โครง งาน เครื่อง ให้ อาหาร ไก่

โครงงานเครื่องให้อาหารไก่อัตโนมัติ

(ม. ปลาย)

โครง งาน เครื่อง ให้ อาหาร ไก่

ผู้จัดทำ

  1. นาย พีระพล   สุริผัด
  2. นาย วิเชียร  ลีภิวัฒน์วงศ์
  3. นางสาว เฝยเซ็ง  เเซ่ตั้ง

อาจารย์ที่ปรึกษา:  

1.นาย นันท์  ก้อคำ     

2.นางสาว วรรณิกา  ริกากรณ์

สถานศึกษา:        โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 24 จังหวัดพะเยา

บทนำ

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา

เนื่องจากทางโรงเรียนได้ดำเนินการตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง และได้ดำเนินการเลี้ยงไก่ในการทำอาหารกลางวัน และใช้วิธีการเลี้ยงในเล้าและแบบปล่อย ซึ่งภารกิจในโรงเรียนค่อนข้างมาก ทางกลุ่มของข้าพเจ้าจึงได้คิดเครื่องช่วยให้อาหารไก่อัตโนมัติด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ขึ้นมาเพื่ออำนวยความสะดวกในการให้อาหารไก่ดังนั้นจึงทำให้เกิด เครื่องให้อาหารไก่อัตโนมัติด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ขึ้น เพื่อเพิ่มความสะดวกสบายและเป็นอุปกรณ์ที่ใช้เทคโนโลยีใส่ใจสิ่งแวดล้อม ให้มีความสะดวกต่อการต่อการเลี้ยงไก่ รวมทั้งการตรวจสอบการใช้งานเครื่องให้อาหารไก่ว่าทำงานอยู่หรือไม่ ซึ่งเป็นปัจจัยหนึ่งของการประหยัดพลังงาน สามารถสั่งควบคุมได้จากทุก ๆ ที่ผู้ใช้ต้องการ โดยอาศัยระบบการสื่อสารไร้สายเป็นสื่อกลางและช่องทางในการควบคุม ซึ่งโปรแกรมที่เขียนขึ้นมาข้าพเจ้าได้ศึกษาและเรียนในหลักสูตรของโรงเรียนแล้วนำมา ประยุกต์ใช้งานที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ที่มีความสนใจที่จะศึกษาต่อไป

 วัตถุประสงค์ของโครงงาน

1 เพื่อสร้างเครื่องให้อาหารไก่อัตโนมัติด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ได้

2 เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการจ้างแรงงาน

3 เพื่ออาหารที่ให้พอดีกับปริมาณของจำนวนไก่

รายงานฉบับสมบูรณ์ (ไฟล์ PDF)

คลิป VDO

โปสดตอร์  (ไฟล์ PDF)

เครื่องให้อาหารไก่อัตโนมัติ

AUTOMATIC CHICKEN FOOD DISTRIBUTOR

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา

อาชีพเกษตรกรรมถือได้ว่าเป็นอาชีพหลักของคนไทยอาชีพหนึ่ง ซึ่งส่วนใหญ่จะทำการเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ สัตว์ที่คนไทยนิยมเลี้ยงไว้เพื่อนำมาขายเป็นรายได้ให้กับครอบครัวก็คือไก่ ซึ่งไก่นั้นสามารถแปรรูปแล้วนำมาบริโภคภายในประเทศและยังสามารถส่งออกไปขายต่างประเทศทำให้มีรายได้เข้าประเทศเป็นจำนวนมาก จึงเป็นที่นิยมในการหาซื้อมาบริโภค เมื่อเนื้อไก่เป็นที่ต้องการมากขึ้น ผู้เลี้ยงก็ต้องเพิ่มผลผลิตให้เพียงพอต่อความต้องการของตลาด แต่การเพิ่มปริมาณการเลี้ยงนั้นส่งผลให้ต้องมีการดูแลไก่มากขึ้นโดยเฉพาะเรื่องของการให้อาหารไก่ หากเป็นการเลี้ยงไก่แบบฟาร์มที่มีการเลี้ยงหลายพันตัว การดูแลและการให้อาหารนั้นย่อมใช้เวลาและแรงงานเป็นจำนวนมากด้วย แต่ถ้ามีเครื่องให้อาหารไก่อัตโนมัติก็จะสามารถช่วยลดเวลาการเลี้ยงไก่ของเกษตรกรลง ทำให้เกษตรกรมีเวลาที่เหลือไปทำงานอื่นๆ ได้

