โครงงาน กล่อง เก็บของจากกล่อง ลัง


โครงงาน กล่อง เก็บของจากกล่อง ลัง



โครงงาน ชั้นวางรองเท้าจากลังกระดาษ

Shoe Rack from paper

คณะผู้จัดทำ

           ด.ญ. ศิริวรรณ  ชำนาญหล่อ     ม.3/12 เลขที่ 11

           ด.ญ. จุรีพร ขันทะคุณ               ม.3/12เลขที่ 14

           ด.ญ. ปานชีวา  วงศ์ไชย           ม.3/12 เลขที่ 15

           น.ส. อัจฉริยา   มานิตย์             ม.3/12 เลขที่ 33

           ด.ญ. ปุณยนุช  เผ่ากันทะ         ม.3/12 เลขที่ 45

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/12

ครูที่ปรึกษา

ครูศศิร์อร  ศักดิ์กิตติพงศา

โครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของ รายวิชา เทคโนโลยี 3 ง23102
โรงเรียนพะเยาพิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา
ปีการศึกษา 2559

โครงร่างของโครงงาน ชั้นวางรองเท้าจากลังกระดาษ

ที่มาและความสำคัญของโครงงาน

        โครงงานเรื่องนี้มีที่มาจากการต้องการกำจัดปัญหาในชุมชน ไม่ว่าจะขนาดเล็กหรือใหญ่ และนำมาทำเป็นประโยชน์ โดยการประดิษฐ์ขึ้นมาใหม่เองและนำมาใช้เองด้วย โดยเราเลือกปัญหาที่มีลังกระดาษมากมายจากร้านค้าหรือลังจากไปรษณีย์ ลังห่อของขวัญ มาทำที่วางรองเท้าจากลังกระดาษง่ายๆ ใช้เองในบ้าน

       จากการที่เราได้ทำที่วางรองเท้าจากลังกระดาษ พวกเราสามารถลดปัญหาลังกระดาษที่มีมากมาย ไปสร้างประโยชน์ในทางอื่น ที่นอกเหนือจากการนำไปขาย ทำให้เราไม่ต้องเสียเงินไปซื้อเฟอร์นิเจอร์แพงๆ เพื่อมาใส่รองเท้าของเรา

วัตถุประสงค์

1.      ประดิษฐ์ที่วางรองเท้าจากลังกระดาษที่มีมากมาย(นอกเหนือการขาย)

2.      เพื่อใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด

3.      เพื่อใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

สมมุติฐานของการศึกษาค้นคว้า

        1.สามารถประหยัดค่าใช้จ่าย

        2.สามารถนำสิ่งประดิษฐ์ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้จริง

เครื่องมือ อุปกรณ์ และวัสดุที่ใช้ในการศึกษา

        1.อินเตอร์เน็ต

        2. ลังกระดาษ

        3. เทปกาว

        4. กรรไกร

        5. กระดาษ

วิธีการดำเนินการศึกษา

ขั้นที่ 1 กำหนดปัญหาหรือความต้องการ

        ปัญหา คือ การที่เรามีลังกระดาษในชุมชนที่มากมาย

        แนวทางการแก้ปัญหา คือ นำลังกระดาษเหล่านั้น มาทำเป็นที่วางรองเท้าด้วยตัวเอง สามารถตกแต่งได้ตามใจชอบ และที่สำคัญไม่ต้องเสียเงินมาก

ขั้นที่ 2 รวบรวมข้อมูล

1. การวิเคราะห์ปัญหาหรือความต้องการด้วยชุดคำถาม 5w1h

         1.1) ปัญหาหรือความสนองความต้องการคืออะไร (what)

          - ต้องการนำลังกระดาษที่มีมากมาย มาทำที่วางรองเท้า

         1.2) ปัญหาหรือสนองความต้องการเกิดขึ้นกับใคร (who)

          - คนในชุมชน

           1.3) ปัญหาหรือความสนองความต้องการเกิดขึ้นที่ไหน (where)

          - ชุมชน

         1.4) ปัญหาหรือความสนองความต้องการเกิดขึ้นเมื่อไร (when)

