุ าคม 2564

โดยพ้นื ที่ควบคุมสูงสดุ และเข้มงวด หรือพื้นท่สี แี ดงเข้ม 4 จงั หวดั คือ กรงุ เทพมหานคร, จังหวัด
นนทบุรี, จังหวัดปทุมธานี และจังหวัดสมุทรปราการ ห้ามใช้อาคารสถานที่เพื่อจัดการเรียนการสอน
กิจกรรมที่มีการรวมคนจำนวนมาก ยังเปิดเรียนที่โรงเรียนไม่ได้ สำหรับพื้นที่ควบคุมสูงสุด หรือพื้นที่สี
แดง มี 17 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดกาญจนบุรี, จังหวัดชลบุรี, จังหวัดฉะเชิงเทรา, จังหวัดตาก,

รายงานการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาของ อ.ก.ต.ป.น. ภาคเรยี นที่ 1/2564
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำนักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาระนอง

จังหวัดนครปฐม, จังหวัดนครศรีธรรมราช, จังหวัดนราธิวาส, จังหวัดประจวบคีรีขันธ์, จังหวัด
พระนครศรีอยุธยา, จังหวัดเพชรบุรี, จังหวัดยะลา, จังหวัดระนอง, จังหวัดระยอง, จังหวัดราชบุรี,
จังหวัดสมุทรสาคร, จังหวัดสงขลา และจังหวัดสุราษฎร์ธานี ให้ใช้อาคารสถานที่เปิดเรียนได้ โดยผ่าน
ความเห็นชอบจากคณะกรรมการโรคตดิ ต่อจังหวดั สว่ นที่เหลอื 56 จังหวัดเปน็ พ้นื ทค่ี วบคุม หรือพื้นที่สี
ส้ม เปิดเรยี นไดต้ ามมาตรการ ศบค. ของแต่ละจงั หวดั

สถานศึกษาพิจารณารูปแบบการเรียนการสอน โดยยึดหลักความปลอดภัยสูงสุดของเด็ก ครู
ผปู้ กครองเป็นท่ตี ั้ง นักเรยี นทุกคนต้องไม่พลาดโอกาสในการเรียนรู้ ไม่บงั คบั วา่ เด็กทุกคนในโรงเรยี นเดียวกัน
ต้องเรียนเหมือนกัน การตัดสินใจใช้รูปแบบใดในการจัดการเรียนการสอน รวมถึงการจัดการเรียนการสอนท่ี
โรงเรียน ต้องเป็นไปด้วยความสมัครใจ ขออนุญาตกับคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดให้ถูกต้อง และปฏิบัติ
ตามข้อกำหนดของกระทรวงสาธารณสุขอย่างเครง่ ครัด

การนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา มีความสำคัญต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ย่างยิ่ง เพราะการนิเทศการศึกษาเป็นการรวมความคิดทางสมองของผู้ให้การนิเทศ ผู้รับการนิเทศ และ
ผู้สนบั สนนุ การนิเทศเข้าดว้ ยกนั เพ่ือผลสุดท้าย ทแ่ี ท้จริงคือการพฒั นาคุณภาพผเู้ รียนและคุณภาพการศึกษา
ให้บรรลุจุดหมายของหลักสูตร และนักเรียน มีคุณภาพตามที่มุ่งหวังไว้ทุกประการ แต่การดำเนินงานใดๆ ก็
ตามจำเป็นต้องมีขั้นตอนในการดำเนินงาน การนิเทศการศึกษาก็เป็นไปในทำนองเดียวกันก็ต้องการความ
มุ่งหวังให้การดำเนินการประสบผลสำเร็จลุล่วงด้วยดีและมีประสิทธิภาพให้สนองตอบกับสภาพปัจจุบันท่ี
โรงเรียนมีความเหลื่อมล้ำและแตกต่างหลากหลาย ทั้งมาตรฐานและคุณภาพ ในช่วงสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยมุ่งหวังให้เกิดการนิเทศด้วยวิธกี ารที่หลากหลาย
เข้าถึงสถานศึกษาทุกกลุ่มเป้าหมาย เข้าถึงครูทุกพื้นที่อย่างเท่าเทียมกันเพื่อการพัฒนาและส่งเสริมให้เกิด
คุณภาพที่มีความเท่าเทียมกันทุกแห่ง ทั้งนี้เพื่อลดช่องว่างทางการเรียนรู้ และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
ของผู้เรียนบนฐานของระบบเศรษฐกิจฐานความรู้ ให้เป็นไปตามนโยบายและเจตนารมณ์ของหน่วยงานต้น
สังกัดต่อไป

สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาระนอง โดยคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล
การศกึ ษาและนิเทศการศึกษาของสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา (ก.ต.ป.น) ได้มีมตใิ ห้แต่งตง้ั คณะอนุกรรมการ
ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการศึกษาและนิเทศการศึกษา ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา (อ.ก.ต.ป.น)
เพื่อติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา 256๔ การเตรียมความพร้อม
การเปิดเรียนภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 การดำเนินงานตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง
โดยเน้นกระบวนการนิเทศที่เป็นระบบและมีความต่อเนื่อง สร้างทีมและเครือข่ายการนิเทศ ติดตาม โดย
มุ่งเน้นให้สถานศึกษาได้รับการนิเทศ ติดตาม ด้วยการบรรยากาศที่เป็นกันเอง กระตุ้น ยั่วยุ และสร้างความ
เข้าใจอันดตี ่อกันและทำให้สถานศึกษาค้นพบวิธีการทำงานท่ีดีกว่า เพอ่ื ให้บรรลวุ ัตถุประสงค์การดำเนินงาน
ของโรงเรียนให้สามารถบริหารจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพและเพิ่มคุณภาพการจัดการเรียนการสอนเพื่อ
ยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียน โดยคำนึงถึงความปลอดภัยของข้าราชการครู บคุ ลากรทางการ
ศกึ ษา นักเรยี นและผปู้ กครอง ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

รายงานการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศกึ ษาของ อ.ก.ต.ป.น. ภาคเรียนท่ี 1/2564
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาระนอง

วตั ถปุ ระสงค์การรายงาน
เพื่อรายงานสรุปผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาของ

คณะอนุกรรมการ ติดตาม ตรวจสอบประเมินผลและนิเทศการศึกษา (อ.ก.ต.ป.น.) ภาคเรียนที่ ๑
ปกี ารศกึ ษา 2564 ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ของ
สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาระนอง

ขอบเขตการรายงาน
โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนองจำนวน 77 โรงเรียน

1 สาขา ท่ีได้รับติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา 256๔ โดยมี
ประเดน็ การนเิ ทศ ประกอบด้วย

ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ตอนท่ี 2 การตรวจสอบผลการปฏบิ ัตงิ าน

1. ด้านการบรหิ ารงานท่วั ไป
2. ดา้ นการบรหิ ารงานบุคคล
3. ด้านการบริหารงานวิชาการ
4. ดา้ นการบริหารงานงบประมาณ
ตอนท่ี 3 ข้อค้นพบ
1. ดา้ นการบริหารงานทวั่ ไป
2. ด้านการบริหารงานบุคคล
3. ดา้ นการบรหิ ารงานวิชาการ
4. ด้านการบริหารงานงบประมาณ
5. สภาพปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะจากโรงเรียน

ประโยชน์ทไี่ ด้รับ
1. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง มีรายงานสรุปผลการติดตาม ตรวจสอบ

ประเมินผลและนิเทศการศกึ ษาของคณะอนุกรรมการ ติดตาม ตรวจสอบประเมินผลและนเิ ทศการศึกษา
(อ.ก.ต.ป.น.) ภาคเรียนที่ ๑ ปกี ารศกึ ษา 2564 ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโร
นา 2019 (COVID-19) ของสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาระนอง เพอื่ นำไปใช้ในสนับสนุน
การดำเนินงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามนโยบาย กลยุทธ์ มาตรฐานการศึกษา และจุดเน้นของการ
พฒั นาคณุ ภาพการศึกษา

2. สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาระนอง มขี อ้ มูลสารสนเทศของการพัฒนาคุณภาพ
การศกึ ษา และสามารถนำขอ้ มลู สารสนเทศไปใชใ้ นการวางแผนการนเิ ทศศกึ ษา การบริหารจดั การศึกษา
เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง ให้มี
คุณภาพและได้มาตรฐาน ตามเป้าหมาย จดุ เนน้ ทีไ่ ด้กำหนดไว้

รายงานการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศกึ ษาของ อ.ก.ต.ป.น. ภาคเรยี นที่ 1/2564
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาระนอง

ส่วนที่ 2
หลกั การ แนวคิดการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศึกษา

การติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาของคณะอนุกรรมการ ติดตาม ตรวจสอบ
ประเมินผลและนิเทศการศึกษา (อ.ก.ต.ป.น.) ภาคเรียนท่ี ๑ ปีการศกึ ษา 2564 ในสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ระนอง ในครั้งน้ี กลุ่มงานเลขานุการ คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา
ได้นำเสนอ หลกั การ แนวคิดการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศึกษา ดงั ตอ่ ไปนี้

นโยบายกระทรวงศกึ ษาธิการ
นโยบายกระทรวงศึกษาธกิ าร ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
1. ปรับรื้อและเปลี่ยนแปลงระบการบริหารจัดการ โดยมุ่งปฏิรูปองค์การเพื่อหลอมรวมภารกิจ

และบุคลกร เช่น ด้านการประชาสัมพันธ์ ด้านการต่างประเทศ ด้านเทคโนโลยี ด้านกฎหมาย ฯลฯ ที่
สามารถ ลดการใช้ทรัพยกรทับซ้อน เพิ่มประสิทธิภาพและความเป็นเอกกาพ รวมทั้งการนำเทคโนโลยี
ดจิ ิทัลเขา้ มาช่วยทัง้ การบรหิ ารงานและการจดั การศึกษารองรบั ความเปน็ รัฐบาสดจิ ิทัล

๒.ปรับรื้อและเปลี่ยนแปลงระบการบริหารทรัพยากร โดยมุ่งปฏิรูปกระบวนการวางแผนงาน
โครงการแบบร่วมมือและบูรณาการ ที่สามารถตอบโจทย์ของสังคมและเป็นการพัฒนาที่ยั่งยืน รวมท้ัง
กระบวนการจัดทำงบประมาณที่มีประสิทธิภาพและใช้จ่ายอย่างคุ้มค่า ส่งผลให้ภาคส่วนต่าง ๆ ทั้ง
ภาครฐั ภาคเอกซน และนานาชาติ เชือ่ มนั่ และร่วมสนบั สนนุ การพฒั นาคณุ ภาพการศึกษามากยง่ิ ขึน้

3.ปรับรื้อและเปลี่ยนแปลงระบบการบริหารจดั การและพัฒนากำลังคนของกระทรางศึกษาธิการ
โดยมุ่งบริหารจัดการอัตรากำลังให้สอดคล้องกับการปฏิรูปองค์การ รวมทั้งพัฒนาสมรรถนะและความรู้
ความสามารถของบุคลกรภาครัฐ ให้มคี วามพรอ้ มในการปฏบิ ัติงานรองรับความเป็นรฐั บาลดิจิทลั

๔ ปรับรื้อและเปลี่ยนแปลงระบบการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ โดยมุ่งให้ครอบคลุมถึงการจัด
การศกึ ษาเพอ่ื คณุ วุฒิ และการเรยี นรูต้ ลดชีวติ ทีส่ มารถตอบสนองการเปล่ยี นแปลงในศตวรรษที่ ๒1