วัตถุประสงค์ของการศึกษา

1. เพื่อศึกษาวิธีการให้อาหารไก่ไข่ในระยะต่างๆ

2. เพื่อศึกษาการทำงานของอุปกรณ์ตรวจจับทางแสง

3. เพื่อศึกษาการทำงานของไมโครคอนโทรลเลอร์

4. เพื่อศึกษาการทำงานของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง

5. เพื่อศึกษาการทำงานของจอแสดงผลแอลซีดี

6. เพื่อสร้างเครื่องให้อาหารไก่อัตโนมัติ

ขอบเขตการศึกษา

1.ใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์ ในการควบคุมการทำงานของตัวรถจ่ายอาหารไก่

2.ให้อาหารได้ตลอดความยาวของรางพร้อมกับทำความสะอาดรางและหยุดจ่ายอาหาร เมื่อวิ่งไปจนสุดระยะทางของรางให้อาหาร

3.ตั้งเวลาในการให้อาหารในแต่ละวัน วันละ 2 ครั้งได้

4.จ่ายอาหารชนิดเม็ดและมีถังสำรองอาหารไก่ ขนาด 10 กิโลกรัม

5.เมื่อรถจ่ายอาหารหมด รถจ่ายอาหารสามารถกลับมาเติมอาหารจากถังสำรองอาหารและไปจ่ายอาหารในตำแหน่งล่าสุดที่หมดได้

1.สามารถนำวิธีการให้อาหารไก่ไปประยุกต์ใช้กับการให้อาหารสัตว์ปีกประเภทอื่นได้

2. สามารถประยุกต์ใช้งานใช้อุปกรณ์ตรวจจับทางแสง กับงานอื่นๆได้

3. สามารถประยุกต์ใช้งานไมโครคอนโทรลเลอร์ กับงานอื่นๆได้

4. สามารถประยุกต์ใช้งานมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง กับงานอื่นๆได้

5. สามารถประยุกต์ใช้งานจอแสดงผลแอลซีดี กับงานอื่นๆได้

6. ได้เครื่องให้อาหารไก่อัตโนมัติ

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

การให้อาหารไก่ไข่ระยะต่างๆ

อาหารเป็นองค์ประกอบที่สำคัญที่สุดที่จะทำให้การเลี้ยงไก่ไข่มีกำไรหรือขาดทุน เนื่องจากต้นทุนการผลิตประมาณ 60-70 เปอร์เซนต์ของต้นทุนทั้งหมดเป็นค่าอาหาร ไก่ไข่นั้นนอกจากจะต้องการอาหารเพื่อการดำรงชีพ การเจริญเติบโตแล้ว ยังต้องนำไปใช้ในการผลิตไข่อีกด้วย การที่ผู้เลี้ยงจะลดต้นทุนการผลิตในส่วนของค่าอาหารลงนั้น สามารถทำได้โดยการประกอบสูตรอาหารที่มีราคาถูก แต่คุณภาพดี เลือกใช้วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่มีราคาถูกตามฤดูกาลและให้อาหารแก่ไก่กินอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ได้ไข่ที่มีคุณภาพและต้นทุนต่ำ