          - เมื่อพบว่าชุมชนไม่นำลังกระดาษมาทำสิ่งที่เป็นประโยชน์มากกว่านี้

         1.5) เพราะเหตุใดจึงต้องแก้ปัญหาหรือความสนองความต้องการ

          - ต้องการนำของที่มีอยู่นำกลับมาใช้ให้เกิดประโยชน์มากกว่านี้

         1.6) จะแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการอย่างไร (how)

          - นำลังกระดาษมาทำที่วางรองเท้า

2. ข้อมูลที่จำเป็นในการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ

         2.1 รูปแบบที่วางรองเท้า

      รูปแบบในการทำนั้นต้องแปลกใหม่ มีรูปทรงที่ใช้งานได้เยอะๆ เหมาะกับรูปทรงของรองเท้า ถนอมรองเท้าไม่ให้พัง และตกแต่งให้เข้ากับสีรองเท้า ซึ่งมีทั้ง รูปแบบสามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม

         2.2 สร้างวิธีการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ เพื่อเป็นทางเลือกในการออกแบบ

ขั้นที่ 3 เลือกวิธีการ

        ที่วางรองเท้าจากลังกระดาษนั้น เราต้องคำนึงถึง พื่นที่ในการใช้ประโยชน์ที่คุ้มค้า ถนอมรูปทรงรองเท้า ไม่เกะกะมากจนเกินไป และ มีรูปทรงแปลกใหม่

        จากวิธีการทั้ง 2 แบบ เมื่อนำมาวิเคระห์ โดย คำนึงถึงจุดประสงค์ ได้ดังนี้ คือ

        วิธีการที่ 1 ทรงสามเหลี่ยม มีพื้นที่ในการใช้งานเยอะ มีรูปทรงที่แปลกใหม่ อีกทั้งสามเหลี่ยมจากการมองทางด้านหน้า ทำให้เรารู้ว่ารูปทรงมันถนอมทรงรองเท้าของเรา

         วิธีการที่ 2 ทรงสี่เหลี่ยม มีพื้นที่ในการใช้งานมาก แต่รูปทรงไม่แปลกใหม่ อีกทั้งไม่มีรูปทรงที่จะถนอมรองเท้าของเรา

        สรุปผลการวิเคราะห์ เลือกวิธีการที่ 1 เพราะ ตรงตามจุดประสงค์ท่กล่าวมา

ขั้นที่ 4 ออกแบบและปฏิบัติการ

1. การออกแบบแนวทางการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการโดยละเอียด

2. การลงมือสร้าง

         2.1 การตัดกระดาษได้ตามขนาดที่ต้องการ

         2.2 แปะเทปสี โดยเว้นขอบและขลิบไว้

         2.3 พับกระดาษลังตามที่เราพับไว้ และติดเทปที่ขลิบไว้

         2.4 ปิดเทปส่วนที่ ไม่ติดกัน

         2.5 ทำอีก 4 อันแล้ว ประกอบด้วยกันให้หมด

แผนปฏิบัติการ

วัน เดือน ปี

1.  ศึกษาเอกสาร

2.  เสนอเค้าโครงต่อที่ปรึกษา

3.  ลงมือปฏิบัติ

4.  วิเคราะห์ข้อมูล

5.  เขียนรายงาน

26 มกราคม 2560
26 มกราคม 2560
26 มกรา - 15 กุมภา 2560
16 กุมภาพันธ์ 2560
17 กุมภาพันธ์ 2560

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

        1. ประดิษฐ์ที่วางรองเท้าจากลังกระดาษที่มีมากมาย(นอกเหนือการขาย)

        2. ใช้ทรัพยากรได้เกิดประโยชน์สูงสุด

        3. ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

เอกสารอ้างอิง

1.https://daily.rabbit.co.th/diy       

2.http://www.pt-pack.com.html

กระดาษลูกฟูก คือ กระดาษที่ประกอบด้วยแผ่นปะหน้า 2 แผ่นและมีลอนกระดาษลูกฟูกอยู่ตรงกลาง ที่นิยมใช้กัน โดยทั่วไปจะมี 3 ประเภท คือ