๕. ดำเนินการปลดล็อก ปรับเปลี่ยน เปิดกว้าง ที่เป็นเงื่อนไขต่าง ๆ เพื่อให้บรรลุผลตามนโยบาย
"การศึกษายกกำสังสอง (Thailand Education ECO - System : TE2S) การศกึ ษาทเี่ ขา้ ใจ Supply และ
ตอบโจทย์ Demand" โดย

- ปลดลอ็ ก กฎหมาย ระเบียบ ข้อบงั คบั ประกาศต่าง ๆ เพือ่ ให้เกิดความรว่ มมือกันระหว่าง
ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสัมพันธ์ให้สามารถดำเนินการที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาได้อย่าง
รวดเร็วรวมถึงการบริหารการศึกษาของประเทศให้ครอบคลุมทุกพ้นื ท่ี

- ปรับเปลี่ยน หลักสูตรการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นการพัฒนาขีดความสามารถและศักยภาพ
ใหท้ ันตอ่ การเปล่ียนแปลงของโลก ปรบั เปล่ยี นการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาผ่านศูนย์พัฒนา
ศกั ยภาพบคุ คลเพ่ือความเป็นเลิศ (Human Capital Excellence Center : HCEC) เพอื่ ให้ครู Up Skill

รายงานการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศึกษาของ อ.ก.ต.ป.น. ภาคเรยี นท่ี 1/2564
ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำนกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาระนอง

และ Re-Skill ของตนเองไดต้ ลอดเวลา ท้งั น้ี เพ่อื สง่ ต่อความร้ไู ปยังผู้เรียนใหเ้ ปน็ คนดี คนเก่ง และคนท่ีมี
คุณภาพ

- เปิดกว้าง เสรีทางการศึกษาให้ภาคเอกชนที่มีคุณภาพเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนา
การศึกษาร่วมประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนผ่านศูนย์พัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ
(Human Capital Excellence Center : HCEC) จากแพลตฟอร์มดิจิทัล ( Digital Education
Excellence Platform : DEEP) ใหค้ รอบคลุมผู้เรยี นทัว่ ประเทศ

ทั้งนี้ เพื่อนำไปสู่นักเรียนยกกำลังสอง ที่เน้นเรียนเพื่อรู้ พัฒนาทักษะเพื่อทำ ครูยกกำลังสอง
ที่เน้นเพิ่มคนเก่งมาเป็นครู พัฒนาครูในระบบ ห้องเรียนยกกำลังสองที่เน้นเรียนที่บ้าน ถามที่โรงเรียน
หลักสูตรยกกำลังสองที่เน้นลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ สื่อการเรียนรู้ยกกำลังสองที่เน้นเรียนผ่านส่ือ
ผสมผสานผ่านช่องทางที่หลากหลาย ได้แค่ On Site เรียนที่โรงเรียน Oline เรียนออนไลน์ผ่าน
แพลตฟอร์มด้านการศึกษาเพื่อความเป็นเลิศ (Digital Education Excellence Platform : DEEP) ที่มี
เน้ือหามาตรฐานจากผู้ผลติ ท่ีเป็นภาคเอกชน Oก Air เรียนผา่ นโทรทัศน์ DLTV มลู นธิ ิการศึกษาทางไกล
ผ่านดาวเทียม โดยเนื้อหามาตรฐานจากผูผ้ ลิตทีเ่ ป็นภาคเอกชน และ On-Demand ซึ่งสามารถเรียนได้
ทุกที่ ทุกเวลาที่มีอินเทอร์เน็ตและอุปกรณ์เชื่อมต่อ โรงเรียนยกกำลังสองที่มุ่งเน้นคุณภาพในโรงเรียน
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการ เพื่อความเป็นเลิศทางภูมิปัญญาท้องถิ่นและ
วิสาหกิจชุมชนที่เน้นคุณภาพของวิทยาลัยอาชีวศึกษาเพื่อความเป็นเลิศและความเชี่ยวชาญที่สามารถ
ตอบโจทย์ทกั ษะและความรู้ที่เพม่ิ ความเช่ยี วชาญในการปฏิบตั ิงาน

นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน
นโยบายสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
ตามแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) และแผนปฏิรูปประเทศด้าน

การศกึ ษากำหนดให้มีการพัฒนาเดก็ ตัง้ แต่ระดบั ปฐมวัยให้มสี มรรถนะและคุณลักษณะที่ดี สมวัยทุกด้าน
โดยการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑ ตระหนักถึงพหุ
ปญั ญาของมนษุ ย์ทหี่ ลากหลาย มเี ปา้ หมายใหผ้ ู้เรียนทกุ กล่มุ วยั ได้รบั การศึกษาท่ีมคี ุณภาพตามมาตรฐาน
มีทักษะที่จำเป็นของโลกอนาคต สามารถแก้ปัญหา ปรับตัว สื่อสาร และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี
ประสทิ ธิผลมวี ินัย มีนิสัยใฝ่เรยี นรอู้ ย่างตอ่ เน่ืองตลอดชีวติ รวมท้ังเปน็ พลเมอื งท่ีรสู้ ิทธแิ ละหนา้ ท่ี มีความ
รับผดิ ชอบและ มจี ติ สาธารณะ

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งมั่นในการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานให้เป็น
"การศึกษาขั้นพื้นฐานวิถีใหม่ วิถีคุณภาพ" มุ่งเน้นความปลอดภัยในสถานศึกษา ส่งเสริมโอกาสทางการ
ศึกษา ที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียม และบริหารจัดการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ จึงกำหนดนโยบาย
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕ ดงั นี้

๑. ด้านความปลอดภยั
พัฒนาระบบและกลไกในการดูแลความปลอดภัยให้กับผเู้ รยี น ครู และบุคลากรทางการศกึ ษาและ
สถานศกึ ษา จากภยั พิบัติและภยั คุกคามทุกรูปแบบ รวมถงึ การจัดสภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการมีสุขภาวะ
ทด่ี ีสามารถปรบั ตวั ต่อโรคอุบตั ใิ หมแ่ ละโรคอุบตั ซิ ้ำ

รายงานการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศกึ ษาของ อ.ก.ต.ป.น. ภาคเรียนท่ี 1/2564
ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาระนอง

๒. ดา้ นโอกาส
๒.1 สนับสนุน ให้เด็กปฐมวัยได้เข้าเรยี นทุกคน มีพัฒนาการที่ดี ทั้งทางร่างกาย จิตใจ วินัย

อารมณ์ สังคม และสติปญั ญา ใหส้ มกับวยั
๒.๒ ดำเนินการ ให้เด็กและเยาวชนได้รับการศึกษาจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน อย่างมี

คุณภาพตามมาตรฐาน วางรากฐานการศึกษาเพ่ืออาชีพ สามารถวิเคราะห์ตนเองเพือ่ การศกึ ษาต่อ และ
ประกอบอาชีพตรงตามศักยภาพและความถนัดของตนเอง รวมทั้งส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนที่มี
ความสามารถพเิ ศษสู่ความเป็นเลิศ เพอ่ื เพ่ิมขดี ความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ

๒.๓ พัฒนาระบดแู ลชว่ ยเหลือเด็กและเยาวชนท่ีอยู่ในการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน เพอ่ื ปอ้ งกันไม่ให้
ออกจากระบบการศกึ ษา รวมท้งั ชว่ ยเหลอื เด็กตกหลน่ และเด็กออกกลางคนั ให้ได้รบั การศกึ ษาชัน้ พื้นฐาน
อยา่ งเทา่ เทียมกนั

๒.๔ สง่ เสรมิ ใหเ้ ด็กพิการและผู้ด้อยโอกาส ให้ไดร้ บั โอกาสทางการศึกษาทม่ี ีคุณภาพมีทักษะ
ในการดำเนินชีวิต มีพื้นฐานในการประกอบอาชีพ พึ่งตนเองได้อย่างมีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

3. ด้านคุณภาพ
3.1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีความรู้ มีทักษะการเรียนรู้และทักษะที่จำเป็นของ

โลกในศตวรรษที่ ๒๑ อย่างครบถ้วน เป็นคนดี มีวินัย มีความรักในสถาบันหลักของชาติ ยึดมั่นการ
ปกครอง ในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมุข มที ศั นคตทิ ี่ถูกต้องต่อบา้ นเมือง

3.๒ พัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะด้านการอ่าน คณิตศาสตร์ การคิดชั้นสูง
นวัตกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีดิจิทัล และภาษาต่างประเทศ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการ
แข่งขัน และการเลือกศกึ ษาต่อเพื่อการมีงานทำ

๓.3 ปรับหลักสูตรเป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะ ที่เน้นการพัฒนาสมรรถนะหลักที่จำเป็นใน
แต่ละระดับ จัดกระบวนการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติจริง รวมทั้งส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่สร้างสมดลุ
ทุกด้านส่งเสริมการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาพหุปัญญา พัฒนาระบบการวัดและประเมินผลผู้เรียนทุก
ระดบั

3.4 พัฒนาครูและบุคลากทางการศึกษา ให้เป็นครูยุคใหม่ มีศักยภาพในการจัดการเรียน
การสอนตามหลักสูตรฐานสมรรถนะ มีทักษะในการปฏิบัติหน้าที่ได้ดี มีความรู้ความสามารถในการใช้
เทคโนโลยีดิจิทัลมกี ารพฒั นาตนเองทางวิชาชพี อยา่ งต่อเน่ือง รวมทั้งมจี ติ วญิ ญาณความเปน็ ครู

๔. ด้านประสทิ ธิภาพ
๔.๑ พัฒนาระบบบริหารจัดการโดยใช้พื้นที่เป็นฐาน มีนวัตกรรมเป็นกลไกหลักในการ

ขบั เคล่ือนบนฐานขอ้ มลู สารสนเทศทถ่ี กู ต้อง ทันสมยั และการมสี ว่ นร่วมของทกุ ภาคสว่ น
๔.๒ พัฒนาโรงเรียนมัธยมดีสี่มุมเมือง โรงเรียนคุณภาพของชุมชน โรงเรียนขนาดเล็กและ

โรงเรียนที่สามารถดำรงอยู่ได้อย่างมีคุณภาพ (Stand Alone) ให้มีคุณภาพอย่างยั่งยืน สอดคล้องกับ
บริบทของพน้ื ที่

รายงานการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศกึ ษาของ อ.ก.ต.ป.น. ภาคเรียนท่ี 1/2564
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำนักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาระนอง

๔.๓ บริหารจดั การโรงเรยี นขยายโอกาสทางการศึกษา ทมี่ จี ำนวนนกั เรียนช้ันมัธยมศึกษา ปี
ที่ ๑-๓ น้อยกว่า ๒๐ คน ให้ได้รับการศึกษาอย่างมีคุณภาพ สอดคล้องกับนโยบายโรงเรียนคุณภาพของ
ชมุ ชน

4.๔ ส่งเสริมการจัดการศึกษที่มีคุณภาพในสถานศึกษาที่มีวัตถุประสงค์เฉพาะ และ
สถานศกึ ษาท่ตี ั้งในพ้ืนทล่ี ักษณะพิเศษ