ทฤษฎีที่สำคัญและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

AUTOMATIC CHICKEN FOOD DISTRIBUTOR

การเลี้ยงไก่ไข่สามารถทำการเลี้ยงได้  2 วิธี

1. การเลี้ยงแบบกรงตับ เป็นกรงใส่ไก่ไข่ที่มีทั้งแบบชั้นเดียวและหลายชั้นซ้อนกันเป็นที่นิยมมาก ชั้นเดียว 2 ด้าน ด้านละ 6 ช่อง  ชุดหนึ่งเลี้ยงได้ 12 ตัว ติดตั้งอุปกรณ์ให้น้ำให้อาหารแบบกะทัดรัด

การเลี้ยงแบบกรงตับ

ทฤษฎีที่สำคัญและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (ต่อ)

AUTOMATIC CHICKEN FOOD DISTRIBUTOR

2. การเลี้ยงแบบขังรวม เป็นการเลี้ยงไก่แบบเลี้ยงรวมกันในโรงเรือนขนาดใหญ่และรองพื้นด้วยวัสดุรองพื้น วิธีนี้เป็นที่สนใจจากผู้เลี้ยงในปัจจุบันอย่างมาก โรงเรือนและอุปกรณ์ในการเลี้ยงไก่ไข่ต้องแข็งแรง กันแดด กันฝน กันลมได้ และมีอากาศถ่ายเทได้สะดวก

การเลี้ยงแบบขังรวม

ทฤษฎีที่สำคัญและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (ต่อ)

AUTOMATIC CHICKEN FOOD DISTRIBUTOR

ทฤษฎีที่สำคัญและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (ต่อ)

บล็อกไดอะแกรมพื้นฐานของตัวตรวจจับแบบใช้แสง

ตัวตรวจจับแบบใช้แสง (Optical Sensors)

AUTOMATIC CHICKEN FOOD DISTRIBUTOR

รูปแบบการทำงานโดยทั่วไปของตัวตรวจจับแบบใช้แสง

ทฤษฎีที่สำคัญและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (ต่อ)

ตัวตรวจจับแบบใช้แสง (Optical Sensors)

AUTOMATIC CHICKEN FOOD DISTRIBUTOR

ไมโครคอนโทรลเลอร์ PIC 18F8722

ทฤษฎีที่สำคัญและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (ต่อ)

โครงสร้างไมโครคอนโทรลเลอร์ PIC 18F8722

AUTOMATIC CHICKEN FOOD DISTRIBUTOR

มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง

โครงสร้างของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง

ทฤษฎีที่สำคัญและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (ต่อ)

AUTOMATIC CHICKEN FOOD DISTRIBUTOR

ทฤษฎีที่สำคัญและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (ต่อ)

จอแสดงผล แอลซีดี

จอแสดงผลแบบ LCD

จอแสดงผลนั้นมีให้เลือกใช้หลายขนาดแต่ที่นิยมใช้กันมากก็เป็นแบบ 1X16 (1 แถว 16 ตัวอักษร) 2X16 (2 แถว 16 ตัวอักษร) และ 2X20 (2 แถว 20 ตัวอักษร)

AUTOMATIC CHICKEN FOOD DISTRIBUTOR

กำหนดรูปแบบการทำงานของเครื่องให้อาหารไก่อัตโนมัติ

บล็อกไดอะแกรมการทำงานเครื่องให้อาหารไก่อัตโนมัติ

วิธีการดำเนินงาน

AUTOMATIC CHICKEN FOOD DISTRIBUTOR

รางสำหรับรถจ่ายอาหาร

วิธีการดำเนินงาน (ต่อ)

ออกแบบและสร้างโครงสร้างหลักของเครื่องให้อาหารไก่อัตโนมัติ

AUTOMATIC CHICKEN FOOD DISTRIBUTOR

วิธีการดำเนินงาน (ต่อ)

รางสำหรับล้อรถจ่ายอาหาร

ออกแบบและสร้างโครงสร้างหลักของเครื่องให้อาหารไก่อัตโนมัติ(ต่อ)

AUTOMATIC CHICKEN FOOD DISTRIBUTOR

วิธีการดำเนินงาน (ต่อ)

รถจ่ายอาหาร

ออกแบบและสร้างโครงสร้างหลักของเครื่องให้อาหารไก่อัตโนมัติ(ต่อ)