        1.  กระดาษลูกฟูก 2 ชั้น (Single Face)

ประกอบไปด้วย กระดาษ แผ่นเรียบ 1 แผ่น ปะกบกับลอนลูกฟูก 1 แผ่น นิยมใช้กันกระแทกสินค้า หรือ ปะกล่อง offset ลอนมาตรฐาน :   B, C, E 

        2.   กระดาษลูกฟูก 3 ชั้น (Single wall)

ประกอบไปด้วย  กระดาษแผ่นเรียบ 2 แผ่น ปะกบกับ ลอนลูกฟูก  1 แผ่น โดยลอนลูกฟูก จะอยู่ตรงกลางระหว่าง กระดาษแผ่นเรียบทั้ง 2 แผ่น  มักใช้กับสินค้าที่มีน้ำหนักปานกลาง หรือ ไม่เน้นความแข็งแรงมากนัก

ลอนมาตรฐาน :   B, C, E

        3.   กระดาษลูกฟูก 5 ชั้น (Double  wall)

ประกอบไป ด้วย  กระดาษแผ่นเรียบ 3  แผ่น ปะกบกับ ลอนลูกฟูก 2 แผ่น โดยกระดาษลอนลูกฟูกที่อยู่ติดกับผิวกล่องด้านนอกจะเป็นลอน B เพื่อประโยชน์ทางการพิมพ์ และ กระดาษลอนลูกฟูกที่อยู่ด้านในจะเป็นลอน เพื่อประโยชน์ทางด้านรับแรงกระแทก นิยมใช้สำหรับสินค้าที่ต้องการการป้องกันสูง หรือมีน้ำหนักมาก

ลอนมาตรฐาน :   BC (ลอนB จะอยู่ด้านนอก ส่วนลอนC จะอยู่ด้านใน)  

 บทคัดย่อ

         การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการทำโครงงานตามหลักของกระบวนการเทคโนโลยี ซึ่งมีหลักทั้งหมด 5 หลัก    โดยทำการหาปัญหาของชุมชนหนึ่งที่สามารถแก้ไขปัญหาได้ ซึ่งเยาวชนอย่างเรา ควรจะสามารถปฏิบัติได้ และ เห็นความสำคัญ ของปัญหา ซึ่งปัญหาที่พบคือ กระดาษลังจากการขายขนม หรือการส่งพัสดุนั้นมีมากมาย แต่ทุกคนจะตัดสินใจใช้มันในทางที่เกิดประโยชน์ด้านการเงิน คือการำมันไปขายและได้เงินมา แต่เราจะไม่ขายเราจะนำมันไปประดิษฐ์เป็นชั้นวางรองเท้าสำหรับคนในบ้าน และนั่นก็คือการแก้ปัญหากระดาษลังที่มีมากมาย

         ผลการวิจัยพบว่า ที่วางรองเท้าจากลังกระดาษนั้น สามารถทำได้ง่ายๆในทุกเพศทุกวัยแต่ในวัยเด็กก็ต้องมีผู้ปกครองช่วยเหลือด้วย และการทำเราสามารถนำความคิดของเรามาประยุกต์ใช้กับการประดิษฐ์ ครั้งนี้ได้อีกด้วย และการทำโครงงานครั้งนี้คณะผู้จัดทำ ก็ได้ทำตามกระบวนการเทคโนโลยีทุกขั้นตอน โดยการทำนั้นก็ได้รับคำปรึกษาจากคุณครูด้วย และการแก้ไขปัญหากระดาษลังที่มีมากมายนั้นก็สามารถช่วยลดลงได้ แต่การที่จะทำที่วางรองเท้านั้นต้องอาศัยความแข็งแรงของกระดาษลัง และต้องคอยทำความสะอาดอยู่เสมอ