๔.๕ สนับสนุนพื้นท่ีนวตั กรรมการศึกษาให้เป็นต้นแบบการพัฒนานวัตกรรมการศึกษา และ
การเพิ่มความคลอ่ งตวั ในการบรหิ ารและการจัดการศึกษาข้นั พื้นฐาน

๔.๖ เพ่ิมประสทิ ธภิ าพการนิเทศ ตดิ ตามและประเมินผลการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน

ทศิ ทางการพัฒนาการศกึ ษาของสำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาระนอง
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง ได้ศึกษากรอบยุทธศาสตร์ชาติ แผนการศึกษา

แห่งชาติ และแผนพัฒนาการศึกษา ระดับกระทรวง สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
จังหวัดระนอง และนโยบายสำคัญทุกระดับ รวมทั้งได้วิเคราะห์บริบทด้านการจัดการศึกษา โดยการมี
ส่วนร่วมของผ้เู กยี่ วขอ้ ง ไดก้ ำหนดทิศทางการจดั การศึกษาปงี บประมาณ 2564 ดังน้ี

คุณธรรมอตั ลกั ษณ์ ประกอบด้วย “วนิ ยั ดี มจี ิตอาสา รู้คา่ พอเพยี ง”
วสิ ัยทัศน์ (Vision)

“พัฒนาองค์กรคุณธรรม ส่งเสริมคุณภาพการศึกษา บนพื้นฐานความเป็นไทย ภายใต้การมี
สว่ นรว่ มสู่ศตวรรษที่ ๒๑”

พนั ธกิจ (Mission)
๑. ส่งเสรมิ และสนับสนุนให้ประชากรวัยเรียนทกุ ช่วงช้ันวัย ไดร้ ับการศกึ ษาอยา่ งทว่ั ถึง
2. ส่งเสริมการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ คุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์

ตามหลกั สูตร และมที ักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21
3. พฒั นาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาให้เป็นมอื อาชีพอย่างต่อเนื่อง
4. พัฒนาระบบบริหารจัดการแบบบูรณาการท่ีมุ่งผลสัมฤทธิ์ โดยยึดหลักธรรมาภิบาล เพ่ือ

เสริมสรา้ งคณุ ภาพการจัดการศกึ ษา
เปา้ ประสงค์ (Goals)
1. นักเรียนระดับก่อนประถมศึกษา และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกคน มีพัฒนาการที่

เหมาะสมตามช่วงวยั มคี ณุ ธรรม คณุ ภาพสมู่ าตรฐานสากล
2. ประชากรวยั เรียนทกุ คนได้รบั โอกาสในการศกึ ษาขัน้ พื้นฐานอย่างทว่ั ถงึ และเป็นธรรม
3. ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และบุคลากรทางการศึกษา มีทักษะและวัฒนธรรมการ

ปฏิบัติงานท่เี หมาะสมและมุ่งเน้นผลสมั ฤทธ์ิ
4. สถานศึกษามีประสิทธภิ าพ ขบั เคลอ่ื นการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน ให้มีคณุ ภาพสูม่ าตรฐานสากล
5. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง มีมาตรฐานและมปี ระสิทธิภาพในการ

ขบั เคลอื่ นการจัดการศึกษาโดยเน้นการมีส่วนร่วมของทุกภาคสว่ น

รายงานการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศกึ ษาของ อ.ก.ต.ป.น. ภาคเรียนที่ 1/2564
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาระนอง

กลยทุ ธ์ (Strategy)
กลยุทธ์ท่ี 1 ส่งเสริมการจัดการศกึ ษาเพื่อความม่ันคงของมนษุ ย์
กลยทุ ธ์ท่ี 2 พัฒนาสมรรถนะผู้เรียนเพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันและทักษะ

การเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21
กลยทุ ธ์ท่ี 3 พัฒนาประชากรวัยเรียนทุกช่วงวัย และเสริมสร้างศักยภาพครูและบุคลากร

ทางการศกึ ษา
กลยทุ ธ์ที่ 4 สร้างโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษาที่มีคุณภาพ มีมาตรฐาน และลด

ความเหล่อื มลำ้ ทางการศึกษา
กลยทุ ธท์ ่ี ๕ จัดการศึกษาเพอ่ื พฒั นาคุณภาพชวี ิตท่ีเป็นมิตรกบั สง่ิ แวดลอ้ ม
กลยทุ ธ์ที่ 6 ปรับสมดุลและพฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการศกึ ษา

บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาของเขตพื้นท่ี
การศึกษา ตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการตรวจราชการ การติดตาม ตรวจสอบและ
ประเมนิ ผลการจัดการศึกษา พ.ศ.2560

ระเบยี บกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการตรวจราชการ การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการ
จัดการศึกษา พ.ศ.2560 ส่วนท่ี 4 การติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ระดับเขต
พื้นที่การศึกษา ข้อ 25 การติดตาม ประเมินผลและนิเทศการบริหารและการดำเนินการ โดยมุ่ง
ผลสัมฤทธิ์ของหน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดพื้นที่การศึกษา เพื่อเตรียมการรับการนิเทศ ติดตาม
และประเมินผลของเขตพื้นที่การศึกษา ตามกฎกระทรวงว่าด้วยการ กำหนดจำนวน หลักเกณฑ์ และ
วิธีการได้มาของคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาของเขตพื้นท่ี
การศกึ ษา มีอำนาจหน้าที่ดังตอ่ ไปนี้

1. ส่งเสริม สนับสนุนให้มีการนำมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน มากำหนดเป็นแนวทางในการ
ติดตามประเมินผล และนิเทศการบริหารและการดำเนินการของหน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดเขต
พ้นื ที่การศึกษา

2. กำหนดแนวทางการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย การบริหารและการดำเนินการของหน่วยงานและ
สถานศกึ ษาในสงั กัดเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา

3. พิจารณาแผนการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา โดยมุ่งเน้นผลสัมฤทธ์ิ
ของหนว่ ยงานและสถานศกึ ษาในสังกดั เขตพ้ืนทีก่ ารศึกษา

4. ตดิ ตาม ประเมินผลและนิเทศการบริหารและการดำเนินการตามแผนทกี่ ำหนด
5. รบั ทราบผลการติดตาม ประเมนิ ผล และนิเทศการบริหารและการดำเนินการตามแผน และให้
ข้อเสนอแนะ เพ่ือการปรบั ปรุงและพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาอย่างตอ่ เน่ือง
6. ส่งเสริมให้มีการประสานติดตาม ประเมินผลและนิเทศการศึกษากับคณะกรรมการและ
หน่วยงานท่เี กีย่ วขอ้ ง
7. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลการจดั การศึกษา ตามความจำเป็น
8. ปฏบิ ตั ิงานอื่นใดตามที่ได้รับมอบหมาย

รายงานการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศึกษาของ อ.ก.ต.ป.น. ภาคเรียนท่ี 1/2564
ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สำนกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาระนอง

แนวทางการเตรียมความพร้อมการเปดิ เรยี นภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564
ตามหนังสือสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ด่วนที่สุด ที่ ศธ

04001/ว 6458 ลงวันที่ 20 พฤษภาคม 2564 เรอื่ ง การเปิดภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564
มาตรการการประเมินความพร้อมการเปิดภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ของสถานศึกษา

สงั กดั สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
๑. สถานศึกษาประเมนิ ตนเองเตรียมความพรอ้ มก่อนเปิดภาคเรยี นตามแบบประเมนิ ตนเอง

รปู แบบของ Digital Platform ผ่านระบบ Thai Stop Covid Plus (TSC) กรมอนามยั สาธารณสขุ
๑.๑ กรณี ผลการประเมินของตนเองตามแบบการประเมิน (T5C) ผลการประเมิน

ตนเองได้ระดับสีเขียวหรือสีเหลืองให้สถานศึกษาสามารถจัดกรเรียนการสอนได้ ทั้งนี้ ต้องได้รับการ
อนุมตั จิ ากศูนยป์ ฏบิ ตั ิการควบคมุ โรคติดต่อจงั หวัด (ศปก จ.) เพ่ือทำการเปิดเรยี นในรูปแบบท่ีสอดคล้อง
กับบริบทของสถานศึกษาโดยให้เสนอกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานรับทราบ และขออนุมัติต่อ
คณะกรรมการควบคุมโรคติดตอ่ จงั หวัด (ศบค.จงั หวดั ) เปิดเรียนต่อไป

๑.๒ กรณี ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาได้ระดับ (สีแดง) ให้สถานศึกษา
ทบทวนประเด็นการประเมินข้อนั้น เพื่อปรับปรุงให้เป็นไปตามกรอบแนวทางมาตรการของกรมอนามยั
กระทรวงสารารณสุข และทำการประเมินตนเองอีกครั้ง ทั้งนี้ ให้สถานศึกษาเสนอรูปแบบการจัดการ
เรียน การสอนต่อกรรมการสถานศึกษาเพื่อขออนุมัติจัดการเรียนการสอนต่อศูนย์ปฏิบัติการควบคุม
โรคตดิ ตอ่ จังหวดั (ศบค.)

2. สถานศึกษาจัดสภาพแวดล้อม อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องเรียนรวม และพื้นที่ร่วมกัน
ให้มีการเว้นระยะห่าง ๑.๕ เมตร ตามแนวปฏิบัติด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ในคู่มือการปฏิบัติสำหรับ
สถานศกึ ษาในการปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19

๓. สถานศึกษาปฏิบัติตามกรอบแนวทาง ๖ มิติ ได้แก่ การดำเนินงานเพื่อความปลอดภัย
การเรียนรู้ การครอบคลมุ ถงึ เด็กด้อยโอกาส สวัสดิภาพและการคุ้มครอง นโยบาย และการเงนิ ที่มีความ
เชื่อมโยงกับมาตรการป้องกันโรคเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของ
ศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (ศบค.) อันจะเป็นการ
วางแผนทจี่ ะชว่ ยสร้างเสริมความเข้มแขง็ ด้านการคุ้มครองสุขภาพและความปลอดภัยของนักเรียน โดย
มีมาตรการควบคุมหลักในมติ กิ ารดำเนินงาน เพ่ือความปลอดภัยจากการลดการแพร่เช้ือโรค ๖ ข้อปฏบิ ตั ิ
ในสถานศกึ ษา ไดแ้ ก่ 1. คดั กรองวัดไข้ ๒. สวมหนา้ กาก 3. ลา้ งมือ ๔. เว้นระยะหา่ ง ๕. ทำความสะอาด
๖. ลดแออดั

๔. สถานศึกษาดำเนินการเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โดย
การประสานงานกับหน่วยงานในพื้นที่ได้แก่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล สาธารณสุขอำเภอหรือ
หน่วยงานองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ เพอ่ื ความปลอดภัยของนกั เรยี น ครู บุคลากร ในสถานศกึ ษา

รายงานการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศกึ ษาของ อ.ก.ต.ป.น. ภาคเรียนที่ 1/2564
ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาระนอง

๑๐

ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การเสื่อนเวลาเปิดภาคเรียนที่ ๑ ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๔

ของกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศกำหนดแนวปฏิบัติการเบิดเรียน ภาคเรียนท่ี
๑ ประจำปกี ารศึกษา ๒๕64 ดังนี้

ข้อ 1 ให้โรงเรียนและสถานศึกษาในสังกัดและในกำกับของกระทรวงศึกษาธิการเลื่อนการ
เปดิ เรยี นภาคเรียนท่ี ๑ ประจำปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ เป็นวนั ท่ี ๑๔ มิถนุ ายน ๒๕๖๔