AUTOMATIC CHICKEN FOOD DISTRIBUTOR

ถังเก็บอาหารหลัก

วิธีการดำเนินงาน (ต่อ)

ออกแบบและสร้างโครงสร้างหลักของเครื่องให้อาหารไก่อัตโนมัติ(ต่อ)

AUTOMATIC CHICKEN FOOD DISTRIBUTOR

วิธีการดำเนินงาน (ต่อ)

วงจรแหล่งจ่ายไฟ

ออกแบบและสร้างวงจรต่างๆ

AUTOMATIC CHICKEN FOOD DISTRIBUTOR

วิธีการดำเนินงาน (ต่อ)

วงจรสัญญาณเตือนระดับปริมาณอาหารของถังหลัก

ออกแบบและสร้างวงจรต่างๆ(ต่อ)

AUTOMATIC CHICKEN FOOD DISTRIBUTOR

วิธีการดำเนินงาน (ต่อ)

ชุดตรวจจับการสะท้อน

ออกแบบและสร้างวงจรต่างๆ(ต่อ)

AUTOMATIC CHICKEN FOOD DISTRIBUTOR

วิธีการดำเนินงาน (ต่อ)

วงจรกลับทิศทางมอเตอร์

ออกแบบและสร้างวงจรต่างๆ(ต่อ)

AUTOMATIC CHICKEN FOOD DISTRIBUTOR

วิธีการดำเนินงาน (ต่อ)

แผนภูมิการทำงานของโปรแกรม

ขั้นตอนการทำงานของเครื่องให้อาหารไก่อัตโนมัติ

AUTOMATIC CHICKEN FOOD DISTRIBUTOR

วิธีการดำเนินงาน (ต่อ)

แผนภูมิการทำงานของโปรแกรม

AUTOMATIC CHICKEN FOOD DISTRIBUTOR

วิธีการดำเนินงาน (ต่อ)

แผนภูมิการทำงานของโปรแกรม

AUTOMATIC CHICKEN FOOD DISTRIBUTOR

วิธีการดำเนินงาน (ต่อ)

แผนภูมิการทำงานของโปรแกรม

AUTOMATIC CHICKEN FOOD DISTRIBUTOR

วิธีการดำเนินงาน (ต่อ)

แผนภูมิการทำงานของโปรแกรม

AUTOMATIC CHICKEN FOOD DISTRIBUTOR

ผลการดำเนินงาน

การทดสอบการจ่ายอาหารของวงจรควบคุมถังจ่ายอาหารหลัก

ตารางที่ 4-1 ผลการทดสอบการจ่ายอาหารของถังจ่ายอาหารหลัก

ครั้งที่

ผลการทดสอบการจ่ายอาหารของถังจ่ายอาหารหลัก

1

ไม่มีความผิดพลาด

2

ไม่มีความผิดพลาด

3

ไม่มีความผิดพลาด

4

ไม่มีความผิดพลาด

5

ไม่มีความผิดพลาด

6

ไม่มีความผิดพลาด

7

ไม่มีความผิดพลาด

8

ไม่มีความผิดพลาด

9

ไม่มีความผิดพลาด

10

ไม่มีความผิดพลาด

AUTOMATIC CHICKEN FOOD DISTRIBUTOR

ผลการดำเนินงาน (ต่อ)

การทดสอบการตั้งเวลาการจ่ายอาหารของถังจ่ายอาหารหลัก

ตารางที่ 4-2 ผลการทดสอบการตั้งเวลาจ่ายอาหารของรถจ่ายอาหาร

ครั้งที่

ผลการตั้งเวลาการจ่ายอาหาร

ช่วงที่ 1

ผลการตั้งเวลาการจ่ายอาหาร

ช่วงที่ 2

1

ไม่มีความผิดพลาด

ไม่มีความผิดพลาด

2

ไม่มีความผิดพลาด

ไม่มีความผิดพลาด

3

ไม่มีความผิดพลาด

ไม่มีความผิดพลาด

4

ไม่มีความผิดพลาด

ไม่มีความผิดพลาด

5

ไม่มีความผิดพลาด

ไม่มีความผิดพลาด

6

ไม่มีความผิดพลาด

ไม่มีความผิดพลาด

7

ไม่มีความผิดพลาด

ไม่มีความผิดพลาด

8

ไม่มีความผิดพลาด

ไม่มีความผิดพลาด

9

ไม่มีความผิดพลาด

ไม่มีความผิดพลาด

10

ไม่มีความผิดพลาด

ไม่มีความผิดพลาด

AUTOMATIC CHICKEN FOOD DISTRIBUTOR

ผลการดำเนินงาน (ต่อ)

ผลการทดสอบการวิ่งของรถจ่ายอาหาร

ตารางที่ 4-3 ผลการทดสอบการวิ่งของรถจ่ายอาหาร

ครั้งที่

รถจ่ายอาหารจ่ายอาหารจนสุดราง

(ไม่กลับมาเติมอาหาร)

รถจ่ายอาหารจ่ายอาหารหมดระหว่างทาง(กลับมาเติมอาหาร)

1

ไม่มีความผิดพลาด

ไม่มีความผิดพลาด

2

ไม่มีความผิดพลาด

ไม่มีความผิดพลาด

3

ไม่มีความผิดพลาด

ไม่มีความผิดพลาด

4

ไม่มีความผิดพลาด

ไม่มีความผิดพลาด

5

ไม่มีความผิดพลาด

ไม่มีความผิดพลาด

6

ไม่มีความผิดพลาด

ไม่มีความผิดพลาด

7

ไม่มีความผิดพลาด

ไม่มีความผิดพลาด

8

ไม่มีความผิดพลาด

ไม่มีความผิดพลาด

9

ไม่มีความผิดพลาด

ไม่มีความผิดพลาด

10

ไม่มีความผิดพลาด

ไม่มีความผิดพลาด

AUTOMATIC CHICKEN FOOD DISTRIBUTOR

สรุปผลการดำเนินงาน

ผลการทดสอบของเครื่องให้อาหารไก่อัตโนมัติ สามารถสรุปผลการทดลองได้ดังนี้

1. ผลการทดสอบการจ่ายอาหารของถังจ่ายอาหารหลัก โดยถังจ่ายอาหารหลักจะมีตัวเซ็นเซอร์คอยตรวจจับปริมาณอาหารในถังจ่ายอาหารหลัก เมื่อปริมาณอาหารลดลงจนถึงระดับที่กำหนดไว้จะมีสัญญาณไฟสีแดงติดพร้อมกับมีเสียงเตือน ถังจ่ายอาหารหลักจะทำงานเมื่อตัวรถจ่ายอาหารถอยมาชนลิมิตสวิตช์ จากการทดลอง 10 ครั้ง ผลที่ได้พบว่าไม่มีความผิดพลาด

AUTOMATIC CHICKEN FOOD DISTRIBUTOR

สรุปผลการดำเนินงาน(ต่อ)

2. ผลการทดสอบการจ่ายอาหารของรถจ่ายอาหารจะแบ่งการทดสอบเป็น 2 ส่วนคือ การตั้งเวลาให้อาหาร จากการทดลอง 10 ครั้ง ผลที่ได้พบว่ารถจ่ายอาหารเริ่มทำงานตามช่วงเวลาที่ตั้งไว้ไม่มีความผิดพลาด และการจ่ายอาหารของรถจ่ายอาหาร จากการทดลอง 10 ครั้ง ผลที่ได้พบว่ารถจ่ายอาหารสามารถจ่ายอาหารได้จนสุดรางและเมื่ออาหารหมดระหว่างทางสามารถกลับมาเติมอาหารและจ่ายอาหารในตำแหน่งล่าสุดที่หมดได้ไม่มีความผิดพลาด

AUTOMATIC CHICKEN FOOD DISTRIBUTOR

จบการนำเสนอ