      กิตติกรรมประกาศ

          โครงงานการออกแบบตามหลักเทคโนโลยี เรื่อง ชั้นวางรองเท้าจากลังกระดาษ สำเร็จลุล่วงได้ด้วยความกรุณาและความช่วยเหลืออย่างสูงยิ่งครูศศิอร ศักดิ์กิตติพงศา ครูที่ปรึกษา ที่ได้กรุณาให้คำปรึกษาแนะนำ ตรวจสอบ แก้ไข ข้อพกพร่องทุกขั้นตอนของการจัดทำโครงงาน รวมถึง การให้กำลังใจในการทำโครงงานนี้ ให้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี ปราศจากข้อผิดพลาด คณะผู้จัดทำโครงงานขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูง  

         ขอขอบพระคุณ บิดา มารดา เพื่อนนักเรียน ตลอดจนผู้ที่เกี่ยวข้องทุกท่านที่ไม่ได้กล่าวนามไว้ ณ ที่นี้ ที่ได้ให้กำลังใจและมีส่วนช่วยเหลือให้โครงงานฉบับนี้สำเร็จลุล่วงได้ด้วยดี ท้ายที่สุด คณะผู้จัดทำโครงงานหวังว่าโครงงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้สนใจไม่มากก็น้อย

คณะผู้จัดทำ


บทที่ 1

บทนำ

ที่มาและความสำคัญของโครงงาน 

       โครงงานเรื่องนี้มีที่มาจากการต้องการกำจัดปัญหาในชุมชน ไม่ว่าจะขนาดเล็กหรือใหญ่ และนำมาทำเป็นประโยชน์ โดยการประดิษฐ์ขึ้นมาใหม่เองและนำมาใช้เองด้วย โดยเราเลือกปัญหาที่มีลังกระดาษมากมายจากร้านค้าหรือลังจากไปรษณีย์ ลังห่อของขวัญ มาทำที่วางรองเท้าจากลังกระดาษง่ายๆ ใช้เองในบ้าน

       จากการที่เราได้ทำที่วางรองเท้าจากลังกระดาษ พวกเราสามารถลดปัญหาลังกระดาษที่มีมากมาย ไปสร้างประโยชน์ในทางอื่น ที่นอกเหนือจากการนำไปขาย ทำให้เราไม่ต้องเสียเงินไปซื้อเฟอร์นิเจอร์แพงๆ เพื่อมาใส่รองเท้าของเรา

วัตถุประสงค์ 
          1.ประดิษฐ์ที่วางรองเท้าจากลังกระดาษที่มีมากมาย(นอกเหนือการขาย)

          2.เพื่อใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด

          3.เพื่อใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์สมมุติฐานของการศึกษาค้นคว้า

เอกสารที่เกี่ยวข้อง

เอกสารอ้างอิง

กระดาษลูกฟูก

 กระดาษลูกฟูก คือ กระดาษที่ประกอบด้วยแผ่นปะหน้า 2 แผ่นและมีลอนกระดาษลูกฟูกอยู่ตรงกลาง ที่นิยมใช้กัน โดยทั่วไปจะมี 3 ประเภท คือ

โครงงาน กล่อง เก็บของจากกล่อง ลัง

       1.  กระดาษลูกฟูก 2 ชั้น (Single Face)

ประกอบไปด้วย กระดาษ แผ่นเรียบ 1 แผ่น ปะกบกับลอนลูกฟูก 1 แผ่น นิยมใช้กันกระแทกสินค้า หรือ ปะกล่อง offset ลอนมาตรฐาน :   B, C, E

โครงงาน กล่อง เก็บของจากกล่อง ลัง

โครงงาน กล่อง เก็บของจากกล่อง ลัง
2.   กระดาษลูกฟูก 3 ชั้น (Single wall)

ประกอบไปด้วย  กระดาษแผ่นเรียบ 2 แผ่น ปะกบกับ ลอนลูกฟูก  1 แผ่น โดยลอนลูกฟูก จะอยู่ตรงกลางระหว่าง กระดาษแผ่นเรียบทั้ง 2 แผ่น  มักใช้กับสินค้าที่มีน้ำหนักปานกลาง หรือ ไม่เน้นความแข็งแรงมากนัก ลอนมาตรฐาน :   B, C, E