ข้อ 2 โรงเรียนหรือสถานศึกษาแห่งใดมีความพร้อม และประสงค์จะเปิดภาคเรียนที่ ๑
ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๔ ก่อนวันที่กำหนดตามข้อ 1 ให้โรงเรียนหรือสถานศึกษาแห่งนั้นดำเนินการ
ดงั นี้

(๑) โรงเรียนหรือสถานศึกษาที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด (สีแดงเข้ม)
ให้จัดการเรียนการสอนเฉพาะรูปแบบการจัดการศึกษาทางใกล (On Air, Online, On Demand,
On Hand ผ่านทางไปรษณยี เ์ ทา่ นัน้ )

(๒) โรงเรียนหรือสถานศึกษาที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ควบคุมสูงสุด (สีแดง) หรือพื้นที่ควบคุม
(สีส้ม) สามารถจัดการเรียนการสอนได้ทั้ง ๕ รูปแบบ (On Site, On Air, Online, On Hand,
On Demand) โดยรูปแบบ On site นั้น โรงเรียนหรือสถานศึกษาต้องผ่านเกณฑ์การประเมินความ
พร้อมของระบU Thai Stop Covid + (TSC +) และได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการโรคติดต่อ
จงั หวัดกอ่ น

ท้ังนี้ โรงเรียนและสถานศึกษาในสังกัดและในกำกับของกระทรวงศึกษาธิการต้องปฏิบัติตาม
มาตรการของกระทรวงสาธารณสขุ โดยเครง่ ครดั

รายงานการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศกึ ษาของ อ.ก.ต.ป.น. ภาคเรียนที่ 1/2564
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาระนอง

๑๑

ส่วนที่ 3
วธิ ีการดำเนนิ งาน

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง ได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของการจัด
การศึกษา เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ที่สอดคล้องกับสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 (COVID – 19) และหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2๕๕1 ในภาคเรียนที่
1 ปีการศึกษา 2564 ให้เกิดประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ของโรงเรียนในสังกัด โดยเน้นความ
ปลอดภยั ของนักเรยี น ขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาทุกคน โดยดำเนนิ การดงั นี้

1. สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง จดั ประชุมผู้บริหารสถานศกึ ษาในสังกัดด้วย
ระบบ Video Conference ด้วย Google Meet ผ่านศูนย์เครือข่ายการจัดการศึกษาทั้ง 8 เครือข่าย
เพื่อชี้แจงแนวทางการเตรียมความพร้อมการเปิดภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 ในวันที่ 29
เมษายน 2564

2. ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง ประชุมรับนโยบายและ
แนวทางการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) โดยแจ้งประชาสัมพันธ์ให้ผู้บริหารสถานศึกษา ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ร่วมรับฟังนโยบายและแนวทางการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ในวนั ท่ี 11 พฤษภาคม 2564

3. สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาระนอง และโรงเรียนในสังกัด จำนวน ๗๗ โรงเรียน
1 สาขา ร่วมประชุมผ่านระบบการสื่อสารสองทาง (Video conference) เพื่อชี้แจงและมอบนโยบาย
แนวทางการจัดการเรียนการสอนทางไกล ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 ในสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น
พืน้ ฐาน ในวันท่ี 28 พฤษภาคม 2564

4. สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาระนอง จดั ประชุมผบู้ ริหารสถานศกึ ษาในสังกัดด้วย
ระบบ Video Conference ด้วย Google Meet ผ่านศูนย์เครือข่ายการจัดการศึกษาทั้ง 8 เครือข่าย
เพ่ือชแี้ จงและมอบนโยบายแนวทางการจดั การเรียนการสอนทางไกล ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ของสำนักงานเขตพื้นท่ี
การศกึ ษาประถมศึกษาระนอง ในวันท่ี 29 เมษายน 2564

5. สำนกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาระนอง จดั ทำแนวปฏบิ ตั ิการเตรียมความพร้อมก่อน
เปิดภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 เพื่อให้โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาระนอง ได้ทราบและยึดปฏิบัติเป็นแนวเดียวกัน ในการเตรียมความพร้อมก่อ นเปิด

รายงานการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศกึ ษาของ อ.ก.ต.ป.น. ภาคเรียนที่ 1/2564
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาระนอง

๑๒

ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19)

6. โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง ดำเนินการตามแนว
ปฏบิ ตั ิการเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 ในสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

7. มติการประชุมคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดระนอง ครั้งท่ี 36/2564 ลงวันที่ 4 มิถุนายน
พ.ศ. 2564 พิจารณาเห็นชอบและอนุมตั ิให้สถานศกึ ษาทั้ง 97 แห่ง ที่ผ่านเกณฑ์ประเมิน ความพร้อม
ตามแบบประเมินผ่านระบบ Thai Stop Covid ของกรมอนามัย ได้เปิดการเรียนการสอนตามกำหนด
โดยใหป้ ฏิบัตติ ามเงื่อนไขและมาตรการ ท่สี าธารณสขุ กำหนด

8. มติที่ประชุม คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ของเขตพื้นที่
การศึกษา (ก.ต.ป.น.) คร้ังท่ี 1/2564 วันที่ 11 มิถุนายน 2564 รับทราบผลการประเมินตนเอง ตาม
แบบประเมินผ่านระบบ Thai Stop Covid ของกรมอนามัย และพิจารณารูปแบบการจัดการเรียนการ
สอนตามท่ีโรงเรียนกำหนด เป็นไปตามมติการประชุมคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดระนอง ครั้งท่ี
36/2564 ลงวนั ท่ี 4 มถิ ุนายน พ.ศ. 2564 พรอ้ มทง้ั เห็นชอบให้คณะอนุกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ
ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ของเขตพื้นที่การศึกษา (อ.ก.ต.ป.น.) ลงติดตามการเตรียมความพร้อม
และการจดั การเรียนการสอนตามรปู แบบทีโ่ รงเรยี นกำหนด ในระหวา่ งวันที่ 14-18 มถิ ุนายน 2564

๙. การตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการของคณะอนุกรรมการติดตาม ตรวจสอบ
ประเมนิ ผลและนิเทศการศึกษา ของเขตพ้นื ท่ีการศึกษา (อ.ก.ต.ป.น.) มีวธิ ีการดำเนนิ งาน ดังน้ี

9.1. ประชุมคณะอนุกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ของเขต
พื้นที่การศึกษา (อ.ก.ต.ป.น.) เพื่อวางแผนการดำเนินงาน รวบรวมข้อมูลนโยบายสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน แนวทางการเตรียมความพร้อมการเปิดเรียนภาคเรียนที่ 1
ปีการศึกษา 2564 และศกึ ษาเอกสารทเ่ี กย่ี วขอ้ ง

9.2. จัดทำเครื่องมือติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา
2564 ของคณะอนุกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ของเขตพื้นท่ี
การศกึ ษา (อ.ก.ต.ป.น.) แบ่งเปน็ 3 ตอน ประกอบดว้ ย

ตอนท่ี ๑ ขอ้ มูลทั่วไป
ตอนที่ 2 การตรวจสอบการปฏิบัติงาน
ตอนท่ี 3 ขอ้ ค้นพบจากการตดิ ตาม
9.3 คณะอนุกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ของเขตพื้นที่
การศกึ ษา (อ.ก.ต.ป.น.) ตามคำส่งั สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง ที่ ๓๓๔/2563 ลง
พ้ืนที่ ติดตามสถานศกึ ษาในชว่ งสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-
19) ในระหวา่ งวันที่ 14-18 มิถุนายน 2564 ประกอบด้วย

รายงานการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศกึ ษาของ อ.ก.ต.ป.น. ภาคเรียนที่ 1/2564
ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาระนอง

๑๓

เครอื ขา่ ยที่ ช่ือเครือข่าย คณะอนกุ รรมการตดิ ตาม โรงเรยี นในเครอื ขา่ ย
1 เพชรอนั ดามัน
นางนวลจริ า ธรรมสริ พิ ร บา้ นเกาะช้าง
2 คุรุรัตนรังสรรค์
นักวชิ าการศกึ ษา บา้ นเกาะสนิ ไห
๓ หงาว-โตนเพชร
นายปรชี าพล ทองพลอย วัดหาดส้มแป้น
4 ละอุ่นก้าวหน้า
ศกึ ษานเิ ทศก์ บ้านปากน้ำ

นางสาวเนตรทิพย์ วชิ ิต บา้ นบางริ้น

นกั ทรัพยากรบุคคล ระนองพฒั นามิตรภาพท่ี 60

บ้านเกาะเหลา

บา้ นเกาะพยาม

บ้านบางกลาง

นางวไิ ลลกั ษณ์ จลุ เสนีย์ชร บ้านหนิ ดาด

นักวชิ าการการเงินและบัญชี บ้านทรายแดง

นางสาวอจั ฉราวดี อรา่ มวิทยานุกลู ชาติเฉลมิ
ศึกษานเิ ทศก์
บ้านบางนอน
นางมณวดี ดลุ ยรัตน์
อนุบาลระนอง
นกั วเิ คราะหน์ โยบายและแผน บา้ นเขานางหงส์

บ้านหนิ ชา้ ง

เอกศลิ ป์ราษฎร์พฒั นา

บา้ นบางสีกม้ิ

นางสาวธนพร กุลสวสั ดิ์ บ้านหาดทรายดำ

นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผน บ้านหาดทรายดำ (สาขาหนา้ นอก)

นางเพญ็ ณี แกว้ เกื้อกูล บา้ นทา่ ฉาง

ศกึ ษานิเทศก์ บ้านนกงาง

นางสาวศิริญญา บุหงา บ้านคลองของ

นกั วชิ าการการเงนิ และบัญชี บ้านทุ่งหงาว

บ้านขจัดภยั

บ้านราชกรูด

นางรัชฎาภรณ์ กฤติยาโชตปิ กรณ์ ท่งุ ตาพลวทิ ยา

นกั วิชาการการเงนิ และบัญชี บ้านปากแพรก

นางสาวช่อเพชร พฤกษว์ รุณ ทบั ไชยาพัฒนา

ศกึ ษานิเทศก์ บา้ นเขาฝาชี

นางสาวกลั ยวรรธณ์ อนิ ริสพงษ์ วดั ช่องลม

นิตกิ ร บ้านละอนุ่ ใต้

ระวิราษฎรบ์ ำรุง

บา้ นบางขนุ แพ่ง

รายงานการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศึกษาของ อ.ก.ต.ป.น. ภาคเรียนที่ 1/2564
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาระนอง

๑๔

เครือข่ายท่ี ชอื่ เครอื ข่าย คณะอนกุ รรมการติดตาม โรงเรียนในเครือขา่ ย
5 กะเปอรพ์ ฒั น์ นางสาวพนิตนนั ท์ เพชรนาค
ประชาอทุ ศิ
6 ปทั มครี ี นกั ทรพั ยากรบุคคล บ้านทองหลาง
นางศภุ ศริ ิ ชัยวชั รนิ ทร์ บ้านชาคลี
7 คอคอดกระ บ้านสำนัก
- ศึกษานิเทศก์ บา้ นหว้ ยเสียด
นางอุราวรรณ ผ้วู านิช บา้ นบางเบน
พระขยางค์ บา้ นบางหิน
นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ชนมพ์ ัฒนา
นางสาวนงลกั ษณ์ ทองบางหรง อนุบาลบา้ นดา่ น
บา้ นเชี่ยวเหลยี ง
นักวชิ าการศึกษา บา้ นนา
บา้ นบางปรุ
นางอรณุ ศรี ศิลาพนั ธ์
นักวิชากรตรวจสอบภายใน บ้านควนไทรงาม
บ้านภูเขาทอง
นางสาวสุวรรณี คงทองจีน บา้ นบางกล้วยนอก
ศกึ ษานเิ ทศก์ ไทยรฐั วิทยา 67 (บ้านนาพรุ)
บา้ นสขุ สำราญ
นางสุภาณี เลิศศกั ด์ิวานชิ บ้านกำพวน
นกั ประชาสมั พนั ธ์ บ้านบางมัน
บา้ นแหลมนาว
นางอรพินท์ คงทอง บ้านทะเลนอก
นกั วชิ าการศึกษา
บา้ นทับจาก
นายษณกร เสนาะเสียง บา้ นบางสองรา
ศกึ ษานิเทศก์ ไทยรัฐวิทยา 97 (บา้ นบางบอน)
บา้ นลำเลยี ง
นางภทั รานิษฐ์ อกั ษรพบิ ลู ย์ บา้ นสองแพรก
นกั ทรัพยากรบคุ คล บา้ นบกกราย
บา้ นบางกงุ้
บา้ นดอนกลาง (เรียนรวม)
บา้ นปลายคลอง
กระบรุ ี
บ้านน้ำจดื น้อย
มัชฌิมวทิ ยา

รายงานการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศึกษาของ อ.ก.ต.ป.น. ภาคเรยี นท่ี 1/2564
ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาระนอง

๑๕

เครือข่ายท่ี ชื่อเครอื ขา่ ย คณะอนุกรรมการติดตาม โรงเรยี นในเครือขา่ ย
8 ศลิ าสลกั
นางวราพร แสงแป้น บ้านสองพน่ี ้อง
นกั จดั การงานทัว่ ไป ทับหลสี ุรยิ วงศ์
วัดสุวรรณคีรี
นางนนั ท์นภสั สักขาพรม บ้านคลองเงิน
ศกึ ษานเิ ทศก์ บา้ นหาดจกิ
บ้านหนองจกิ
นางสุดา เจีย่ กุญธร บ้านหินววั
นกั วชิ าการพัสดุ นคิ มสงเคราะห์
บา้ นทุ่งมะพรา้ ว
นางอัจฉรา วเิ ศษ เพยี งหลวง ๑๕
นกั ทรพั ยากรบุคคล บา้ นน้ำขาว

9.4 จัดประชุมสะท้อนผลการติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา ภาคเรียนที่ ๑
ปีการศึกษา 2564 คณะอนุกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ของเขตพื้นท่ี
การศึกษา (อ.ก.ต.ป.น.) ในวันที่ 25 มิถุนายน 2564 ณ ห้องประชุมปะการัง สำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศกึ ษาระนอง

9.5 จัดทำรายงานสรุปผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาของ
คณะอนุกรรมการ ติดตาม ตรวจสอบประเมินผลและนิเทศการศึกษา (อ.ก.ต.ป.น.) ภาคเรียนที่ ๑
ปีการศึกษา 2564 ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ของสำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาระนอง

รายงานการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศกึ ษาของ อ.ก.ต.ป.น. ภาคเรียนท่ี 1/2564
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาระนอง

๑๖

สว่ นท่ี 4
ผลการดำเนินงาน

ผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาของคณะอนุกรรมการ ติดตาม
ตรวจสอบประเมินผลและนิเทศการศึกษา (อ.ก.ต.ป.น.) ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา 2564
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของสำนักงานเขตพื้นที่
การศกึ ษาประถมศกึ ษาระนอง

ตอนท่ี 1 ข้อมลู สถานศกึ ษา
1.1 จำนวนโรงเรยี น 77 โรงเรยี น 1 สาขา
1.2 จำนวนผูบ้ ริหาร ๗๔ คน (ผ้อู ำนวยการโรงเรียน 65 คน รองผู้อำนวยการโรงเรียน 9 คน)
1.3 จำนวนบุคลากรทางการศกึ ษา รวมทั้งหมด 685 คน (ขอ้ มลู ณ วันที่ ๒๕ มถิ ุนายน 2564)
1.4 จำนวนนกั เรียน รวมทั้งหมด 16,248 คน (ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี ๒๕ มถิ ุนายน 2564)
1.5 รูปแบบการจดั การเรยี นการสอน (เสนอ ศบค.ระนอง)
1. เปิดเรยี นวันที่ 1 มิถุนายน 2564 จำนวน 11 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 14.10
รปู แบบการจดั การเรียนการสอน
• On Hand จำนวน 5 โรงเรยี น คดิ เปน็ รอ้ ยละ 45.45
• Blended จำนวน 6 โรงเรียน คดิ เป็นร้อยละ 54.55
2. เปิดเรยี นวนั ที่ 7 มิถนุ ายน 2564 จำนวน 4 โรงเรียน คิดเป็นรอ้ ยละ 5.13
รปู แบบการจดั การเรยี นการสอน
• On Hand จำนวน 4 โรงเรยี น คดิ เป็นร้อยละ 100
3. เปิดเรยี นวนั ที่ 9 มิถนุ ายน 2564 จำนวน 1 โรงเรยี น คดิ เปน็ ร้อยละ 1.28
รปู แบบการจดั การเรยี นการสอน
• Blended จำนวน 1 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 100
4. เปดิ เรยี นวันท่ี 14 มิถนุ ายน 2564 จำนวน 62 โรงเรียน คิดเปน็ รอ้ ยละ 79.49
รูปแบบการจดั การเรียนการสอน
• On Hand จำนวน 9 โรงเรยี น คิดเปน็ ร้อยละ 14.52
• On SITE จำนวน 3 โรงเรียน คดิ เปน็ ร้อยละ 4.84
• Blended (จัดแบบผสมผสาน) จำนวน 50 โรงเรียน คิดเปน็ รอ้ ยละ 80.64
1.๖ รปู แบบการจดั การเรียนการสอนจริงในวนั ที่ 14 มิถุนายน 2564 เปิดเรียนครบทกุ

โรงเรยี น คิดเปน็ รอ้ ยละ 100
รูปแบบการจัดการเรยี นการสอน
• On SITE จำนวน 14 โรงเรยี น คดิ เป็นร้อยละ 17.9
• On Hand จำนวน 15 โรงเรียน คิดเป็นรอ้ ยละ 19.2
• Blended จำนวน 49 โรงเรยี น คิดเปน็ ร้อยละ 62.9

รายงานการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาของ อ.ก.ต.ป.น. ภาคเรยี นที่ 1/2564
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาระนอง

๑๗

ตอนที่ 2 การตรวจสอบการปฏิบัติงาน การเตรียมความพร้อมการเปิดภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา
2564 ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

ตารางที่ 1 ผลการพิจารณาตามรายการประเมินการปฏิบัติงานการจัดการศึกษา และ
ตรวจสอบการปฏิบัติงาน การเตรียมความพร้อมการเปิดภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 ใน
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ดา้ นการบรหิ ารงานทั่วไป

ที่ รายการ ผลจากการติดตาม จำนวนโรงเรยี น
๗๘
๑ เตรียมการจดั สภาพแวดลอ้ ม ภมู ิทัศน์ สะอาด รม่ รืน่ ปฏิบตั ิ 78
๗๘
สวยงาม ปลอดภัย
๗๘
๒ จดั เตรียมอาคารเรยี น ห้องเรียน หอ้ งปฏิบัติการ และ ปฏิบัติ

ส่ิงก่อสรา้ งอนื่ ๆ อยู่ในสภาพเหมาะสม พร้อมใช้งาน

๓ การบรหิ ารจดั การด้านอาหารกลางวนั และอาหาร ปฏบิ ตั ิ

เสริมนมเป็นไปตามระเบยี บ สอดคล้องกับรูปแบบ

การจัดการเรยี นการสอนทโี่ รงเรยี นกำหนด

๔ จดั เตรยี มการคัดกรอง จดุ คดั กรองและพืน้ ท่ีใช้สอย ปฏิบัติ

รว่ มกัน ตามแนวปฏิบัตดิ า้ นอนามยั สิ่งแวดล้อม ใน

คมู่ อื การปฏบิ ตั ิสำหรบั สถานศึกษาในการป้องกนั การ

แพร่ระบาดของโรคโควดิ 19 อยา่ งเคร่งครดั

จากตารางที่ ๑ พบว่า การเตรียมความพร้อมการเปิดภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา 2564
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ดา้ นการบริหารงานทั่วไป
ของโรงเรียนในสังกัด ทุกโรงเรียนมีการปฏิบัติเป็นอย่างดี มกี ารจดั สภาพแวดล้อม ปรับภูมิทัศน์ ท่ีสะอาด
ร่มรื่น สวยงามและปลอดภัย มีการจัดเตรียมอาคารเรยี น หอ้ งเรียน หอ้ งปฏิบตั ิการ อยใู่ นสภาพเหมาะสม
พร้อมใช้งาน มีการเตรียมการด้านอาหารกลางวันและอาหารเสริมนมสำหรับนักเรียน โดยประสานกับ
องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน มกี ารจดั เตรยี มการคัดกรอง จดุ คดั กรองและกำหนดพนื้ ท่ใี ช้สอยรว่ มกัน ตาม
แนวปฏิบัติด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ในคู่มือการปฏิบัติสำหรับสถานศึกษาในการป้องกันการแพร่ระบาด
ของโรคโควดิ 19 อย่างเคร่งครดั โดยไดร้ บั ความรว่ มมือจากเครือข่ายทง้ั ภายในและภายนอกโรงเรียนเป็น
อย่างดี โรงเรียนที่สามารถเป็นแบบอย่างได้ ได้แก่ โรงเรียนระนองพัฒนามิตรภาพที่ 60 โรงเรียนชาติ
เฉลิม โรงเรียนบ้านนกงาง โรงเรียนทุ่งตาพลวิทยา โรงเรียนอนุบาลบ้านด่าน โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 67
(บ้านนาพรุ) โรงเรียนบา้ นบางกุ้ง และ โรงเรยี นทบั หลสี ุริยวงศ์ เปน็ ต้น

รายงานการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศกึ ษาของ อ.ก.ต.ป.น. ภาคเรยี นที่ 1/2564
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาระนอง

๑๘

ตารางท่ี ๒ ผลการพิจารณาตามรายการประเมินการปฏิบัติงานการจัดการศกึ ษา และตรวจสอบ
การปฏบิ ัตงิ าน การเตรียมความพร้อมการเปดิ ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 ในสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ด้านการบรหิ ารงานบคุ คล

ที่ รายการ ผลจากการตดิ ตาม จำนวนโรงเรียน
ปฏิบัติ ๗๘
๑ มีการจัดประชุมครู จดั ทำคำส่ังมอบหมายงานและ
ปฏบิ ัตหิ น้าทีก่ ารสอนในปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ปฏิบตั ิ ๗๘

๒ คณะครมู าปฏบิ ัติหนา้ ที่ เตรยี มความพร้อมในการ
เปดิ ภาคเรียนท่ี ๑/๒๕๖๔ และการปดิ เรียนกรณี
พเิ ศษในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อ
ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) อยา่ งต่อเนื่อง

