โครงงานกระเป๋าจากถุงพลาสติก

1

2 บทที่ 1 บทนำ ท่มี าและความสำคัญ ในปัจจุบนั ขยะทั่วไปที่เกิดจากการอปุ โภค บริโภค กิจกรรมทั้งหลายของมนุษย์ ไม่ว่าจะเปน็ บ้านเรือน ชุมชน ตลาด ร้านค้า และโรงงาน ในประเทศไทยถือเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สำคัญที่เกิดขึ้นจากมนุษย์ ซึ่งมี ปัญหาที่เกี่ยวเนื่องกันในหลายแง่มุม ไม่ว่าจะเป็น พฤติกรรมการบริโภคและการแยกขยะจากต้นทาง การ จัดการขยะที่ไม่ได้มาตรฐานก่อให้เกิดมลพิษและไม่เกิดการนำกลับมาใช้ซ้ำ เป็นปัญหามลพษิ และสิ่งแวดล้อม เชน่ ปฏกิ ริ ยิ าเรือนกระจกทมี่ สี าเหตุจาก ขยะเทกอง ทป่ี ลอ่ ยกา๊ ซมเี ทน ซัลเฟอรก์ ับคารบ์ อนไดออกไซต์ออกมา ปัญหาขยะในทะเลที่ส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมและชีวิตความเป็นอยู่ของสัตว์ในทะเล ปริมาณขยะเป็น ปัญหาต่อสภาวะแวดล้อม เช่น ถุงพลาสติก ที่แม้จะมีการนำกลับมาใช้ใหม่ได้ ทางผู้จัดทำได้นำปัญหานี้มา วิเคราะห์ และมีความคิดริเริ่มที่จะช่วยลดปริมาณขยะทีม่ ีอยู่ เพราะพลาสติกเป็นสิ่งที่ถกู สงั เคราะหข์ ึ้นมาจึงมี สารประกอบบางอย่างทไ่ี ม่เป็นมิตรกบั ส่งิ แวดลอ้ ม และไม่สามารถยอ่ ยสลายไดเ้ องตามธรรมชาติ เมอื่ ใช้แล้วทิ้ง โดยไม่ผ่านการรีไซเคิลมากขึ้นเรื่อย ๆ ขยะพลาสติกจะไปอัดแน่นอยู่ในบ่อขยะและสะสมสารพิษจำนวนมาก ทำลายระบบนิเวศไปเร่ือย ๆ หรือถา้ ถูกทิ้งลงน้ำลงทะเล สัตว์นำ้ หลายพันหลายหมื่นตวั ก็กนิ แทนอาหารจนตาย นีแ่ หละปัญหาสิ่งแวดล้อมท่ีเกิดขน้ึ ขยะพลาสติก อาจมองดูว่าไม่มีค่า แต่เชื่อเถอะว่ายังมีค่าอยู่ถ้าได้รับการกำจัดทิ้งที่ถูกวิธี จะสามารถ กลับมาทำประโยชน์และสร้างคุณค่าได้อีกมากมาย ออกแบบสร้างสรรค์ให้กลายเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ หมุนเวียนใช้ซ้ำต่อไป สามารถสร้างมูลค่าและเกิดเป็นธุรกิจที่สร้างรายได้จากขยะพลาสติก ที่สำคัญยังสร้าง อาชีพใหก้ บั ชุมชนตา่ ง ๆ ไดอ้ ีกด้วย จงึ ทำให้เกิดเป็นโครงงานสิง่ ประดิษฐจ์ ากถงุ พลาสตกิ เหลอื ใช้ โดยได้ช้ินงาน จากถุงพลาสติก แนวคิดคือ นำถุงพลาสติกที่ไม่ใช้แล้วมาทำให้เป็นชิ้นงาน ที่สามารถนำไปใช้งานได้จริง และ สามารถเพ่ิมมลู ค่าใหก้ บขยะเหล่าน้นั ได้ รวมท้งั สร้างจิตสำนกึ รักษาสภาพแวดล้อมที่ มอี ยู่ของตนให้ย่ังยืน และ ลดภาวะโลกร้อนในปัจจุบันและใช้เวลาว่างใหเ้ กดิ ประโยชน์อกี ดว้ ย ดังนั้น คณะผู้ศึกษาจึงได้จัดทำโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง กระเป๋าจากถุงพลาสติก โดยเน้นถึง ประโยชน์ที่ได้รับจากถุงพลาสติก และเพื่อให้ประชาชนที่สนใจนำไปใช้ประโยชน์ได้จริงและสร้างมูลค่าให้กับ สนิ ค้า วัตถุประสงค์ 1. เพือ่ ศกึ ษาการประดษิ ฐ์กระเป๋าจากถงุ พลาสตกิ 2. เพอ่ื นำถงุ พลาสตกิ ท่ไี มใ่ ชแ้ ล้วนำกลับมาใช้ใหม่ สมมติฐานของการศึกษา 1. สามารถประดษิ ฐ์กระเปา๋ จากถุงพลาสติก 2. สามารถลดปริมาณขยะในครัวเรอื น ตัวแปรทีศ่ กึ ษา

3 1. ตวั แปรต้น คอื กระเป๋าจากถุงพลาสติก 2. ตัวแปรตาม คือ ขนาด รปู ทรง รูปร่าง ของกระเป๋าจากถงุ พลาสตกิ 3. ตวั แปรควบคมุ คือ ชนิดของถุงพลาสตกิ ขอบเขตการศกึ ษา 1. การผลติ กระเป๋าจากถงุ พลาสติก 2. การศึกษาคณุ สมบัตขิ องถงุ พลาสตกิ (สถาบันวิจยั และพัฒนาพลงั งานนครพิงค์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม.่ 2554) 3. การศึกษาครงั้ นใ้ี ชระยะเวลาในการประดษิ ฐ์ 10 วัน โดยเป็นการศึกษาคณุ สมบตั ขิ องถงุ พลาสตกิ และการศกึ ษาวิธีการประดษิ ฐ์กระเปา๋ 4. การศกึ ษาการใชง้ านกระเปา๋ จากถงุ พลาสตกิ นิยามศัพทเ์ ฉพาะ 1. กระเป๋าจากถงุ พลาสติก หมายถงึ กระเป๋า ที่คณะผจู ัดทําประดษิ ฐข้ึนจากถุงพลาสตกิ 2. ถุงพลาสตกิ หมายถึง ถงุ หหู ิ้วทไี่ ดจ้ ากครัวเร่อื นท่ีไม่สามารถใส่สิ่งของได้ 3. การถกั หมายถึง การนำถุงพลาสติกมาตดั เป็นเส้นแล้วถกั ด้วยเขม็ ควกั 4. เขม็ ควกั หมายถงึ เข็มท่มี ีปลายงอเป็นเงยี่ ง สําหรับควกั ดา้ ยหรือไหม ประโยชนท่ีคาดวา่ ไดรบั 1. ไดกระเปา๋ ท่ปี ระดิษฐ์ขึ้นจากถงุ พลาสตกิ 2. ลดปรมิ าณขยะของขยะมลู ฝอยท้ังทเี่ กิดจากการทง้ิ ในครวั เรอื นอันเปนการชวยลดภาวะโลกรอนได ในทางออม 3. ลดค่าใช้จา่ ยจากกรซือ้ กระเป๋า 4. สรา้ งรายไดเ้ สรมิ ให้ครัวเรอื น

4 บทที่ 2 เอกสารทเี่ กี่ยวขอ้ ง 1. ถุงพลาสติก พลาสติกเป็นสารประกอบพวกไฮโดรคาร์บอน (Hydro Carbon) ประกอบด้วยธาตุสำคัญ คือ คาร์บอนไฮโดรเจน และออกซิเจน นอกจากนี้อาจมีธาตุที่เป็นส่วนประกอบย่อย เช่น ไนโตรเจน ฟลูออรีน คลอรีน และกำมะถัน เป็นต้น พลาสติกที่ใช้กันในปัจจุบัน เช่น ถุง กล่อง ท่อ แผ่นฟิล์ม ผลิตจากน้ำมันดิบ ซ่ึง เป็นสารไฮโดรคารบ์ อนทเี่ กดิ ขนึ้ เองตามธรรมชาติใตผ้ ิวดิน ที่มคี วามสำคัญต่อชวี ิตมนษุ ย์ เน่ืองจากเป็นท้ังแหล่ง พลังงาน และแหล่งวัตถุดิบ สำหรับผลิตวัสดุสังเคราะห์มากมาย การผลิตพลาสติกเกิดจากการกลั่นลำดับส่วน น้ำมันดิบ เพื่อแยกเอาสารประกอบไฮโดรคาร์บอน และผ่านกระบวนการแยกสลายจนได้เป็นสารประกอบ ขนาดเลก็ เช่น ก๊าซเอทธลิ ีน และโพรพลิ นี ซ่ึงใชเ้ ป็นสารตัง้ ตน้ ในการ ผลติ พลาสตกิ ชนิดต่างๆ ภาพที่ 1 ถงุ พลาสตกิ ถุงหูห้ิว T-Shirt Bag ใช้บรรจสุ ่ิงของตา่ งๆ ทั้งสง่ิ อุปโภค บริโภค ผลิตจากเมด็ พลาสติกโพลเี อธิลีน ชนดิ HDPE ทำใหถ้ ุงบางกว่าถุงธรรมดา และมสี ีสนั สวยงาม รบั นำ้ หนกั ได้ดี ทนความรอ้ นได้ดี ความเหนยี วนอ้ ย ไมม่ ีกลิน่ เลือกผลิตไดห้ ลายสี และสามารถพมิ พ์ลวดลายบนเน้อื ฟลิ ์มได้ดี วธิ กี ารใชถ้ ุงหูห้วิ T-Shirt Bag ทถ่ี กู ตอ้ ง 1. สามารถใชใ้ สข่ องทม่ี ีนำ้ หนักมากได้ หากถุงมีความหนา สามารถนำกลับมาใช้ซ้ำไดอ้ ีก หลายครง้ั 2. ถุงหิ้วไม่ควรนำมาใสอ่ าหาร เพราะอาจมีผผู้ ลิตบางรายใช้เม็ดพลาสตกิ รไี ซเคิลมาผสม และผสมสีใสด่ ้วย ดังน้นั ไมค่ วรใชถ้ งุ หูหว้ิ ใสแ่ ละสัมผสั อาหารโดยตรง

5 2. เขม็ ควัก เข็มควัก (หรือเข็มโครเชต์ ) คือ การดำเนินการใช้ในการทำลูปในหวั ข้อหรือเสน้ ด้ายและเชื่อมต่อ กนั พวกเขาเขา้ ไปในถักเยบ็ แผล โดยพ้นื ฐานแล้วจะเป็นเพลากลมทปี่ ลายดา้ นหน่ึงมรี อ่ งด้านข้างอยู่ดา้ นหลงั จุดนี้ช่วยให้การใส่ขอเกี่ยวผ่านวัสดุที่โครเชตง์ ่ายขึน้ และรอ่ งทำใหส้ ามารถดงึ ห่วงกลับเข้าไปในวัสดไุ ด้ จากนัน้ เพลาจะแบ่งออกเปน็ พน้ื ท่ที ำงานทก่ี ำหนดเสน้ ผา่ นศนู ย์กลางเลก็ น้อยของขอเก่ียว และทำให้แนใ่ จว่าขนาดของ หว่ งทเ่ี กดิ ข้นึ บนตะขอและดา้ มจบั มีขนาดเท่ากนั ภาพที่ 2 เขม็ ควัก (ดอนนา่ คเู ลอรข์ องสารานกุ รมของโครเชต์ , การพักผอ่ นศลิ ปะ, Inc, ลิตเตลิ้ ร็อคอารค์ นั ซอ 2011 พี 13.) โครเชต์ปรากฏเป็นศิลปะสิ่งทอที่แตกต่างกันในช่วงต้นศตวรรษที่ 19 และขอโครเชต์จำนวนมากรอด จากชว่ งเวลานัน้ สงิ่ เหลา่ นส้ี ามารถแยกออกเป็นสองกลุ่ม กลุม่ หนึ่งมขี อเกี่ยวเหลก็ บาง ๆ ทจ่ี บั แยกกัน และอีก กลุ่มหนึ่งรวมถึงตะขอชิ้นเดียวทีท่ ำจากวัสดุที่หลากหลาย ความแตกต่างระหวา่ งเหลก็ กับตะขออื่นๆ ยังคงมอี ยู่ จนถึงทุกวนั น้ี แม้ว่าตอนนี้ท้งั หมดจะเปน็ แบบช้นิ เดียวก็ตาม สามารถใชว้ สั ดุปดิ ตา่ งๆ กับด้ามจับได้ด้วยเหตุผล ตามหลักสรีรศาสตร์ หูจบั อนั วิจิตรทำข้นึ มาเพ่ือความค้มุ ค่าในการตกแต่ง ตะขอถักโครเชต์มีขนาดเสน้ ผ่านศูนย์กลางต้ังแต่ 0.35 มม. ถึง 25 มม. ขนาดเส้นผ่าศนู ย์กลางเหลา่ นี้ จะมีการแสดงทัง้ ทางตรงในหน่วยมลิ ลเิ มตรและตวั เลขหรือตัวอกั ษรต่างๆระบบมาตรวัด ตะขอทม่ี ีความหนาไม่ เกิน 2.0 มม. ทำจากเหล็ก (เพื่อความแข็งแรง) และเรียกอีกอย่างว่าขอเกี่ยวเหล็ก เชือกผูกรองเท้า หรือด้าย ตะขอที่มีเส้นผ่านศูนยก์ ลาง 2.00 มม. ขึ้นไปเรยี กวา่ ตะขอไหมพรม หรือ ตะขอทั่วไป อลูมิเนยี มเป็นวสั ดุหลัก ตั้งแต่ 2.0 มม. ถึง 6.0 มม. (สำหรับน้ำหนักเบา) ยิ่งไปกว่านั้น ไม้ไผ่ ไม้ และพลาสติกเป็นวัสดุทั่วไป ( เพราะ นำ้ หนกั เบากวา่ ) อย่างไรก็ตาม ขอบเขตขนาดที่ระบรุ ะหวา่ งประเภทนั้นเป็นคา่ โดยประมาณ ยกเว้นตะขอทบี่ าง ท่ีสดุ ซึ่งทำจากเหลก็ อยา่ งสม่ำเสมอ อาจพบวสั ดอุ ืน่ นอกชว่ งทีร่ ะบุ วัสดุทางประวัตศิ าสตร์สำหรับที่จับและขอเก่ียวชิ้นเดียว ได้แก่ กระดูก ปากกาขนนกเม่น เซลลูลอยด์ อาเกต งาช้าง และงาช้างแมมมอธฟอสซลิ ตะขอที่ยาวกวา่ นัน้ ใช้สำหรับโครเชต์ตูนิเซียเพื่อรองรับแถวยาวของ ลูปเปิดทีแ่ สดงลักษณะของสไตล์นั้น รูปแบบมีตะขอทีป่ ลายทั้งสองยังใช้สำหรับตูนิเซียและประเภทอืน่ ๆ ของ การถกั ที่ไมส่ ามารถทำด้วยเบด็ มาตรฐานเช่น CRO-hooking วธิ พี นื้ ฐานในการถือเข็มควกั คือ : จบั ดินสอกับเบด็ ไปกวา่ เปา้ ของนวิ้ หวั แม่มอื คล้ายดินสอ ที่จับมีดโดยมีขอเก่ียวอยูใ่ ต้ฝ่ามอื คล้ายกับมดี ท่ถี ือไว้เมอื่ ถือไว้ อปุ กรณจ์ ับยึดเหล่านีใ้ ชง้ านไดจ้ ริงและได้รับการ คัดเลอื กตามความชอบสว่ นตัว โดยรปู แบบไฮบรดิ เปน็ เรื่องธรรมดา

6 3. แนวคิดการออกแบบสง่ิ ประดิษฐ์ การออกแบบ หมายถงึ การถ่ายทอดรปู แบบจากความคดิ ออกมาเปน็ ผลงานทผี่ อู้ ืน่ สามารถ มองเหน็ รับรูห้ รอื สัมผสั ได้เพอ่ื ใหม้ คี วามเข้าใจในผลงานรว่ มกนั ความสำคญั ของการออกแบบมีอยู่ หลายประการ ดงั นี้ 1). เป็นส่ิงทอ่ี ธบิ ายรายระเอยี ดเกยี่ วกับงานบางประเภทอาจมรี ายละเอียดมากมายซบั ซ้อน ผลงานออกแบบจะช่วยให้ผเู้ ก่ียวข้องและผพู้ บเห็นมคี วามเขา้ ใจท่ีชดั เจนข้ึนหรอื อาจกลา่ วไดว้ ่า ผลงานออกแบบคือตวั แทนความคดิ ของผูอ้ อกแบบได้ท้งั หมด 2). แบบจะมคี วามสำคัญอย่างท่ีสุดในกรณที ่ีนักออกแบบกบั ผ้สู รา้ งหรือผู้ผลิตเปน็ คนละ คนกนั เชน่ สถาปนกิ กบั ช่างกอ่ สร้าง นักออกแบบกับผผู้ ลติ ในโรงงาน หรอื ถ้าจะเปรยี บไปแลว้ นกั ออกแบบก็เหมือนกบั คนเขยี นบทละครนั้นเอง 3). ในแง่ของการวางแผนการทำงานของการออกแบบจะชว่ ยให้การทำงานเปน็ ไปตาม ขนั้ ตอนอยา่ งหมาะสม ประหยดั เวลา ดังนนั้ อาจถอื ว่าการออกแบบคือการวางแผนการทำงานกไ็ ด้ 4). ในแง่ของการนำเสนอผลงานออกแบบจะช่วยให้ผ้เู กย่ี วข้องมคี วามเข้าใจตรงกัน อยา่ ง ชัดเจน ดงั นั้น ความสำคัญในด้านนี้ คอื เปน็ สอื่ ความหมายเพือ่ ความเข้าใจระหวา่ งกัน ขัน้ ตอนหรือวธิ ีการออกแบบ 1). ประชมุ วางแผนงาน วางรูปแบบ และจัดสรรงบประมาณ 2). จดั เตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่จัดทำสิง่ ประดษิ ฐ์ 3). จดั เตรียมสถานที่ในการลงมอื ปฏิบัตงิ าน

7 บทที่ 3 วธิ ีการดําเนินการโครงงานกระเป๋าจากถงุ พลาสตกิ วสั ดอุ ปุ กรณ์ 1. ถุงพลาสตกิ 2. เข็มควกั 3. เข็ม 4. ดา้ ย 5. ไมบ้ รรทดั 6. กรรไกร 7. ปากกา วิธดี ำเนินการ 1. นำถงุ พลาสตกิ มาลา้ งทำความสะอาด ตากใหแ้ หง้ ภาพที่ 3 ลา้ งถุงพลาสติก

8 2. นำถุงพลาสติกท่ตี ากแล้วมาวดั ขนาด กว้าง 1 เซนตเิ มตร ภาพที่ 4 ตากถงุ พลาสติก 3. ใชเ้ ข็มควักถักข้นึ รปู กระเปา๋ ภาพที่ 5 ถักถงุ พลาสติก 4. ใชเ้ ขม็ ควักถกั ข้ึนรูปหูกระเป๋า ภาพที่ 6 ถกั ถงุ พลาสตกิ

9 5. นำส่วนของกระเปา๋ และหเู ช่อื มติดกัน ภาพท่ี 7 เย็บกระเป๋า 6. เกบ็ รายละเอยี ดโดยใชเ้ ข็มและด้าย ภาพท่ี 8 ตัดเศษทโ่ี ผลอ่ อกมา

10 บทที่ 4 ผลการศึกษาคน้ ควา้ ผลการศกึ ษาคน้ ควา้ ผลการศึกษาค้นควา้ โครงงานวิทยาศาสตร์พัฒนานวัตกรรมด้านสง่ิ แวดลอ้ มประเภทสงิ่ ประดษิ ฐ์ การจดั การขยะมลู ฝอย เรอ่ื ง กระเป๋าจากถุงพลาสติก ดังรายละเอยี ดต่อไปน้ี ประดษิ ฐก์ ระเป๋าจากถุงพลาสตกิ จากวิธีดำเนินงานในการทำชิ้นงานนั้น ได้นำถุงพลาสติกที่ไม่ใช้แล้วมาใช้ให้เกิดประโยชน์และเพ่ิม มูลค่า โดยการใช้ความคิดสร้างสรรค์ชิ้นงานให้สอดคล้องกับการใช้งาน หรือวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ คือ เพื่อนำ ถงุ พลาสติกท่ีเหลอื ใช้ให้เกดิ ประโยชน์ สร้างความสามัคคี และฝกึ ทกั ษะการทำงานเป็นทมี มีการประสานงาน ทีด่ รี ะหวา่ งกัน ทำใหไ้ ด้ช้ินงานออกมาจำนวน 1 ช้นิ งาน สวยงามน่าพกพาหยบิ มาใช้ และใชเ้ ปน็ ของขวัญ ของที่ระลกึ ได้ ภาพที่ 9 กระเปา๋ จากถุงพลาสติก

11 บทที่ 5 สรุป อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ จากการทำโครงงานวทิ ยาศาสตร์พัฒนานวตั กรรมดา้ นสิง่ แวดลอ้ มประเภทสิ่งประดษิ ฐก์ ารจดั การขยะ มลู ฝอย เรือ่ ง กระเป๋าจากถงุ พลาสติก สามารถสรปุ ผล อภิปรายผล และให้ขอ้ เสนอแนะ ดงั น้ี สรปุ ผล จากการขน้ั ตอนและวสั ดุทีใ่ ช้ในการประดิษฐ์กระเป๋าจากถุงพลาสตกิ จะได้กระเปา๋ จากถุงพลาสติก อภปิ รายผล 1. จากการข้ันตอนและวัสดทุ ่ใี ชใ้ นการประดษิ ฐ์กระเปาจากถงุ พลาสตกิ สามารถใช้งานไดจ้ ริง มีประสิทธภิ าพที่ดเี ปน็ ไปตามสมมติฐานทีต่ งั้ ไว้ ข้อเสนอแนะ 1. ควรศกึ ษาชนดิ ของพลาสตกิ ชนิดอนื่ เพม่ิ เตมิ 2. ควรเพ่ิมรปู ทรง รูปร่างของกระเปา๋ ให้หลากหลาย

12 บรรณานุกรม ดอนนา่ คเู ลอร์. (2554). การพกั ผอ่ นศิลปะ. Inc : ลิตเตลิ้ รอ็ คอาร์คันซอ. หนา้ 13. ทิพยส์ วรรค์ ปล้องเกดิ . (2561). ศกึ ษาความเต็มใจจา่ ยคา่ ถงุ พลาสติก ทไี่ ด้จากการซ้อื สินค้าในรา้ นสะดวก เขตกรุงเทพมหานคร. กรุงเทพมหานคร : มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. เทศบาลตำบลตะเคียนทอง. (2564). พลาสตกิ คอื อะไร. จนั ทบรุ ี : ตำบลตะเคยี นทอง. รชั ตพ์ ริษฐา พนั ธุ์ด.ี (2564). ความรู้ และพฤตกิ รรมการใชถ้ ุงพลาสติกของครอบครวั ในจงั หวดั นนทบุร.ี สุโขทัย : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วกิ ิพเี ดีย สารานกุ รมเสรี. (2562). เข็มถัก - Knitting needle. [ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้จาก : https://th.vvikipedla.com สืบคน้ 15 มิถุนายน 2564. วนั นา บุตรดาษ และวรรณภา สบิ สริ .ิ (2561). กระเปา๋ จากซองกาแฟ. กรงุ เทพมหานคร : วทิ ยาลยั เทคโนโลยอี รรถวทิ ยพ์ ณชิ ยการ. สทิ ธา เดอื นดาว และคนอนื่ ๆ. (2564). กระเป๋าถุงพลาสตกิ plastic bags. [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงไดจ้ าก : https://sites.google.com สืบคน้ 15 มถิ ุนายน 2564. อัจฉราพรรณ ลีฬพนั ธ.์ (2557). เจตคตพิ ฤติกรรมการลดใชถ้ งุ พลาสติกของประชาชนในกรุงเทพมหานคร. กรุงเทพมหานคร : มหาวทิ ยาลัยหอการค้าไทย.

13 ภาคผนวก

14 ภาคผนวก ก วสั ดุท่ใี ชใ้ นการจดั ทำส่ิงประดษิ ฐ์

15 วัสดุทใี่ ชใ้ นการจัดทำสิ่งประดิษฐ์ กระเปา๋ จากถงุ พลาสติก ภาพท่ี 10 ถงุ พลาสตกิ ภาพที่ 11 เขม็ ควัก ภาพท่ี 12 เข็ม ภาพที่ 13 ดา้ ย ภาพที่ 14 ไม้บรรทดั ภาพท่ี 15 กรรไกร

16 ภาพที่ 16 ปากกา

17 ภาคผนวก ข ข้นั ตอนการจัดทำสง่ิ ประดิษฐ์

18 ขนั้ ตอนการจัดทำส่ิงประดษิ ฐ์ ภาพท่ี 17 นำถุงพลาสตกิ ล้างทำความสะอาด ภาพท่ี 18 ตากถงุ พลาสติกให้แหง้

19 ภาพท่ี 19 วัดขนาดถุงพลาสติก 1 เซนติเมตร ภาพท่ี 20 ตัดถุงพลาสตกิ เปน็ เส้น

20 ภาพที่ 21 คล่ีถุงพลาสติกออกจากกัน ภาพที่ 22 ถักโซ่

21 ภาพท่ี 23 ถกั ก้นกระเป๋า ภาพที่ 24 ถกั หูกระเป๋า

22 ภาพท่ี 25 ประกอบกระเป๋า ภาพท่ี 26 ตัดส่วนเกิน

23