 3.   กระดาษลูกฟูก 5 ชั้น (Double  wall)

ประกอบไป ด้วย  กระดาษแผ่นเรียบ 3  แผ่น ปะกบกับ ลอนลูกฟูก 2 แผ่น โดยกระดาษลอนลูกฟูกที่อยู่ติดกับผิวกล่องด้านนอกจะเป็นลอน B เพื่อประโยชน์ทางการพิมพ์ และ กระดาษลอนลูกฟูกที่อยู่ด้านในจะเป็นลอน เพื่อประโยชน์ทางด้านรับแรงกระแทก นิยมใช้สำหรับสินค้าที่ต้องการการป้องกันสูง หรือมีน้ำหนักมาก

ลอนมาตรฐาน :   BC (ลอนB จะอยู่ด้านนอก ส่วนลอนC จะอยู่ด้านใน)

การใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า

1. การใช้อย่างประหยัด คือ การใช้เท่าที่มีความจำเป็น เพื่อให้มีทรัพยากรไว้ใช้ได้นานและเกิดประโยชน์อย่างคุ้มค่ามากที่สุด

2. การนำกลับมาใช้ซ้ำอีก สิ่งของบางอย่างเมื่อมีการใช้แล้วครั้งหนึ่งสามารถที่จะนำมาใช้ซ้ำได้อีก เช่น ถุงพลาสติก กระดาษ เป็นต้น หรือสามารถที่จะนำมาใช้ได้ใหม่โดยผ่านกระบวนการต่างๆ เช่น การนำกระดาษที่ใช้แล้วไปผ่านกระบวนการต่างๆ เพื่อทำเป็นกระดาษแข็ง เป็นต้น ซึ่งเป็นการลดปริมาณการใช้ทรัพยากรและการทำลายสิ่งแวดล้อมได้

3. การบูรณซ่อมแซม สิ่งของบางอย่างเมื่อใช้เป็นเวลานานอาจเกิดการชำรุดได้ เพราะฉะนั้นถ้ามีการบูรณะซ่อมแซม ทำให้สามารถยืดอายุการใช้งานต่อไปได้อีก

4. การบำบัดและการฟื้นฟู เป็นวิธีการที่จะช่วยลดความเสื่อมโทรมของทรัพยากรด้วยการบำบัดก่อน เช่น การบำบัดน้ำเสียจากบ้านเรือนหรือโรงงานอุตสาหกรรม เป็นต้น ก่อนที่จะปล่อยลงสู่แหล่งน้ำสาธารณะ ส่วนการฟื้นฟูเป็นการรื้อฟื้นธรรมชาติให้กลับสู่สภาพเดิม เช่น การปลูกป่าชายเลน เพื่อฟื้นฟูความ สมดุลของป่าชายเลนให้กลับมาอุดมสมบูรณ์ เป็นต้น

5. การใช้สิ่งอื่นทดแทน เป็นวิธีการที่จะช่วยให้มีการใช้ทรัพยากรธรรมชาติน้อยลงและไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม เช่น การใช้ถุงผ้าแทนถุงพลาสติก การใช้ใบตองแทนโฟม การใช้พลังงานแสงแดดแทนแร่เชื้อเพลิง การใช้ปุ๋ยชีวภาพแทนปุ๋ยเคมี เป็นต้น

6. การเฝ้าระวังดูแลและป้องกัน เป็นวิธีการที่จะไม่ให้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมถูกทำลาย เช่น กาเฝ้าระวังการทิ้งขยะ สิ่งปฏิกูลลงแม่น้ำ คูคลอง การจัดทำแนวป้องกันไฟป่า



บทที่ 3

วิธีการศึกษาและเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา

วิธีการศึกษา

ขั้นที่ 1 กำหนดปัญหาหรือความต้องการ

        ปัญหา คือ การที่เรามีลังกระดาษในชุมชนที่มากมาย

        แนวทางการแก้ปัญหา คือ นำลังกระดาษเหล่านั้น มาทำเป็นที่วางรองเท้าด้วยตัวเอง สามารถตกแต่งได้ตามใจชอบ และที่สำคัญไม่ต้องเสียเงินมาก