จากตารางที่ 2 พบว่า การเตรียมความพร้อมการเปิดภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา 2564
ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ด้านการบริหารงานบุคคล
ของโรงเรียนในสังกัด ทุกโรงเรียนมีการปฏิบัติเป็นอย่างดี มีการจัดทำคำสั่งมอบหมายงานและปฏิบัติ
หน้าที่สอนในปีการศึกษา 2564 และมีจัดประชุมผ่านทางไกล เพื่อลดการติดเชื้อ สำหรับการมาปฏิบัติ
หน้าที่ของครูพบว่ามาปฏิบัติหน้าที่อย่างต่อเนื่อง ในการเตรียมความพร้อมในการเปิดภาคเรียนที่ ๑
ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ และการปิดเรยี นกรณีพิเศษในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา
๒๐๑๙ (COVID-19) มีการอบรมให้ความรู้คณะครูในการจัดรูปแบบการสอนออนไลน์ การจัดทำสื่อและ
สง่ เสริมให้คณะครูเข้ารับการพัฒนาตนเองผ่านทางระบบออนไลน์

ตารางท่ี 3 ผลการพจิ ารณาตามรายการประเมนิ การปฏิบตั ิงานการจัดการศกึ ษา และตรวจสอบ
การปฏิบตั ิงาน การเตรยี มความพร้อมการเปิดภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 ในสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ด้านการบรหิ ารงานวิชาการ

ที่ รายการ ผลจากการติดตาม จำนวนโรงเรียน
๗๘
๑ มกี ารประชุมเลือกรูปแบบการจดั การเรียนการสอนท่ี ปฏบิ ัติ
๗๘
เหมาะสม ที่ตรงตามความต้องการของผู้ปกครอง ๗๘

นกั เรียนและคณะกรรมการสถานศึกษารบั ทราบ

๒ ระบรุ ูปแบบและแนวทางท่โี รงเรยี นเลือกใช้ในการ ปฏิบัติ

จัดการเรียนการสอน (เลือกได้หลายรปู แบบ)

๓ โรงเรียนจดั ทำกำหนดการสอน ตารางสอน ตาราง ปฏิบตั ิ

เรยี น กำหนดการสอนชดเชย และแผนการบรหิ าร

จัดการขึน้ เฉพาะในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรค

ตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19)

รายงานการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศกึ ษาของ อ.ก.ต.ป.น. ภาคเรยี นท่ี 1/2564
ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาระนอง

๑๙

ท่ี รายการ ผลจากการติดตาม จำนวนโรงเรยี น
๗๘
๔ มกี ารจัดทำเอกสารประกอบการจัดการเรยี นการสอน ปฏบิ ตั ิ
ตามรปู แบบที่โรงเรยี นเลือก และสง่ มอบให้กบั นกั เรียน ๗๘

ตามกำหนดการทโี่ รงเรียนกำหนด

5 มกี ำหนดการติดตาม ชว่ ยเหลือนกั เรียน และวางแผน ปฏิบตั ิ
การวดั และประเมินผลการจดั การศึกษาตามสภาพ

บริบทและรูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่โรงเรียน

กำหนด

จากตารางที่ 3 พบว่า การเตรียมความพร้อมการเปิดภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา 2564
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ด้านการบริหารงาน
วิชาการของโรงเรียนในสังกัด ทุกโรงเรียนมกี ารปฏิบัติเป็นอย่างดี มีการประชุมคณะครูและเปิดโอกาสให้
นกั เรยี นและผปู้ กครองเลือกรูปแบบการจัดการเรยี นการสอน จัดทำตารางสอนและกำหนดวันสอนชดเชย
ให้คณะกรรมการสถานศึกษาและผู้ปกครองนักเรียนรับทราบ มีการจัดทำแผนการสอนตามรูปแบบท่ี
โรงเรียนเลือก จัดทำเอกสาร และสื่อประกอบ พร้อมทั้งติดตามช่วยเหลือนักเรียนด้วยช่องทางและวิธีท่ี
หลากหลาย โรงเรียนที่สามารถเป็นแบบอย่างได้ในรูปแบบการจัดการเรียนการสอนและการติดตาม
ช่วยเหลือนักเรียนได้แก่ โรงเรียนบ้านหินดาด โรงเรียนอนุบาลระนอง โรงเรียนบ้านสองแพรก
และโรงเรียนอนบุ าลบา้ นด่าน เปน็ ตน้

ตารางที่ 4 ผลการพิจารณาตามรายการประเมินการปฏิบัติงานการจดั การศกึ ษา และตรวจสอบ
การปฏิบตั ิงาน การเตรียมความพร้อมการเปิดภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564 ในสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ด้านการบรหิ ารงานท่วั ไป

ท่ี รายการ ผลจากการตดิ ตาม จำนวนโรงเรียน
ปฏิบตั ิ 78
๑ แผนปฏบิ ตั ิการประจำปีการ/แผนงานโครงการ
รองรับในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ ปฏบิ ัติ ๗๘
ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19)

๒ การดำเนนิ งานตามโครงการสนับสนนุ คา่ ใช้จา่ ยใน
การศกึ ษาตั้งแตร่ ะดบั อนุบาลจนจบการศกึ ษาขนั้
พืน้ ฐาน

จากตารางที่ 4 พบว่า การเตรียมความพร้อมการเปิดภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา 2564
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ด้านการบริหารงาน
ทั่วไป ของโรงเรยี นในสงั กัด ทกุ โรงเรยี นมีการปฏิบตั ิเป็นอยา่ งดี ทุกโรงเรยี นมีการจดั ทำแผนปฏิบัติการ
ประจำปี มีแผนงานโครงการรองรับ เพื่อใช้ในการดำเนินงานในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติด
เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) และทุกโรงเรียนดำเนินงานตามโครงการสนับสนนุ ค่าใชจ้ ่ายในการ

รายงานการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศกึ ษาของ อ.ก.ต.ป.น. ภาคเรียนที่ 1/2564
ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาระนอง

๒๐

จดั การศกึ ษา ตง้ั แตร่ ะดับอนบุ าลจนจบการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ครบทุกรายการ
ประกอบด้วย ค่าจัดการเรียนการสอน ค่าหนังสือเรียน ค่าอุปกรณ์การเรียน ค่าเครื่องแบบนักเรียน
และคา่ กจิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี น

ตอนที่ 3 ข้อค้นพบอื่น ๆ จากการติดตาม การเตรียมความพร้อมการเปิดภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา
2564 ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

1. ด้านการบริหารงานทว่ั ไป
1.1 ความสะอาดของโรงเรียนและความพร้อมในการเตรียมจุดคัดกรอง เพื่อรองรับ

นกั เรยี นในวันเปิดภาคเรยี น ในภาพรวมทกุ โรงเรียนสะอาดและมคี วามพรอ้ ม
1.2 ชุมชนและภาคีเครือข่ายทุกโรงเรียนมีความเข้มแข็งให้ความร่วมมือและเชื่อมั่น

ศรัทธาครใู นโรงเรียน ช่วยเหลือในการบรหิ ารงาน
2. ด้านการบรหิ ารงานบุคคล
2.1 โรงเรียนมีการประชุมครูอย่างต่อเนื่อง ทั้งเป็นทางการและไม่เป็นทางการ โดยมี

การประยุกต์ใช้ Google Meet , Zoom และกลุ่มไลน์ในการประชมุ ทางไกล
2.2 ครูได้รับการฉีดวัคซีน มากกว่าร้อยละ 80 มีครูบางส่วนที่ไม่ฉีดเนื่องจากมีโรค

ประจำตัว และตงั้ ครรภ์
2.3 ครูมีการอบรมพัฒนาตนเองผ่านระบบออนไลน์ในรูปแบบที่หลากหลาย

สอดคลอ้ งกับหลกั สตู รและความต้องการพัฒนาตนเอง
3. ดา้ นการบรหิ ารงานวิชาการ
3.1 การสง่ เสริมดา้ นดจิ ทิ ลั แพลตฟอร์มให้กับครูผสู้ อน และผูเ้ รียน เพ่ือใช้เปน็ เครื่องมือ

ในการทำงานและการจัดการเรยี นรู้
3.๒ โรงเรียนมีการจัดทำปฏิทินการสอน 200 วัน โดยกำหนดวันสอนชดเชย และ

ดำเนินการแจ้งใหค้ ณะกรรมการสถานศกึ ษาและผู้ปกครองนักเรยี นทราบ
3.3 ครูมกี ารพัฒนารปู แบบการจดั การเรียนการสอน มีการจดั ทำส่อื ออนไลน์ บทเรียน

สำเร็จรปู และคลปิ การสอน
3.4 ครูมกี ารออกแบบการจัดการเรยี นรู้และการวัดผลประเมินผลท่หี ลากหลาย มีการ

นิเทศติดตามโดยใช้เทคโนโลยเี ป็นฐานในการดำเนนิ งาน
4. ด้านการบรหิ ารงานงบประมาณ
4.1 ทุกโรงเรียนมีการจัดทำแผนพัฒนาการศึกษา และแผนปฏิบัติการประจำปี มีการ

เสนอขออนมุ ัติคณะกรรมการสถานศึกษาเพ่อื ดำเนินการ

รายงานการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศึกษาของ อ.ก.ต.ป.น. ภาคเรียนท่ี 1/2564
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำนกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาระนอง

๒๑
4.2 โรงเรียนดำเนินการจัดซ้ือหนังสือเรยี นครบทุกวิชาและดำเนินการแจกจ่ายหนังสือ
เรยี น ค่าอปุ กรณ์การเรยี น คา่ เครอ่ื งแบบนักเรยี นให้นักเรียนเรยี บรอ้ ยแลว้
5. สภาพปญั หาอุปสรรค/ข้อเสนอแนะจากโรงเรียน
5.1 โรงเรียนส่วนใหญ่ใช้รูปแบบการสอน ON Hand เพียงอย่างเดียว ควรมกี ารสำรวจ
ความพร้อมและความต้องการของผู้เรียนและผู้ปกครอง และจัดการเรียนการสอนในรูปแบบท่ี
หลากหลาย
5.2 บางโรงเรียนยงั ไม่ได้รับจัดสรรอาหารเสริมนมจากองคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ
5.3 ได้รับจัดสรรอาหารกลางวันไม่ตรงตามจำนวนนักเรียน เนื่องจากมีการปรับเลื่อน
เวลาการรบั นกั เรียน

รายงานการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศกึ ษาของ อ.ก.ต.ป.น. ภาคเรยี นท่ี 1/2564
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำนกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาระนอง

๒๒

ส่วนที่ 5
สรปุ ผล และขอ้ เสนอแนะ

สรุปผล

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง ได้ดำเนินการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล
และนิเทศการศึกษาของคณะอนุกรรมการ ติดตาม ตรวจสอบประเมินผลและนิเทศการศึกษา
(อ.ก.ต.ป.น.) ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา 2564 ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 (COVID-19) ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง สรุปผลการ
ดำเนินการดังน้ี

โรงเรียนที่ได้รับการติดตามจำนวน ๗๗ โรงเรียน ๑ สาขา มีผู้บริหารจำนวน ๗๔ คน
(ผู้อำนวยการโรงเรียน 65 คน รองผู้อำนวยการโรงเรียน 9 คน) มีข้าราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษา รวมทั้งหมด 685 คน และจำนวนนักเรียนรวมทั้งหมด 16,248 คน (ข้อมูล ณ วันที่ ๒๕
มถิ นุ ายน 2564)

รูปแบบการจดั การเรยี นการสอน
๑. เปดิ เรียนวนั ท่ี 1 มิถุนายน 2564 จำนวน 11 โรงเรยี น คดิ เป็นร้อยละ 14.10
• On Hand จำนวน 5 โรงเรยี น คิดเปน็ รอ้ ยละ 45.45
• Blended จำนวน 6 โรงเรยี น คิดเป็นร้อยละ 54.55
2. เปดิ เรยี นวันท่ี 7 มถิ นุ ายน 2564 จำนวน 4 โรงเรยี น คดิ เปน็ รอ้ ยละ 5.13
• On Hand จำนวน 4 โรงเรยี น คิดเปน็ รอ้ ยละ 100
3. เปิดเรียนวันท่ี 9 มถิ ุนายน 2564 จำนวน 1 โรงเรยี น คิดเปน็ ร้อยละ 1.28
• Blended จำนวน 1 โรงเรียน คิดเปน็ รอ้ ยละ 100
๔. เปิดเรยี นวนั ท่ี 14 มิถนุ ายน 2564 จำนวน 62 โรงเรยี น คิดเป็นร้อยละ 79.49
• On Hand จำนวน 9 โรงเรยี น คิดเป็นร้อยละ 14.52
• On SITE จำนวน 3 โรงเรียน คิดเป็นรอ้ ยละ 4.84
• Blended (จัดแบบผสมผสาน) จำนวน 50 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 80.64
๕. ในวันที่ 14 มิถนุ ายน 2564 เปิดเรียนครบทกุ โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 100
• On SITE จำนวน 14 โรงเรียน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 17.9
• On Hand จำนวน 15 โรงเรยี น คดิ เป็นรอ้ ยละ 19.2
• Blended จำนวน 49 โรงเรยี น คดิ เปน็ รอ้ ยละ 62.9

การเตรยี มความพร้อมการเปิดภาคเรียนที่ ๑ ปกี ารศึกษา 2564 ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ด้านการบริหารงานทั่วไป ของโรงเรียนในสังกัด
ทุกโรงเรียนมีการปฏิบัติเป็นอย่างดี มีการจัดสภาพแวดล้อม ปรับภูมิทัศน์ ท่ีสะอาด ร่มรื่น สวยงาม
และปลอดภัย มีการจัดเตรียมอาคารเรียน ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ อยู่ในสภาพเหมาะสม พร้อมใช้งาน

รายงานการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาของ อ.ก.ต.ป.น. ภาคเรียนที่ 1/2564
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาระนอง

๒๓

มีการเตรียมการด้านอาหารกลางวันและอาหารเสริมนมสำหรับนักเรียน โดยประสานกับองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น มีการจัดเตรียมการคัดกรอง จุดคัดกรองและกำหนดพื้นที่ใช้สอยร่วมกัน ตามแนวปฏิบัติ
ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ในคู่มือการปฏิบัติสำหรับสถานศึกษาในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรค
โควิด 19 อย่างเคร่งครัด โดยได้รับความร่วมมือจากเครือข่ายทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน โรงเรียน
ที่สามารถเป็นแบบอย่างได้ ได้แก่ โรงเรียนระนองพัฒนามิตรภาพที่ 60 โรงเรียนชาติเฉลิม โรงเรียนบ้าน
นกงาง โรงเรียนทงุ่ ตาพลวทิ ยา โรงเรยี นอนุบาลบ้านดา่ น โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 67 (บา้ นนาพรุ) โรงเรียน
บา้ นบางกุ้ง และ โรงเรยี นทบั หลีสุรยิ วงศ์ เป็นตน้

การเตรยี มความพร้อมการเปดิ ภาคเรียนท่ี ๑ ปกี ารศึกษา 2564 ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ด้านการบริหารงานบุคคล ของโรงเรียนในสังกัด ทุก
โรงเรียนมีการปฏิบัติเป็นอย่างดี มีการจัดทำคำสั่งมอบหมายงานและปฏิบัติหน้าที่สอนในปีการศึกษา
2564 และมจี ัดประชุมผา่ นทางไกล เพ่ือลดการตดิ เชอื้ สำหรบั การมาปฏิบัตหิ นา้ ที่ของครูพบวา่ มาปฏิบัติ
หน้าที่อย่างต่อเนื่อง ในการเตรียมความพร้อมในการเปิดภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ และการปิด
เรียนกรณีพิเศษในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) มีการ
อบรมใหค้ วามรู้คณะครูในการจดั รปู แบบการสอนออนไลน์ การจดั ทำสอื่ และส่งเสรมิ ให้คณะครูเข้ารับการ
พัฒนาตนเองผ่านทางระบบออนไลน์

การเตรียมความพร้อมการเปิดภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา 2564 ในสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ด้านการบริหารงานวิชาการ ของโรงเรียนในสังกัด
ทุกโรงเรียนมีการปฏิบัติเป็นอย่างดี มีการประชุมคณะครูและเปิดโอกาสให้นักเรียนและผู้ปกครองเลือก
รูปแบบการจัดการเรียนการสอน จัดทำตารางสอนและกำหนดวันสอนชดเชยให้คณะกรรมการ
สถานศึกษาและผู้ปกครองนักเรียนรับทราบ มีการจัดทำแผนการสอนตามรูปแบบที่โรงเรียนเลือก จัดทำ
เอกสาร และสือ่ ประกอบ พร้อมท้ังติดตามช่วยเหลือนักเรียนด้วยช่องทางและวธิ ีทหี่ ลากหลาย โรงเรียนท่ี
สามารถเป็นแบบอย่างได้ในรูปแบบการจัดการเรียนการสอนและการติดตามช่วยเหลือนักเรียน ได้แก่
โรงเรียนบ้านหินดาด โรงเรียนอนุบาลระนอง โรงเรียนบ้านสองแพรก และโรงเรียนอนุบาลบ้านด่าน
เป็นตน้

การเตรียมความพร้อมการเปิดภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา 2564 ในสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ด้านการบรหิ ารงานทวั่ ไป ของโรงเรยี นในสังกัด
ทุกโรงเรียนมีการปฏิบัติเป็นอยา่ งดี ทุกโรงเรียนมีการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี มีแผนงานโครงการ
รองรับ เพื่อใช้ในการดำเนินงานในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) และทุกโรงเรียนดำเนินงานตามโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา ตั้งแต่
ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ครบทุกรายการ ประกอบด้วย
ค่าจัดการเรียนการสอน ค่าหนังสือเรียน ค่าอุปกรณ์การเรียน ค่าเครื่องแบบนักเรียน และค่ากิจกรรม
พัฒนาผูเ้ รียน

รายงานการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศกึ ษาของ อ.ก.ต.ป.น. ภาคเรยี นที่ 1/2564
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาระนอง

๒๔

ขอ้ เสนอแนะ

คณะอนุกรรมการ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา (อ.ก.ต.ป.น.) สำนักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง มีข้อเสนอแนะแนวทางในการบริหารจัดการศึกษาเพื่อพัฒนา
คุณภาพการศึกษาในปีการศึกษา 2564 ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 (COVID-19) ดงั น้ี

๑. โรงเรียนควรจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีที่สามารถยืดหยุ่นในการใช้งบประมาณ และมี
แผนงานโครงการทีร่ องรับตามสถานการณ์ ทั้งน้ีโดยถือปฏบิ ตั ิตามกฎระเบยี บทีเ่ ก่ียวขอ้ งอยา่ งเครง่ ครัด

๒. ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) โรงเรยี นควร
บริหารจัดการศึกษาโดยเน้นการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เช่น คณะกรรมการสถานศึกษา
ขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครอง ชุมชนและหน่วยงานด้านสาธารณสุขในพื้นที่ เพื่อช่วยเหลือ วางแผนและให้
คำแนะนำในการตดั สนิ ใจตา่ ง ๆ

๓. ทุกโรงเรียนต้องจัดทำแผนเผชิญเหตุในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 (COVID-19) ควรมีการซักซ้อมตามขั้นตอน และวิธิปฏิบัติ เพื่อให้สามารถดำเนินการ
ได้อยา่ งมีประสิทธิภาพหากเกดิ สถานการณ์จรงิ

๔. ควรติดตามข่าวสารในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) และปฏิบัติตามมาตรการการป้องกันโรคของ ศบค.ระนอง สำนักงานคณะกรรมการ
การศกึ ษาข้นั พืน้ ฐานและสำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาระนอง

๕. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทั้งในและนอกห้องเรียน ควรสอดคล้องกับบริบทและ
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เน้นการจัดการเรยี นรู้ตาม
ตัวชี้วัดต้องรู้เป็นหลัก มีการบูรณาการระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้เพื่อลดภาระงานของผู้เรียน
นอกจากนี้ควรคำนึงถึงการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม จิตอาสา คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตร
ฐานสมรรถนะ และทักษะของผู้เรียน ในศตวรรษที่ 21 มีการน้อมนำพระบรมราโชบายด้านการศึกษา
ของพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว และน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปพัฒนา
ผู้เรียนให้มีประสิทธิภาพ และปลูกฝังในการแสดงออกถึงความรักในสถาบันหลักของชาติ ยึดมั่นการ
ปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ

๖. การติดตามนักเรียนตามรูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่โรงเรียนเลือก ควรมีการติดตาม
นกั เรียนให้ครบในทุกประเดน็ เช่น การตดิ ตามนักเรียนเข้าเรียนในแต่ละวนั การตดิ ตามการรับประทาน
อาหารกลางวันและอาหารเสริมนม การติดตามช่วยเหลือนักเรียนในการเรียนและทำงานที่ได้รับ
มอบหมาย และการเย่ยี มบ้านนักเรียน ท้ังนอี้ าจเป็นการลงพน้ื ที่จริง หรอื ใช้ดจิ ิทัลแพลตฟอร์มมาช่วยใน
การติดตาม สรุปผล และประเมินผล โดยคำนึงถึงความปลอดภัยของครู นักเรียนและผู้ปกครองเป็น
สำคญั

๗. ทุกโรงเรียนควรมีการประเมินสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 (COVID-19) วนั ตอ่ วัน และใชด้ ลุ ยพินิจปรบั รูปแบบการจัดการเรียนการสอนเพ่ือใหเ้ หมาะสมกับ
สถานการณ์

รายงานการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศกึ ษาของ อ.ก.ต.ป.น. ภาคเรยี นท่ี 1/2564
ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาระนอง

๒๕

ภาคผนวก

รายงานการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาของ อ.ก.ต.ป.น. ภาคเรยี นที่ 1/2564
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาระนอง

๒๖

แบบตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ ปกี ารศึกษา 256๔
ของคณะอนกุ รรมการ ติดตาม ตรวจสอบประเมนิ ผลและนิเทศการศึกษา (อ.ก.ต.ป.น.)

สำนกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาระนอง

โรงเรียน .................................เครอื ขา่ ยการจัดการศึกษาที่ ............ อำเภอ......................จังหวัดระนอง
สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง

............................................................................................................................. ..