ขั้นที่ 2 รวบรวมข้อมูล

1. การวิเคราะห์ปัญหาหรือความต้องการด้วยชุดคำถาม 5w1h

         1.1) ปัญหาหรือความสนองความต้องการคืออะไร (what)

          - ต้องการนำลังกระดาษที่มีมากมาย มาทำที่วางรองเท้า

         1.2) ปัญหาหรือสนองความต้องการเกิดขึ้นกับใคร (who)

          - คนในชุมชน

         1.3) ปัญหาหรือความสนองความต้องการเกิดขึ้นที่ไหน (where)

          - ชุมชน

         1.4) ปัญหาหรือความสนองความต้องการเกิดขึ้นเมื่อไร (when)

          - เมื่อพบว่าชุมชนไม่นำลังกระดาษมาทำสิ่งที่เป็นประโยชน์มากกว่านี้

         1.5) เพราะเหตุใดจึงต้องแก้ปัญหาหรือความสนองความต้องการ

          - ต้องการนำของที่มีอยู่นำกลับมาใช้ให้เกิดประโยชน์มากกว่านี้

         1.6) จะแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการอย่างไร (how)

          - นำลังกระดาษมาทำที่วางรองเท้า

2. ข้อมูลที่จำเป็นในการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ

         2.1 รูปแบบที่วางรองเท้า

      รูปแบบในการทำนั้นต้องแปลกใหม่ มีรูปทรงที่ใช้งานได้เยอะๆ เหมาะกับรูปทรงของรองเท้า ถนอมรองเท้าไม่ให้พัง และตกแต่งให้เข้ากับสีรองเท้า ซึ่งมีทั้ง รูปแบบสามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม

โครงงาน กล่อง เก็บของจากกล่อง ลัง

โครงงาน กล่อง เก็บของจากกล่อง ลัง

 2.2 สร้างวิธีการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ เพื่อเป็นทางเลือกในการออกแบบ

โครงงาน กล่อง เก็บของจากกล่อง ลัง
                    
โครงงาน กล่อง เก็บของจากกล่อง ลัง


วิธีการที่ 1 ทรง 3 เหลี่ยม                                        วิธีการที่ 2 ทรง 4 เหลี่ยม

ขั้นที่ 3 เลือกวิธีการ

        ที่วางรองเท้าจากลังกระดาษนั้น เราต้องคำนึงถึง พื่นที่ในการใช้ประโยชน์ที่คุ้มค้า ถนอมรูปทรงรองเท้า ไม่เกะกะมากจนเกินไป และ มีรูปทรงแปลกใหม่

        จากวิธีการทั้ง 2 แบบ เมื่อนำมาวิเคระห์ โดย คำนึงถึงจุดประสงค์ ได้ดังนี้ คือ

        วิธีการที่ 1 ทรงสามเหลี่ยม มีพื้นที่ในการใช้งานเยอะ มีรูปทรงที่แปลกใหม่ อีกทั้งสามเหลี่ยมจากการมองทางด้านหน้า ทำให้เรารู้ว่ารูปทรงมันถนอมทรงรองเท้าของเรา

         วิธีการที่ 2 ทรงสี่เหลี่ยม มีพื้นที่ในการใช้งานมาก แต่รูปทรงไม่แปลกใหม่ อีกทั้งไม่มีรูปทรงที่จะถนอมรองเท้าของเรา

        สรุปผลการวิเคราะห์ เลือกวิธีการที่ 1 เพราะ ตรงตามจุดประสงค์ท่กล่าวมา

ขั้นที่ 4 ออกแบบและปฏิบัติการ

1.       การออกแบบแนวทางการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการโดยละเอียด

โครงงาน กล่อง เก็บของจากกล่อง ลัง
โครงงาน กล่อง เก็บของจากกล่อง ลัง

2.       การลงมือสร้าง

         2.1 การตัดกระดาษได้ตามขนาดที่ต้องการ

         2.2 แปะเทปสี โดยเว้นขอบและขลิบไว้

         2.3   พับกระดาษลังตามที่เราพับไว้ และติดเทปที่ขลิบไว้

         2.4   ปิดเทปส่วนที่ ไม่ติดกัน

         2.5 ทำอีก 4 อันแล้ว ประกอบด้วยกันให้หมด

เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา
วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือที่ใช้   
1. ลังกระดาษ
2. เทปกาว

3. กรรไกร
4. กระดาษ


บทที่ 4

บทที่ 4 ผลการศึกษาและอภิปรายผลการศึกษา

ผลการศึกษา

จากการที่ได้ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับชั้นวางรองเท้าจากกระดาษลังเพื่อทำโครงงาน และหลังจากการที่ได้ศึกษาข้อมูลแล้วผู้จัดทำได้รับความรู้ดังนี้

          1.ได้รับความรู้ในเรื่องการนำของเหลือใช้มาทำให้เกิดประโยชน์

          2.ได้รับความรู้ทางการงานอาชีพ

3.ได้รู้จักชนิดต่างๆของกระดาษลัง ว่าควรใช้แบบใด

4.ได้ตระหนักถึงการใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด

5.มีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง (ที่นักศึกษาได้ทำการค้นคว้า)

1. การใช้อย่างประหยัด คือ การใช้เท่าที่มีความจำเป็น เพื่อให้มีทรัพยากรไว้ใช้ได้นานและเกิดประโยชน์อย่างคุ้มค่ามากที่สุด
2. การนำกลับมาใช้ซ้ำอีก สิ่งของบางอย่างเมื่อมีการใช้แล้วครั้งหนึ่งสามารถที่จะนำมาใช้ซ้ำได้อีก เช่น ถุงพลาสติก กระดาษ เป็นต้น หรือสามารถที่จะนำมาใช้ได้ใหม่โดยผ่านกระบวนการต่างๆ เช่น การนำกระดาษที่ใช้แล้วไปผ่านกระบวนการต่างๆ เพื่อทำเป็นกระดาษแข็ง เป็นต้น ซึ่งเป็นการลดปริมาณการใช้ทรัพยากรและการทำลายสิ่งแวดล้อมได้

3. การบูรณซ่อมแซม สิ่งของบางอย่างเมื่อใช้เป็นเวลานานอาจเกิดการชำรุดได้ เพราะฉะนั้นถ้ามีการบูรณะซ่อมแซม ทำให้สามารถยืดอายุการใช้งานต่อไปได้อีก
4.  การบำบัดและการฟื้นฟู เป็นวิธีการที่จะช่วยลดความเสื่อมโทรมของทรัพยากรด้วยการบำบัดก่อน เช่น การบำบัดน้ำเสียจากบ้านเรือนหรือโรงงานอุตสาหกรรม เป็นต้น ก่อนที่จะปล่อยลงสู่แหล่งน้ำสาธารณะ ส่วนการฟื้นฟูเป็นการรื้อฟื้นธรรมชาติให้กลับสู่สภาพเดิม เช่น การปลูกป่าชายเลน เพื่อฟื้นฟูความ สมดุลของป่าชายเลนให้กลับมาอุดมสมบูรณ์ เป็นต้น

5.  การใช้สิ่งอื่นทดแทน เป็นวิธีการที่จะช่วยให้มีการใช้ทรัพยากรธรรมชาติน้อยลงและไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม เช่น การใช้ถุงผ้าแทนถุงพลาสติก การใช้ใบตองแทนโฟม การใช้พลังงานแสงแดดแทนแร่เชื้อเพลิง การใช้ปุ๋ยชีวภาพแทนปุ๋ยเคมี เป็นต้น6. การเฝ้าระวังดูแลและป้องกัน เป็นวิธีการที่จะไม่ให้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมถูกทำลาย เช่น เฝ้าระวังการทิ้งขยะ สิ่งปฏิกูลลงแม่น้ำ คูคลอง การจัดทำแนวป้องกันไฟป่า



บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา

 สรุปผลการศึกษา และข้อเสนอแนะ

สรุปผลการศึกษา
          ในการจัดทำโครงงานชั้นวางรองเท้าจากลังกระดาษ ผู้จัดทำได้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากเครือข่ายอินเตอร์เน็ต และข่าวสารจากสื่อโทรทัศน์ ในการศึกษาครั้งนี้ทำให้ตระหนักได้ว่าในชีวิตประจำวันของเรานั้นมีของเหลือใช้มากมายที่เราอาจจะไม่เคยเห็นค่า การศึกษาเพื่อทำโครงงานชิ้นนี้จึงได้ให้ผู้ศึกษาได้มองเห็นประโยชน์ของสิ่งเหลือใช้และนำกลับมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด

 ประโยชน์ที่ได้รับ
          1.ได้รับความรู้ในเรื่องการนำของเหลือใช้มาทำให้เกิดประโยชน์
          2.ได้รับความรู้ทางการงานอาชีพ
          3.ได้รู้จักชนิดต่างๆของกระดาษลัง ว่าควรใช้แบบใด
          4.ได้ตระหนักถึงการใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด
          5.มีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง

ข้อเสนอแนะ
          1.ควรจะมีสื่อในการสอนทำสิ่งประดิษฐ์
          2.ควรมีการจัดการอบรมเกี่ยวกับสิ่งของเหลือใช้



เอกสารอ้างอิง

กิตติยาพร อมรรัตน์. 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560. การทำชั้นวางรองเท้าจากลังกระดาษ. สืบค้นจาก ttps://daily.rabbit.co.th/diyแหล่งที่มาที่ทำชั้นวางรองเท้าจากลังกระดาษ.

กลุ่มบริษัทอินเตอร์ . 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560.ข้อมูลลังกกระดาษ. สืบค้น http://inter-group.co.th/about-us/ แหล่งที่มาข้อมูลลังกระดาษ.

1.https://daily.rabbit.co.th/diy       

2.http://www.pt-pack.com.html

กระดาษลูกฟูก คือ กระดาษที่ประกอบด้วยแผ่นปะหน้า 2 แผ่นและมีลอนกระดาษลูกฟูกอยู่ตรงกลาง ที่นิยมใช้กัน โดยทั่วไปจะมี 3 ประเภท คือ

        1.  กระดาษลูกฟูก 2 ชั้น (Single Face)

ประกอบไปด้วย กระดาษ แผ่นเรียบ 1 แผ่น ปะกบกับลอนลูกฟูก 1 แผ่น นิยมใช้กันกระแทกสินค้า หรือ ปะกล่อง offset ลอนมาตรฐาน :   B, C, E 

        2.   กระดาษลูกฟูก 3 ชั้น (Single wall)

ประกอบไปด้วย  กระดาษแผ่นเรียบ 2 แผ่น ปะกบกับ ลอนลูกฟูก  1 แผ่น โดยลอนลูกฟูก จะอยู่ตรงกลางระหว่าง กระดาษแผ่นเรียบทั้ง 2 แผ่น  มักใช้กับสินค้าที่มีน้ำหนักปานกลาง หรือ ไม่เน้นความแข็งแรงมากนัก

ลอนมาตรฐาน :   B, C, E

        3.   กระดาษลูกฟูก 5 ชั้น (Double  wall)

ประกอบไป ด้วย  กระดาษแผ่นเรียบ 3  แผ่น ปะกบกับ ลอนลูกฟูก 2 แผ่น โดยกระดาษลอนลูกฟูกที่อยู่ติดกับผิวกล่องด้านนอกจะเป็นลอน เพื่อประโยชน์ทางการพิมพ์ และ กระดาษลอนลูกฟูกที่อยู่ด้านในจะเป็นลอน C  เพื่อประโยชน์ทางด้านรับแรงกระแทก นิยมใช้สำหรับสินค้าที่ต้องการการป้องกันสูง หรือมีน้ำหนักมาก

ลอนมาตรฐาน :   BC (ลอนจะอยู่ด้านนอก ส่วนลอนจะอยู่ด้านใน)