คำช้ีแจง แบบกำกับ ตดิ ตาม การบริหารงานตามภารกจิ ของสถานศกึ ษาในสงั กัด ภาคเรียนที่ ๑

ปีการศึกษา ๒๕๖๔ สำนกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาระนอง มีท้ังหมด ๓ ตอน ประกอบด้วย
ตอนท่ี ๑ ข้อมลู ท่ัวไป
ตอนที่ ๒ การตรวจสอบการปฏบิ ตั ิงาน
ตอนที่ ๓ ข้อค้นพบ

ตอนที่ ๑ ขอ้ มูลทัว่ ไป

๑.ขอ้ มลู โรงเรยี น

1.1 ชือ่ - สกลุ ผู้อำนวยการโรงเรียน .............................................. โทรศัพท์..........................

1.2 ชอื่ - สกุล รองผอู้ ำนวยการโรงเรียน ......................................... โทรศัพท.์ .......................

ชื่อ- สกุล รองผู้อำนวยการโรงเรียน............................................. โทรศัพท์.........................

1.3 จำนวนบคุ ลากร (ข้าราชการคร/ู ลูกจ้าง) ....................................คน

ประเภท วิชาเอก รวม

ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ อืน่ ๆ

ขา้ ราชการ

พนักงาน

พราีเ่ ชลกย้ี งาเรดก็
รพบาุคิกชลากราากรรอ่นื

ๆ1.4 จำนวนนกั เรียน (ณ วันท่ี .......................... ) ทง้ั หมด ............. คน

นักเรยี นก่อนประถมศึกษา คน

นกั เรยี นประถมศึกษา คน

นกั เรยี นมัธยมศึกษา คน

๒. ขอ้ มูลการเปิดเรยี น

โรงเรียนเปิดทำการสอน วันท่ี.............../......................../.................

รายงานการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศกึ ษาของ อ.ก.ต.ป.น. ภาคเรยี นท่ี 1/2564
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาระนอง

๒๗

ตอนที่ ๒ การตรวจสอบการปฏิบัตงิ าน

ให้คณะอนุกรรมการติดตาม ตรวจสอบประเมินผลและนิเทศการศึกษา (อ.ก.ต.ป.น.)
พจิ ารณาตามรายการประเมินการปฏิบัติงานการจัดการศึกษา และตรวจสอบการปฏิบัติงานตาม
หลักฐาน/ร่องรอยจากการบันทึกวิธีการดำเนินการ ที่มาของหลักฐานร่องรอย แล้ว กา
เครื่องหมาย  ลงใน ช่องปฏิบัติ หรือไม่ปฏิบัติตาม สภาพจริงและระบุร่องรอยหลักฐาน
แนวทางการปฏิบตั ิของโรงเรยี น

การปฏบิ ตั ขิ อง

ท่ี ประเดน็ การติดตาม โรงเรียน บันทกึ รอ่ งรอย/หลักฐาน
ปฏบิ ตั ิ ไม่

ปฏิบตั ิ

๑. ด้านการบริหารงานท่วั ไป

๑ เตรยี มการจดั สภาพแวดล้อม ภมู ิทัศน์ ...................................................

สะอาด รม่ รนื่ สวยงาม ปลอดภยั ...................................................

...................................................

...................................................

๒ จดั เตรียมอาคารเรยี น ห้องเรียน ...................................................

หอ้ งปฏิบัตกิ าร และ สิ่งก่อสรา้ งอ่ืน ๆ อยู่ ...................................................

ในสภาพเหมาะสม พร้อมใช้งาน ...................................................

...................................................

๓ การบรหิ ารจดั การด้านอาหารกลางวัน ...................................................

และอาหารเสริมนมเป็นไปตามระเบยี บ ...................................................

สอดคลอ้ งกบั รปู แบบการจัดการเรยี นการ ...................................................

สอนท่ีโรงเรียนกำหนด ...................................................

๔ จดั เตรยี มการคัดกรอง จุดคดั กรองและ ...................................................

พ้นื ทใ่ี ชส้ อยรว่ มกนั ตามแนวปฏิบตั ิดา้ น ...................................................

อนามัยสง่ิ แวดล้อม ในคู่มอื การปฏบิ ัติ ...................................................

สำหรบั สถานศกึ ษาในการปอ้ งกนั การ ...................................................

แพร่ระบาดของโรคโควิด 19 อย่าง ...................................................

เครง่ ครัด

๒. ด้านการบริหารงานบุคคล

๑ มีการจดั ประชมุ ครู จดั ทำคำสั่ง ...................................................

มอบหมายงานและปฏบิ ัติหน้าที่การสอน ...................................................

ในปีการศึกษา ๒๕๖๔ ...................................................

...................................................

รายงานการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศกึ ษาของ อ.ก.ต.ป.น. ภาคเรยี นที่ 1/2564
ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาระนอง

๒๘

การปฏบิ ตั ขิ อง

ท่ี ประเดน็ การติดตาม โรงเรยี น บันทึกรอ่ งรอย/หลกั ฐาน
ปฏบิ ัติ ไม่

ปฏบิ ตั ิ

๒ คณะครมู าปฏบิ ตั หิ น้าท่ี เตรียมความ ...................................................

พร้อมในการเปิดภาคเรยี นที่ ๑/๒๕๖๔ ...................................................

และการปดิ เรียนกรณีพิเศษใน ..................................................

สถานการณ์การแรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ...................................................

ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) อยา่ ง ...................................................

ต่อเน่อื ง

๓. ด้านการบรหิ ารงานวชิ าการ

๑ มีการประชมุ เลือกรปู แบบการจัดการ ...................................................

เรยี นการสอนทีเ่ หมาะสม ท่ีตรงตาม ...................................................

ความต้องการของผู้ปกครองนักเรยี นและ ...................................................

คณะกรรมการสถานศึกษารับทราบ ...................................................

...................................................

๒ รปู แบบท่ีโรงเรียนเลอื กใชใ้ นการจัดการ ระบแุ นวทาง/รูปแบบ

เรียนการสอน (เลือกได้หลายรปู แบบ) On-Site

 On-Site ...................................................

 On-Air ...................................................

 Online On-Air

 On-Demand ...................................................

 On-Hand Online

 รูปแบบแนวทางอื่น (ระบุ) ......................................................

................................................................. ......................................................

................................................................. On-Demand

................................................................. ......................................................

................................................................. ......................................................

................................................................. On-Hand

................................................................. .......................................................

.......................................................

รายงานการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศกึ ษาของ อ.ก.ต.ป.น. ภาคเรียนที่ 1/2564
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาระนอง

๒๙

การปฏิบตั ขิ อง

ท่ี ประเด็นการตดิ ตาม โรงเรียน บนั ทึกร่องรอย/หลกั ฐาน
ปฏบิ ตั ิ ไม่

ปฏิบตั ิ

๓ โรงเรยี นจดั ทำกำหนดการสอน ตารางสอน .......................................................
ตารางเรยี น กำหนดการสอนชดเชย และ .......................................................
แผนการบริหารจดั การขน้ึ เฉพาะใน .......................................................
สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชือ้ .......................................................
ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) .......................................................

๔ มีการจดั ทำเอกสารประกอบการจัดการ .......................................................
เรยี นการสอนตามรปู แบบทีโ่ รงเรยี นเลือก
และส่งมอบให้กับนกั เรียน ตามกำหนดการ .......................................................
ทีโ่ รงเรียนกำหนด .......................................................

๕ มกี ำหนดการตดิ ตาม ช่วยเหลือนกั เรยี น .......................................................

และวางแผนการวัดและประเมนิ ผลการจัด .......................................................
การศกึ ษาตามสภาพบริบทและรปู แบบ .......................................................
การจดั การเรียนการสอนทโ่ี รงเรยี นกำหนด

๔. ดา้ นการบริหารงบประมาณ

๑ แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปีการ/แผนงาน .......................................................

โครงการรองรบั ในสถานการณก์ ารแพร่ .......................................................

ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา .......................................................

๒๐๑๙ (COVID-19)

๒ การดำเนนิ งานตามโครงการสนบั สนุน ๑. หนงั สือเรียน

ค่าใช้จา่ ยในการศึกษาต้งั แตร่ ะดับอนบุ าล ........................................................

จนจบการศึกษาขน้ั พื้นฐาน ........................................................

๑. หนงั สือเรียน ๒. ค่าอุปกรณ์การเรยี น

๒. ค่าอุปกรณก์ ารเรียน ........................................................
๓. เคร่ืองแบบนักเรียน ........................................................
๔. คา่ กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น ๓. คา่ เคร่อื งแบบนักเรียน
........................................................

........................................................

๔. ค่ากิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน

........................................................

........................................................

รายงานการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาของ อ.ก.ต.ป.น. ภาคเรียนท่ี 1/2564
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาระนอง

๓๐

ตอนที่ ๓ ข้อคน้ พบ

๑. ดา้ นการบริหารงานทวั่ ไป
............................................................................................................................. .......................................
............................................................................................ ........................................................................
............................................................................................................................. .......................................

๒. ดา้ นการบรหิ ารงานบุคคล
............................................................................................................................. .......................................
....................................................................................... .............................................................................
............................................................................................................................. .......................................

๓. ดา้ นการบริหารงานวิชาการ
............................................................................................................................. .......................................
....................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................

๔. ด้านการบรหิ ารงบประมาณ
............................................................................................................................. .......................................
....................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................
สภาพปัญหาอปุ สรรค/ข้อเสนอแนะจากโรงเรียน
............................................................................................................................. .......................................
....................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................

(ลงช่ือ)………………………………… อ.ก.ต.ป.น. (ลงชอ่ื )………………………………… อ.ก.ต.ป.น.
(........................................) (........................................)

(ลงช่ือ)………………………………… อ.ก.ต.ป.น. (ลงช่อื )………………………………… อ.ก.ต.ป.น.
(........................................) (........................................)

รายงานการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศกึ ษาของ อ.ก.ต.ป.น. ภาคเรียนที่ 1/2564
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สำนักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาระนอง

๓๑

รายงานการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศกึ ษาของ อ.ก.ต.ป.น. ภาคเรียนที่ 1/2564
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาระนอง

๓๒

รายงานการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศกึ ษาของ อ.ก.ต.ป.น. ภาคเรียนที่ 1/2564
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาระนอง

๓๓

รายงานการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศกึ ษาของ อ.ก.ต.ป.น. ภาคเรียนที่ 1/2564
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาระนอง

๓๔

รายงานการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศกึ ษาของ อ.ก.ต.ป.น. ภาคเรียนที่ 1/2564
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาระนอง

๓๕

รายงานการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศกึ ษาของ อ.ก.ต.ป.น. ภาคเรียนที่ 1/2564
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาระนอง

๓๖

รายงานการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศกึ ษาของ อ.ก.ต.ป.น. ภาคเรียนที่ 1/2564
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาระนอง

๓๗

รายงานการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศกึ ษาของ อ.ก.ต.ป.น. ภาคเรียนที่ 1/2564
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาระนอง

๓๘

รายงานการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศกึ ษาของ อ.ก.ต.ป.น. ภาคเรียนที่ 1/2564
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาระนอง

๓๙

รายงานการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศกึ ษาของ อ.ก.ต.ป.น. ภาคเรียนที่ 1/2564
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาระนอง

๔๐

รายงานการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศกึ ษาของ อ.ก.ต.ป.น. ภาคเรียนที่ 1/2564
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาระนอง

๔๑

รายงานการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศกึ ษาของ อ.ก.ต.ป.น. ภาคเรียนที่ 1/2564
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาระนอง