แผนการสอนโภชนาการหญิงตั้งครรภ์

แผนการสอนวชิ า อาหารบุคคลภาวะพเิ ศษ (2404 - 2119) โดย นางสาวรอซยี ๊ะ ปาแนม๊ะ สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ วอศ.เพชรบรุ ี

หนว่ ยท่ี 2 โภชนาการสำหรบั หญงิ ต้ังครรภ์

โภชนาการสำหรับหญงิ ต้งั ครรภ์
ความสำคญั ของอาหาร การต้ังครรภ์เปน็ ระยะที่มีการสรา้ งเซลล์และเนื้อเยื่อต่างๆ เกิดข้ึนมากกว่าปกติ

เพราะอัตราการเติบโตของทารกในครรภ์สูงกว่าระยะอ่ืนๆ ของชีวิต ดังนั้นความต้องการสารอาหารและพลังงาน
ระหว่างตงั้ ครรภม์ ากกวา่ ซึ่งเป็นผลมาจากความต้องการของร่างกายมารดา ความต้องการของทารกในครรภ์การ
สร้างรกและการขยายตัวของมดลูก รวมทั้งการเตรียมอาหารสำรองไว้สำหรับการคลอดบุตร และการผลิตน้ำนม
เลี้ยงทารก ดังนั้นความต้องการสารอาหารและพลังงานระหว่างตั้งครรภ์ จึงมีมากกว่าระยะอื่นๆ ถ้ามารดาไดร้ ับ
สารอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูงในปริมาณที่เพียงพอ มารดาจะมีสุขภาพสมบูรณ์และให้กำเนิดทารกท่ี
แขง็ แรง ในทางตรงกันขา้ มถ้ามารดากินอาหารทไ่ี มถ่ ูกต้อง หรือไม่เพียงพอมักทำใหเ้ กิดภาวะโลหิตจาง เดก็ คลอด
กอ่ นกำหนดหรือแท้ง โลหิตเปน็ พิษขณะตง้ั ครรภ์ เด็กเกดิ ใหมม่ นี ำ้ หนักแรกคลอดน้อย มภี าวะโลหิตจาง เจ็บป่วย
บอ่ ยและอาจเสียชีวิตได้ ดังน้ันจงึ สรุปไดว้ า่ อาหารของมารดาในระยะตั้งครรภ์ มีความสำคัญต่อสขุ ภาพรา่ งกายของ
ท้ังมารดาและทารกเป็นอย่างมาก

การเปล่ียนแปลงทางสรีระระหวา่ งตัง้ ครรภ์ ในระยะตั้งครรภ์ การทำงานของอวัยวะตา่ งๆ และนำ้ หนกั ของหญิงมี
ครรภจ์ ะเปล่ียนแปลง ดังน้ี

1. การทำงานของอวัยวะตา่ งๆ อวยั วะสำคญั ๆในร่างกายจะทำงานมากขึน้ ระหวา่ งต้งั ครรภ์ เช่น ตบั ไต
ตอ่ มใตส้ มอง ตอ่ มไทรอยด์ ต่อมหมวกไต และมดลูก การท่ีตอ่ มไรท้ อ่ ดงั กลา่ วทำงานมากขน้ึ เช่นนี้ จะทำใหร้ ่างกาย
ผลิตฮอร์โมนมากข้ึน ซึ่งสารเหลา่ น้ีจะมผี ลต่อส่วนประกอบของเลือด ปัสสาวะ ตลอดจนการเก็บสะสมอาหารซึง่
จำเป็นตอ่ การเจริญเตบิ โตของเด็กและร่างกายของมารดาเอง

ในระยะแรก ฮอรโ์ มนโปรเจสเตอโรน (Progesterone) ผลติ โดย ครอพสั ลเู ตยี ม (Corpus Luteum) รัก
และต่อมหมวกไตชั้นนอกจะช่วยให้ผนังชั้นในของมดลูกแขง็ แรงขึ้นสำหรบั การฝังตัวของไขภ่ ายใตก้ ารปฏิสนธิ และ
โกนาโดทรอปพนิ ส์ (Gonadotrophins) จากต่อมใต้สมองสว่ นหน้า จะช่วยการสร้างอวัยวะและช่วยให้ทารกใน
ครรภเ์ จริญเตบิ โตตามปกติ ภายหลงั การต้งั ครรภ์ได้ประมาณ 100 วัน จะมีการผลติ เอสโตรเจน (Estrogen) มาก
ขึ้น ทั้งเอสโตรเจและโปรเจสเตอโรนจะช่วยกระตุ้นการเจริญเติบโตของต่อมน้ำนม และจะทำให้โพรแลคติน
(Prolatin) จากต่อมใต้สมองสว่ นหน้ายังไม่ทำงานจนกว่าจะคลอดบตุ ร ในขณะเดียวกันสเตอรอยด์ฮอร์โมนจาก

แผนการสอนวชิ า อาหารบคุ คลภาวะพิเศษ (2404 - 2119) โดย นางสาวรอซียะ๊ ปาแนม๊ะ สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ วอศ.เพชรบุรี

ตอ่ มหมวกไตช้นั นอกจะมมี ากขึ้นและทำให้ร่างกายเก็บสะสมน้ำและโซเดียมไวม้ ากขน้ึ สำหรับต่อมไทรอยด์น้ันจะ
ทำงานน้อยลงระหว่าง 4 เดอื นแรกของการตัง้ ครรภ์ หลงั จากนน้ั จึงจะทำงานมากกว่าปกติ

2. การเพ่ิมน้ำหนัก มารดาควรจะมีน้ำหนกั เพม่ิ ประมาณ 10-11 กิโลกรมั สำหรบั นำ้ หนักของมารดาที่
เพิ่มในระหว่างตั้งครรภ์นั้น นักวิชาการลงความเห็นว่า ในระยะเวลา 3 เดือนแรกของการตั้งครรภ์ ควรเพิ่ม
ประมาณ 2 กโิ ลกรัม ชว่ งที่ 2 (เดือนท่ี 4-6) ประมาณ 3-4 กโิ ลกรมั และช่วงที่ 3 (เดือนที่ 7-คลอด) ประมาณ 4-5
กิโลกรัม ถ้ามารดามีน้ำหนักน้อยกว่าปกติ ทารกที่เกิดมาจะมีน้ำหนักน้อยหรือตัวเล็กกว่าปก ติ แต่ถ้ามารดามี
นำ้ หนักมากกวา่ ปกติ ทารกท่เี กดิ มาจะตวั ใหญก่ วา่ เดก็ ทารกปกติ มารดาทไ่ี มส่ ามารถเพิม่ น้ำหนักไดด้ งั กล่าวมาแลว้
มีโอกาสที่จะคลอดกอ่ นกำหนดได้มาก ส่วนมารดาท่ีมีน้ำหนักมากกว่าที่กำหนด มีโอกาสเกิดโรคครรภ์เป็นพิษได้
งา่ ย

ความตอ้ งการสารอาหารของหญงิ มคี รรภ์
หญิงมีครรภ์มีความต้องการพลังงานและสารอาหารสูงกว่าคนปกติ โดยเฉพาะสารอาหารทีจ่ ะช่วยสร้าง

ร่างกายเจริญเติบโตของทารก และบำรุงเลี้ยงร่างกายของมารดาสำหรับการตั้งครรภ์และการคลอดบุตรใน
ระยะแรกของการต้ังครรภ์ (ชว่ งท่ี 1) จะมกี ารสรา้ งอวัยวะต่างๆ ทารกในครรภ์เติบโตข้ึนช้าๆ นำ้ หนักของทารกใน
ครรภ์จะคอ่ ยๆเพม่ิ ข้ึนในช่วงที่ 2 และจะเจรญิ เตบิ โตอย่างรวดเรว็ ในชว่ งที่ 3 โดยเฉพาะในเดอื นสุดท้ายกอ่ นคลอด
อัตราการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์จะสูงสดุ ดังนั้น โภชนาการจึงเนน้ ความสำคัญของโภชนาการในชว่ งที่ 2
และ 3 เป็นสว่ นใหญ่ อยา่ งไรก็ตามการเพิ่มอาหารท่เี ปน็ ประโยชนแ์ ก่ร่างกายในระหว่างตั้งครรภไ์ ดเ้ รว็ เทา่ ใด ก็จะ
เป็นผลดแี ก่สุขภาพของมารดาและทารกไดม้ ากเทา่ นัน้ สารอาหารที่หญิงมีครรภ์ตอ้ งการ ได้แก่

1. พลังงาน เนือ่ งจากหญงิ ต้งั ครรภ์มีการเผาผลาญอาหารในรา่ งกายเพม่ิ มากขึ้นและยังมที ารกในครรภ์ที่
กำลังเติบโตข้ึนทุกวัน หญิงตั้งครรภ์จึงต้องการปริมาณแคลอรีเพิ่มขึ้นจากภาวะร่างกายปกติ 15% เช่น ถ้าหญิง
ตั้งครรภ์สูง 160 ซม. หนัก 50 กิโลกรัม ก่อนท้องต้องการพลังงาน 2,100 แคลอรี ในขณะตั้งครรภ์ จะต้อง
การพลังงาน 2,400 แคลอรีต่อวัน กระทรวงสาธารณะสขุ แนะนำว่า พลงั งานท่ีจำเป็นสำหรับหญิงทีไ่ ม่ตัง้ ครรภ์วัย
19-50 ปี ตอ้ งการพลงั งานวันละ 1,940 กิโลแคลอรี สำหรบั หญงิ ต้ังครรภจ์ ะตอ้ งการพลงั งานเพ่มิ ขนึ้ อกี 200 กิโล
แคลอรตี อ่ วนั ถ้าหากไดร้ บั ไม่เพยี งพอร่างกายจะดึงเอาโปรตีนมาใชเ้ ปน็ พลังงานแทนแคลอรีที่ได้รบั มีผลโดยตรง
ต่อนำ้ หนกั แรกคลอด ถ้ามกี ารกำจดั แคลอรจี ะทำใหท้ ารกโตช้าและน้ำหนกั นอ้ ย

แผนการสอนวิชา อาหารบคุ คลภาวะพเิ ศษ (2404 - 2119) โดย นางสาวรอซยี ๊ะ ปาแนมะ๊ สาขาวชิ าอาหารและโภชนาการ วอศ.เพชรบุรี

2. โปรตนี เป็นสารท่ใี ชใ้ นการสร้างเนื้อเย่อื ในร่างกายของมารดา และอีกครง่ึ หนงึ่ สำหรบั การเจริญเตบิ โต
ของทารก ดังนั้นความต้องการจึงเพิ่มมากขึ้นเป็นสองเท่า ของความต้องการปกติแหล่งาหารโปรตีนที่สำคัญคือ
อาหารจากสตั ว์ เช่น นม เนย เน้ือสตั วท์ กุ ชนิด ปลาและไข่ โปรตีนท่ไี ด้จากพชื เชน่ ถัว่ เปน็ อาหารทอ่ี าจใช้แทนได้
แต่โปรตีนจากพชื เป็นโปรตีนที่ไม่ครบถ้วนสำหรับความต้องการของร่างกาย ถ้าได้รับโปรตีนเพยี งพอ สารอาหาร
อื่นๆยกเวน้ วิตามินซี เชน่ วิตามนิ เอ และ บี ร่างกายกจ็ ะได้รบั อยู่แล้ว เพราะมีความสัมพนั ธ์กนั อยกู่ บั สารโปรตีน
ในอาหาร ถ้าหญงิ ตั้งครรภ์ได้รบั โปรตีนไม่เพียงพอ ก็จะเป็นเหตุให้รับ แคลเซียม ฟอสฟอรัส เหล็ก และวิตามนิ บี
รวมไม่เพียงพออีกด้วย การได้รับปริมาณโปรตีนไม่เพียงพอในหญิงตั้งครรภ์จะทำให้หญิงตั้งครรภ์มีอาการบวม
(Nutrition edema)และทารกท่ีคลอดออกมาจะไมแ่ ข็งแรง

3. แคลดซียม เป็นสารจำเปน็ ในการสรา้ งกระดกู และฟนั ของเดก็ สร้างนำ้ นมของมารดาระหว่าง
ตั้งครรภ์ แคลเซียมของมารดาและทารกเพิ่มขึ้นในช่วงท่ี 2 และ 3 และจะสูงสุดในเดือนสุดท้ายก่อนคลอด ถ้า
ร่างกายมารดามีแคลเซยี มตำ่ หรอื มารดากินแคลเซียมไมเ่ พียงพอ ทารกจะดึงเอาแคลเซยี มจากตัวมารดามาใช้ ทำ
ใหม้ ารดาเป็นโรคฟนั ผุได้ง่าย ยิ่งถา้ มารดากนิ วิตามนิ ดไี ม่พอหรอื ไดร้ ับแสงแดดไมพ่ อด้วย ก็จะทำให้เปน็ โรคกระดกู
อ่อน สำหรับทารกถา้ ได้แคลเซยี มจากมารดาไม่พอ ทารกจะเปน็ กระดกู อ่อน มลี กั ษณะโคง้ งอตามแขนและขา และ
ถ้าขาดวติ ามินดรี ว่ มด้วย จะทำใหม้ อี าการรนุ แรงข้นึ ดงั นัน้ จงึ ควรเพม่ิ ปรมิ าณแคลเซยี มตัง้ แต่เร่มิ ตั้งครรภ์ โดยปกติ
หญงิ ต้งั ครรภ์ควรกินแคลเซียม วนั ละ 1,000 มิลลกิ รัม ในช่วงที่ 3 ของการมคี รรภ์

4. เหลก็ รา่ งกายหญิงตงั้ ครรภ์ต้องใช้เหล็กเพ่อื จะทำใหเ้ ม็ดเลือดแดงมีมากพอท่จี ะลำเลยี งเอา
ออกซเิ จนจากเลอื ดแม่ไปยังระบบไหวเวียนของลกู ธาตุเหลก็ เป็นสิง่ ท่จี ำเปน็ สำหรบั ทารก เพือ่ นำไปสร้างเมด็ โลหติ
และกล้ามเนื้อเม่อื อายุครรภ์มากข้ึน ทารกตอ้ งการธาตเุ หล็กมากขน้ึ โดยเฉพาะใน 3 เดอื นสุดทา้ ย ทารกจะสะสม
เหล็กไว้ในตับเพื่อเกบ็ ไว้สร้างเมด็ โลหิตในระยะ 2-3 เดือนหลังคลอดซึ่งเป็นช่วงที่นมเป็นอาหารหลัก และมีธาตุ
เหล็กอยู่เพียงเล็กนอ้ ย ในช่วง 4 เดือนแรกของการตัง้ ครรภ์ ไม่มีความจำเป็นทีต่ ้องใหธ้ าตุเหลก็ เสริม และการให้
เหล็กเสริมในช่วงนี้อาจทำให้มีอาการคลื่นไส้ อาเจียนมากขึ้นโดยไม่จำเป็น ธาตุเหล็กมีมากในเนื้อสัตว์ทุกชนิด
โดยเฉพาะอย่างยิ่งมีมากในตับ ไข่แดง ผักขม ผักตำลงึ ธาตุเหล็กทีไ่ ด้จากอาหารจะถูกดดู ซึมเข้าสู่ร่างกายไดง้ า่ ย
กว่าธาตุเหล็กในยา การดูดซึมธาตเุ หล็กในระบบทางเดือนอาหารจะถูดขดั ขวางได้โดยแคลเซียมและแมกนเี ซียม
ดงั นน้ั จึงไมค่ วรรับประทานธาตุเหล้กรว่ มกบั แอนตาซดิ (ยาลดกรดในกระเพาะอาหาร) อยา่ งไรก็ตามหญิงตั้งครรภ์
มกั จะไดธ้ าตุเหลก้ ท่ีไดจ้ ากอาหารไม่เพียงพอตอ่ ความต้องการของร่างกาย ดังนัน้ หญิงตง้ั ครรภจ์ ึงตอ้ งกินยาที่มีธาตุ
เหล็กเสรมิ ด้วย มารดาทก่ี นิ เหล็กเพยี งพอจะชว่ ยปอ้ งกันโรคโลหิตจาง ท้งั ในมารดาและทารกได้

แผนการสอนวิชา อาหารบุคคลภาวะพิเศษ (2404 - 2119) โดย นางสาวรอซยี ๊ะ ปาแนม๊ะ สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ วอศ.เพชรบุรี

5. ไอโอดนี สารไอโอดนี เปน็ สาระสำคญั มากสำหรับหญิงตั้งครรภ์ เพราะหลงั จากตั้งครรภไ์ ด้ 4 เดอื น
ต่อมไทรอยด์จะทำงานมากขึ้น ดังนั้นหญิงตั้งครรภ์จึงต้องการไอโอดีนสูงกว่าคนปกติ เพื่อนำไปใช้ในการ
เจริญเติบโตของทารกในครรภ์ ระหว่างตั้งครรภ์มีการสูญเสียไอโอดีนทางไตเพิ่มขึ้น ถ้ามีการขาดไอโอดีนอย่าง
รุนแรงทารกในครรภ์จะแคระแกรน (Cretinism) และมีความผิดปกติของระบบประสาทหลายๆอย่าง แต่ถ้าได้
ไอโอดนี ในปรมิ าณมากเกนิ ไป ไอโอดนี จะไปกดการทำงานของต่อมไทรอยด์ของทารกในครรภ์ ทำใหท้ ารกเปน็ โรค
คอพอกในครรภ์ได้ ซึ่งมีมากในอาหารทะเล เช่น กุ้ง หอย สาหรา่ ย เป็นต้น การรบั ประทานอาหารทะเลบ่อยคร้ัง
และการใช้เกลือเติมไอโอดนี จะชว่ ยแกป้ ัญหานี้ได้

6. กรดโฟลกิ สารน้มี ีบทบาทในการแบง่ ตวั ของเซลล์ ดงั นัน้ จึงจำเปน็ ตอ่ การตั้งครรภ์ในระยะแรกซ่งึ เซลล์
กำลังมีการแบ่งตัวอย่างรวดเร็ว ถ้าขาดกรดโฟลกิ (Folic acid) ในช่วงนี้ จะทำให้การแบ่งเซลล์ของทารกผดิ ปกติ
ดังนั้น การให้กรดโฟลิก (Folic acid) เสริมในระยะต่อการตั้งครรภ์และขณะตั้งครรภ์ในระยะแรก จะช่วยลด
อุบัติการณ์การเกิดความผิดปกติทางระบบประสาทส่วนกลาง (Neural tube defects : NTD) ในมารกได้
สารอาหารท่ีกรดโฟลกิ ได้แก่ ผกั ใบเขยี วเข้ม ถวั่ เมลด็ แหง้ ต่างๆ ผลไม้จำพวกสม้ กลว้ ย

7. วิตามนิ เปน็ สารอาหารทจี่ ำเป็นสำหรบั มารดาทัง้ ระยะกอ่ นคลอดและหลงั คลอด แม้วา่ หน้าที่เฉพาะ
ของวิตามินในทารก ยังไมม่ ีการรายงานการวจิ ยั ยืนยันอย่างชดั เจนก็ตาม แตก่ ็คงมคี วามสำคัญ การได้รับสารอาหาร
นีใ้ นจำนวนเพียงพอ ยอ่ มทำให้มารดาและทารกมีสขุ ภาพสมบูรณ์ ท้ังรา่ งกายและจติ ใจ

วิตามินเอ เป็นสารสำหรับการเจริญเติบโตและการทำงานของเนื้อเยื่อ (tissue) จะช่วยให้ร่างกายให้
กำเนดิ การต้านทานโรคติดเชอ้ื ได้ดีขึ้น การขาดสารนีจ้ ะทำให้ทารกตายในครรภ์ได้ อาหารท่มี ีสารน้ี ได้แก่ ผักสดสี
เขยี ว ตับ นำ้ มนั ตบั ปลาตา่ งๆ

วติ ามินบี เป็นสารที่ชว่ ยเปลีย่ นอาหารให้เปน็ พลังงานและมบี ทบาทในการสรา้ งเซลลใ์ นทารกในระยะสาม
เดอื นกอ่ นคลอด ความต้องการบี 1 และบี 2 จะมมี ากท่สี ุด การกนิ อาหารที่มวี ติ ามินบี 1 สูง อาจชว่ ยป้องกันหรือ
บรรเทาอาการทางระบบประสาทท่ีเกิดระหว่างต้งั ครรภ์ได้ เช่น โรคประสาท ครรภเ์ ปน็ พษิ กลา้ มเนื้อเป็นตะคริว
โภชนากรแนะนำใหก้ นิ วติ ามินบี 1 และบี 2 มากข้ึนกว่าปกติ คือ ควรมากกว่าวันละ 1 มิลลิกรมั สำหรบั วิตามินบี
อืน่ ๆน้ัน มกั ไมม่ ีปญั หา ถึงแมว้ า่ วิตามนิ บี 6 จะชว่ ยแกก้ ารแพ้ท้องหรอื การคลน่ื ไส้อาเจยี นได้ และความต้องการบี
6 จะสงู กวา่ ปกตริ ะหวา่ งต้ังครรภ์ การทาอาหารพวกเน้ือสัตว์ ขา้ วอนามัย ข้าวกระยาทพิ ย์ เพอื่ ให้ไดร้ ับสารอาหาร
อื่นๆมักได้รับบี 6 เพิ่มขึน้ อย่างเพยี งพอ วิตามินบี 12 ช่วยให้การดดู ซึมของเหล็กเปน็ ไปได้ดขี ึน้ วิตามินบี 12 ได้
จากอาหารเนือ้ สตั ว์ การรบั ประทานอาหารมังสวิรตั ิ จะทำให้ขาดวิตามนิ บี 12 ได้

แผนการสอนวชิ า อาหารบคุ คลภาวะพิเศษ (2404 - 2119) โดย นางสาวรอซยี ะ๊ ปาแนมะ๊ สาขาวชิ าอาหารและโภชนาการ วอศ.เพชรบรุ ี

วิตามินซี สารนีม้ หี น้าทสี่ ำคัญ คอื เปน็ ตัวชว่ ยสรา้ งกลไกการปอ้ งกันโรคของร่างกาย และชว่ ยบำรุงรักษา
หลอดเลือดให้แขง็ แรง อาการเร่ิมแรกทีแ่ สดงให้เห็นถึงการขาดวิตามินซี คือ มเี ลอื ดออกง่ายทเี่ หงือก หลอดเลือด
ฝอยใต้ผิวหนังแตก ทำให้เป็นจำเขียวช้ำตามร่างกายในช่วงตั้งครรภ์ วิตามินซีจะช่วยในการดดู ซึมธาตุเหล็กจาก
อาหารประเภทพชื ผักไดม้ ากขนึ้ ถึง 2-4 เทา่ การขาดวิตามินซีจะทำให้เกดิ ความบกพรอ่ งในการสรา้ งคอลลาเจนซึ่ง
เป็นโปรตีนท่ีใช้สร้างกระดกู กลา้ มเนือ้ และหลอดเลอื ด

วิตามินดี เป็นสารจำเป็นในการส่งเสริมการดูดซึมแคลเซียมและการใช้ เพื่อการสร้างกระดูกและฟัน
รว่ มกบั แรแ่ คลเซยี มและแรฟ่ อสฟอรสั ควรไดร้ บั อยา่ งน้อยวนั ละ 400 ยนู ิต หากมารดาอายเุ กิน 22 ปี ควรดื่มนม
เสริมวติ ามินดี อีกอย่างนอ้ ยวันละ 2 แกว้ จะชว่ ยรักษาระดบั ความต้องการวิตามินดีให้อยใู่ นภาวะปกติได้

วิตามนิ อี ยังไม่มรี ายงานการวิจัยใดยืนยนั ว่าวิตามินอี มีผลอยา่ งไรต่อการตงั้ ครรภ์ แต่นักวิชาการเช่ือว่า
การแทง้ ท่ีเกดิ ขนึ้ เอง (spontaneous abortion) มีความสมั พันธ์เกี่ยวเนอื่ งกับภาวการณ์ขาดวิตามนิ อีด้วย อาหาร
ทมี่ ีวติ ามินอี ได้แก่ พืชผักใบเขยี ว พชื ชนิดเม็ด ข้าว เนย ถ่วั และไขแ่ ดง

วิตามินเค เป็นสารอาหารเกย่ี วกบั การสรา้ งโปรทรอมบนิ ชว่ ยทำใหโ้ ลหิตเป็นล่มิ ซง่ึ เป็นส่งิ จำเปน็ ในทารก
เพราะจะมีการสลายตัวของเมด็ โลหติ หลังจากคลอดทารกแล้ว

8. คาร์โบไฮเดรต สำหรบั อาหารประเภทน้ไี มจ่ ำเป็นต้องเพิ่ม ผกั และผลไม้มคี วามจำเป็นมากกว่าจะให้
คุณค่าทางวิตามินและพลังงาน หญิงตั้งครรภ์ควรหลีกเลี่ยงขนมหรือน้ำอัดลม เพราะจะเป็นสารอาหารที่เพ่ิม
น้ำหนัก แต่ไม่ให้คุณคา่ สารอาหารแต่อย่างใด สำหรับขา้ วควรรับประทานข้าวซ้อมมือหรือข้าวกลอ้ ง ซึ่งให้คณุ คา่
ทางสารอาหารมากกวา่ ขา้ วขาว

9. ไขมนั ไม่จำเป็นต้องเพม่ิ เพราะอาหารประเภทโปรตนี จะมไี ขมนั อย่แู ลว้ ควรลดปรมิ าณไขมนั ให้
น้อยลง เพราะระบบการย่อยของหญงิ ตั้งครรภ์มกี ารทำงานน้อยกวา่ ปกติ ทำให้มีอาการทอ้ งอืด แน่นท้อง อึดอดั
แตอ่ าหารประเภทนม ไม่ควรลด เพราะวิตามิน เอ ดี และธาตุแคลเซียมซึ่งจำเป็นสำหรับหญงิ มีครรภ์และทารก

10. เกลอื ควรใช้แตน่ ้อย เพราะการกินเกลือมาก จะทำใหเ้ กลอื คัง่ อย่ใู นรา่ งกาย เกลอื จะอุ้มนำ้ เอาไวท้ ำ
ใหเ้ กิดอาการบวมได้งา่ ย

อาหารในกรณีเป็นพษิ ในวยั รุ่น สำหรบั วัยรนุ่ ท่ตี ั้งครรภ์ ปัญหาในเรื่องของอาหาร จะมี 2 ลักษณะ คือ
1. วยั รุน่ ยงั ต้องการการเจริญเติบโต เดก็ วัยรุ่นทตี่ ้ังครรภจ์ งึ ตอ้ งการอาหาร แคลอรี โปรตีน วิตามิน และ
เกลือแรม่ ากกว่าหญิงมคี รรภ์อ่นื ๆ

แผนการสอนวชิ า อาหารบุคคลภาวะพเิ ศษ (2404 - 2119) โดย นางสาวรอซีย๊ะ ปาแนมะ๊ สาขาวชิ าอาหารและโภชนาการ วอศ.เพชรบุรี

2. วัยรุ่นมักทานอาหารไม่ถูกส่วนอยู่แลว้ ดังนั้นการดูแลเรื่องอาหารจึงควรได้รับคำปรกึ ษาจากแพทย์
อาหารมงั สวริ ตั ิ อาหารประเภทน้จี ะเพยี งพอกับคนปกติ แต่สำหรับหญงิ ตั้งครรภ์ อาหารมังสวิรัติจะ
ให้สารอาหารไมเ่ พียงพอ จะได้โปรตีนไมค่ รบถ้วน ขาดวติ ามนิ บี 12 ธาตุเหล็ก และแคลเซียม ดังนั้น
หญิงทตี่ ้งั ครรภท์ ท่ี านอาหารมังสวริ ตั ิควรไดป้ รึกษาแพทยห์ รอื พยาบาลเพ่ือใหไ้ ด้รบั การเพม่ิ สารอาหาร
ใหค้ รบถ้วน

อาหารว่างกอ่ นนอน การรับประทานอาหารวา่ งกอ่ นนอน จะทำให้น้ำหนกั ตัวขน้ึ มากเกนิ ไป ถา้ ไม่
สามารถเลิกอาหารว่างก่อนนอนได้ ควรลดปริมาณอาหารที่กินในมื้อปกติลง และที่ดีที่สุดคือเลือกทานอาหาร
ประเภทผักสด ผลไม้ หรอื น้ำผลไม้ แทนของวา่ งท่เี ป็นแปง้ และนำ้ ตาล

การดม่ื สุรา การดืม่ สรุ าหรือเบียร์เป็นประจำในระหวา่ งต้งั ครรภ์จะทำใหท้ ารกในครรภผ์ ดิ ปกติ มีปัญหาใน
ดา้ นการเจรญิ เตบิ โต พษิ ของแอลกอฮอล์จะส่งผลกระทบโดยตรงต่อตัวออ่ นในครรภซ์ ึ่งกำลงั อย่ใู นช่วงของการแบง่
เซลล์อย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ยังส่งผลกระทบทางอ้อมต่อทารกโดยจะเป็นสาเหตุให้มารดาขาดสารอาหารเพราะ
พษิ ของแอลกอฮอล์จะไปขดั ขวางการดดู ซมึ อาหารเข้าสรู่ ่างกาย และกระตนุ้ การขบั ถ่ายปัสสาวะทำให้สารอาหารท่ี
มีคุณค่า เช่น ธาตุสังกะสี วิตามินบี 1 วิตามินเอ และกรดโฟลิค ซึ่งเปน็ สารทีจ่ ำเปน็ ขณะตั้งครรภ์ต้องถูกขับถา่ ย
ออกจากร่างกายไปหมด
อาหารกบั ภาวะแทรกซอ้ นระหว่างตงั้ ครรภ์

1. การคลื่นไส้อาเจียน อาการคล่นื ไสอ้ าเจียนจากการต้งั ครรภม์ กั เกดิ ในช่วงแรกของการต้ังครรภ์ หญิง
ตั้งครรภ์บางคนอาจมีอาการแพ้ตั้งแต่ 2 สัปดาห์แรก บางคนอาจแพ้มาก บางคนอาจแพ้น้อย เนื่องจากการ
เปลี่ยนแปลงทางกายภาพและชีวเคมีของร่างกาย จากการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนในร่างกายระบบทางเดิน
อาหารทำงานผิดปกติ ทำให้เบื่ออาหาร คลื่นไส้และอาเจียนบ่อยครั้ง น้ำหนักตัวลดเพราะรับประทานอาหารไม่
เพยี งพอ

ถ้ารสู้ กึ คลน่ื ไส้วิงเวยี น ควรแก้โดยการกินอาหารทีม่ ีคารโ์ บไฮเดรตและไขมนั ต่ำก่อนลกุ จากเตียง เช่น ขนม
ปงั ป้งิ หรอื กรอบ วุ้นหรือเยลล่ี และกนิ ครัง้ ละน้อยๆแตบ่ อ่ ยคร้ัง ไม่ควรกินอาหารเหลวหรือของเหลวในเวลาอาหาร
แต่ควรรับประทานระหว่างมื้ออาหาร ควรงดอาหารที่มีไขมันสูงหรอื อาหารทอดท่ีมมี ันจัด อาหารรสจัดหรือเผ็ด
รอ้ นมากๆ อาหารหวานจัด ผักท่ีมกี ล่นิ รุนแรง และไม่ควรดม่ื กาแฟจำนวนมากถา้ ยังรู้สึกไม่ปกติ ถ้าอาเจียนอย่าง
รุนแรง ควรปรึกษาแพทย์ ถ้ารับประทานไม่ไดเ้ ลย อาจตอ้ งให้สารอาหารทางเส้นเลอื ดและนอนพกั ในโรงพยาบาล

แผนการสอนวชิ า อาหารบคุ คลภาวะพิเศษ (2404 - 2119) โดย นางสาวรอซีย๊ะ ปาแนมะ๊ สาขาวชิ าอาหารและโภชนาการ วอศ.เพชรบรุ ี

ร้อนในอก (Heart burn) อาการร้อนในอก เป็นอาการที่มีผลมาจากฮอร์โมนโปรเจสเตอร์โรนจะไปลดการ
ทำงานและการยอ่ ยของระบบทางเดินอาหาร ทำให้กล้ามเนือ้ หูรูดของกระเพาะอาหารคลายตัวกรดในกระเพาะ
อาหารจึงไหลย้อนกลับข้ึนไปในหลอดอาหาร ทำให้มีอาการแสบบรเิ วณยอดอกและร้อนบรเิ วณลำคอ ในระยะท่ีมี
การร้อนในอก หญิงตั้งครรภ์ควรรับประทานอาหารในปริมาณไม่มากนักแต่เพ่ิมจำนวนให้มากข้ึน หรอื หลีกเลี่ยง
อาหารทที่ ำใหเ้ กดิ แก๊สในกระเพาะอาหาร เช่น นำ้ อดั ลม

2. ทอ้ งผูก อาการทอ้ งผกู มกั เปน็ มากในคร่ึงหลังของการตงั้ ครรภ์ เน่อื งจากขนาดมดลูกท่โี ตข้นึ จะไปกด
ลำไส้ ทำใหก้ ากอาหารเคลอ่ื นทล่ี ำบาก และการเพม่ิ ของระดับฮอร์โมนโปรเจสเตอรโ์ รน ทำให้กระเพาะอาหารและ
ลำไส้เคลือ่ นไหวชา้ ลง หรือมาจากการออกกำลงั กายไม่พอ หรือกนิ อาหารมีกากไม่พอ ดังนั้นควรดืม่ นำ้ มากๆ ออก
กำลังกายให้เพยี งพอ ด่ืมน้ำผลไม้และกนิ ผักผลไมเ้ ปน็ ประจำ หดั ขบั ถ่ายให้เป็นเวลาและพกั ผอ่ นหลบั นอนตามปกติ
ไมค่ วรใช้ยาระบายหรอื ยาสวน เพราะอาจมผี ลกระทบตอ่ ทารกในครรภ์ได้

3. โรคโลหติ จาง เนือ่ งจากในระหวา่ งต้งั ครรภป์ ริมาณของเลือดจะเพมิ่ ข้นึ ร้อยละ 25 ฮโี มโกลบนิ ใน
เลือดและจำนวนเม็ดเลอื ดแดงลดลง ทำใหห้ ญงิ ตัง้ ครรภเ์ ปน็ โรคโลหิตจางได้ ซ่งึ ถ้าไม่ไดร้ ับการรกั ษาท่ถี กู ต้องจะทำ
ใหท้ ารกคลอดก่อนกำหนดได้

4. นำ้ หนักมากกว่าปกติและโรคครรภเ์ ป็นพิษ มกั เกดิ ประมาณสัปดาห์ท่ี 20 เกดิ จากตับและไตทำงาน
ผิดปกติ มีอาการบวม ความดันเลือดสูง ปัสสาวะมีอัลบูมินออกมา ถ้าทิ้งไว้จะชักและหมดสติได้ การแก้ไขคือ
ปรกึ ษาแพทย์ พยามยามกนิ โปรตนี ให้มากพอ คือประมาณ 85-100 กรมั เพ่ือแกอ้ าการบวม แพทย์ควรลดอาหาร
ทมี่ เี กลอื ผสมอยู่ เชน่ นำ้ ปลา กะปิ

ประเภทอาหารท่หี ญิงตัง้ ครรภ์ควรได้รบั ใชห้ ลักเดยี วกบั อาหารของคนผใู้ หญป่ กติ คือ ต้องกนิ อาหารหลัก 5 หมู่
ครบทุกมอ้ื แต่เพิ่มปรมิ าณสำหรบั บางหมู่ ให้มากข้ึนเปน็ พเิ ศษ ดังนี้

หมู่ที่ 1 (เนื้อสัตว์) การรบั ประทานอาหารหมู่น้ีเพิ่มข้ึนจะทำให้ได้รับโปรตีนคุณภาพสมบูรณ์ เกลือแร่ท่ี
ต้องการเป็นพิเศษ เช่น แคลเซียม เหล็ก ไอโอดีน รวมทั้งวิตามนิ บีสอง และไนอะซินเพียงพอ หญิงตั้งครรภ์ควร
รบั ประทานอาหารเหล่านี้ สูงกว่าคนปกติเท่าตัว ควรรบั ประทานเน้ือสัตว์และส่ิงแทนเน้ือวนั ละ 1 1/2-2 ถ้วย ควร
ทานไขไ่ ม่น้อยกวา่ วนั ละ 1 ฟองทุกวนั ดืม่ นมไม่น้อยกวา่ วนั ละ 3 ถ้วยและทานเครอื่ งในสตั ว์ อาหารทะเล ถั่วเมล็ด
แหง้ ให้บอ่ ยคร้งั ดว้ ย

หมู่ท่ี 2 (แปง้ และน้ำตาล) อาหารประเภทน้ีเปน็ อาหารทเ่ี พ่มิ น้ำหนกั ได้มาก ดังนั้นควรเพ่ิมแต่น้อยหรือ
ทานเทา่ คนปกตใิ นระหวา่ งต้ังครรภ์ คือ ไม่เกนิ 6 ถว้ ย

แผนการสอนวิชา อาหารบคุ คลภาวะพิเศษ (2404 - 2119) โดย นางสาวรอซีย๊ะ ปาแนมะ๊ สาขาวชิ าอาหารและโภชนาการ วอศ.เพชรบรุ ี

หมทู่ ี่ 3 (ผกั ใบเขียวและผกั อื่นๆ) หญงิ ตงั้ ครรภค์ วรทานผกั มากกว่าปกตอิ ย่างน้อยเท่าตัวโดยเฉพาะผัก
ใบเขียวและผกั สีเหลอื งแสดเป็นแหลง่ เกิดทด่ี ขี องสารพวกวติ ามนิ เอ วิตามนิ บี และแคลเซยี ม หญงิ มีครรภ์ควรทาน
ไม่นอ้ ยกว่าวันละ 2-3 ถ้วย และควรรับประทานผกั หลายๆชนดิ ทุกม้อื

หม่ทู ่ี 4 (ผลไม้ต่างๆ) หญงิ ตง้ั ครรภ์ควรทานผลไมป้ ระเภทสม้ หรอื ผลไมท้ ่ใี หว้ ิตามินซีสงู อย่างน้อยวันละ 1
ผล และควรทานผลไมอ้ ่ืนๆดว้ ย เชน่ มะมว่ งสุก มะละกอสกุ เพราะผลไม้พวกน้ใี ห้วติ ามนิ เอสูงด้วย กลว้ ยทกุ ชนดิ ก็
เปน็ อาหารท่ีมคี ุณค่าสงู เชน่ กลว้ ยไขม่ ีวติ ามนิ เอสงู กลว้ ยนำ้ วา้ และกลว้ ยหักมุก มวี ิตามนิ เอสูงและบีสูง นอกจากน้ี
ควรดื่มน้ำผลไม้ใหม้ าก เช่น น้ำส้มค่ัน น้ำมะนาว น้ำมะเขือเทศ นำ้ มะพรา้ วออ่ น ซึง่ เป็นเคร่อื งดมื่ ท่มี ปี ระโยชน์

หม่ทู ่ี 5 (ไขมนั จากสตั วแ์ ละพืช) หญิงต้ังครรภ์ควรทานไขมันเท่ากบั คนปกติ และใช้นำ้ มันพืชแทนน้ำมัน
จากสัตว์การเพ่ิมอาหารหมู่ท่ี 1 เช่น เนื้อสตั ว์ ไข่ นม จะช่วยให้ได้รับไขมันเพียงพอสำหรบั การดดู ซึมและการใช้
วิตามินที่ละลายในไขมัน
หลักกวา้ งๆท่ีควรตระหนกั ถึงโภชนาการของหญิงตัง้ ครรภ์

1. ควรแนะนำให้หญิงตั้งครรภ์รับประทานอาหารตามต้องการแต่ต้องแน่ใจว่าอาหารที่รับประทานนั้น
เพียงพอ และได้สารอาหารครบทัง้ 5 หมู่

2. ตรวจสอบการเพิ่มน้ำหนักทุกครั้งที่มาฝากครรภ์ น้ำหนักควรเพิม่ 10-11 กิโลกรัมตลอดระยะเวลาการ
ตง้ั ครรภ์

3. สอบถามรายละเอียดเกี่ยวกบั อาหารที่รับประทานทุกครั้งท่ีมาฝากครรภ์เพื่อประเมินดูว่าเหมาะสมมาก
น้อยเพียงใด

แผนการสอนวชิ า อาหารบุคคลภาวะพเิ ศษ (2404 - 2119) โดย นางสาวรอซยี ะ๊ ปาแนมะ๊ สาขาวชิ าอาหารและโภชนาการ วอศ.เพชรบุรี

แบบฝึกหดั
คำช้ีแจง ให้ตอบคำถามต่อไปนีใ้ หช้ ัดเจนและถูกตอ้ งท่สี ดุ

1. ฮอรโ์ มนเอสโตรเจนและโปรเจสเตอโรน มีผลอยา่ งไรต่อหญิงต้ังครรภ์
2. ในระยะ 3 เดอื นแรกของการต้ังครรภ์ หญิงมคี รรภ์ควรมนี ้ำหนกั เพิ่มกี่กิโลกรัม
3. หญิงตง้ั ครรภ์ตอ้ งการปริมาณแคลอรเี พม่ิ ข้ึนหรือลดลงเท่าใด
4. ถา้ ขาดกรดโฟลกิ (Folic acid) ในช่วงการต้ังครรภใ์ นระยะแรก มีผลอยา่ งไรตอ่ ทารกในครรภ์
5. พษิ ของแอลกอฮอล์ที่มีต่อหญงิ ตง้ั ครรภเ์ ปน็ อย่างไรบ้าง

แผนการสอนวชิ า อาหารบุคคลภาวะพิเศษ (2404 - 2119) โดย นางสาวรอซีย๊ะ ปาแนมะ๊ สาขาวชิ าอาหารและโภชนาการ วอศ.เพชรบรุ ี

ใบงานท่ี 2 หน่วยที่ 2
หลักสูตรประกาศนยี บัตรวชิ าชพี พุทธศักราช 2556 สอนครง้ั ที่ 2
รหสั วิชา 2404-2119 วิชา อาหารบุคคลภาวะพิเศษ ท-ป-น 1-3-2
ชือ่ เรอื่ ง โภชนาการของหญิงตั้งครรภ์ ท. 1 ชม. ป. 3 ชม.
1.จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม

1. มีความรูแ้ ละความเข้าใจเกย่ี วกับอาหารทมี่ ผี ลต่อการเจรญิ เติบโตของทารกในครรภ์
2. มีความรแู้ ละความเข้าใจเกี่ยวกบั การเปลี่ยนแปลงของรา่ งกายหญงิ มีครรภ์
3. มคี วามร้แู ละความเข้าใจเกี่ยวกบั การกำหนดรายการอาหารสำหรบั หญงิ มีครรภ์

2.สมรรถนะ
1. บอกความสำคญั ของอาหารท่มี ผี ลตอ่ การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์
2. อธิบายการเปลยี่ นแปลงของร่างกายหญงิ มีครรภไ์ ด้
3. กำหนดรายการอาหารสำหรบั หญงิ มคี รรภไ์ ดเ้ หมาะสม
4. สามารถคำนวณคณุ ค่าทางโภชนาการของอาหารที่กำหนดไวไ้ ด้

3.ลำดบั ขน้ั การปฏบิ ตั ิงาน

3.1 ใหน้ กั เรยี นกำหนดรายการอาหารสำหรับหญงิ มคี รรภโ์ ดยใชต้ ารางแสดงคณุ คา่ ทางโภชนาการของ
อาหารไทย

3.2 ให้นักเรียนปฏิบตั ิทำอาหารสำหรบั หญงิ มคี รรภ์

แผนการสอนวชิ า อาหารบุคคลภาวะพิเศษ (2404 - 2119) โดย นางสาวรอซีย๊ะ ปาแนมะ๊ สาขาวชิ าอาหารและโภชนาการ วอศ.เพชรบรุ ี

ใบปฏิบัติงานที่ 2 หน่วยที่ 2
หลักสูตรประกาศนยี บตั รวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 สอนครั้งที่ 2
รหัสวิชา 2404-2119 วิชา อาหารบคุ คลภาวะพิเศษ ท-ป-น 1-3-2
ชอ่ื เร่ือง โภชนาการของหญงิ ตง้ั ครรภ์ ท. 1 ชม. ป. 3 ชม.
1.จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม

1. มีความรู้และความเขา้ ใจเก่ยี วกับอาหารที่มผี ลต่อการเจรญิ เติบโตของทารกในครรภ์
2. มคี วามรูแ้ ละความเขา้ ใจเกยี่ วกบั การเปล่ียนแปลงของร่างกายหญงิ มคี รรภ์
3. มีความรแู้ ละความเข้าใจเกีย่ วกบั การกำหนดรายการอาหารสำหรบั หญิงมีครรภ์

2.สมรรถนะ
1. บอกความสำคญั ของอาหารท่ีมผี ลต่อการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์
2. อธิบายการเปลี่ยนแปลงของร่างกายหญิงมีครรภไ์ ด้
3. กำหนดรายการอาหารสำหรบั หญงิ มีครรภ์ได้เหมาะสม
4. สามารถคำนวณคณุ คา่ ทางโภชนาการของอาหารที่กำหนดไว้ได้

3.ลำดบั ขน้ั การปฏิบัติงาน

3.1 ใหน้ กั เรยี นกำหนดรายการอาหารสำหรับหญงิ มีครรภ์โดยใชต้ ารางแสดงคุณค่าทางโภชนาการของ
อาหารไทย

3.2 ให้นกั เรียนปฏบิ ัตทิ ำอาหารสำหรับหญงิ มคี รรภ์

4.การประเมินผล

ตรวจงานทม่ี อบหมาย

แผนการสอนวิชา อาหารบคุ คลภาวะพิเศษ (2404 - 2119) โดย นางสาวรอซียะ๊ ปาแนม๊ะ สาขาวชิ าอาหารและโภชนาการ วอศ.เพชรบุรี

ใบมอบหมายงานท่ี2 หน่วยท่ี 2
หลักสตู รประกาศนียบัตรวชิ าชีพ พทุ ธศักราช 2556 สอนครั้งท่ี 2
รหสั วิชา 2404-2119 วชิ า อาหารบคุ คลภาวะพิเศษ ท-ป-น 1-3-2
ชือ่ เร่ือง โภชนาการของหญิงตง้ั ครรภ์ ท. 1 ชม. ป. 3 ชม.
1.จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม

1. มีความรแู้ ละความเข้าใจเกย่ี วกับอาหารท่ีมผี ลต่อการเจรญิ เตบิ โตของทารกในครรภ์
2. มีความร้แู ละความเขา้ ใจเกีย่ วกบั การเปล่ียนแปลงของรา่ งกายหญงิ มีครรภ์
3. มีความรแู้ ละความเขา้ ใจเกยี่ วกบั การกำหนดรายการอาหารสำหรบั หญิงมคี รรภ์

2.สมรรถนะ
1. บอกความสำคญั ของอาหารท่ีมผี ลตอ่ การเจริญเตบิ โตของทารกในครรภ์
2. อธบิ ายการเปลยี่ นแปลงของรา่ งกายหญงิ มคี รรภ์ได้
3. กำหนดรายการอาหารสำหรบั หญงิ มีครรภ์ไดเ้ หมาะสม
4. สามารถคำนวณคุณค่าทางโภชนาการของอาหารทกี่ ำหนดไวไ้ ด้

3.ลำดบั ขัน้ การปฏบิ ตั ิงาน

3.1 ให้นักเรยี นกำหนดรายการอาหารสำหรับหญงิ มีครรภโ์ ดยใชต้ ารางแสดงคุณค่าทางโภชนาการของ
อาหารไทย

3.2 ให้นกั เรียนปฏบิ ัติทำอาหารสำหรบั หญงิ มคี รรภ์

4.กำหนดเวลาสง่ งาน
สัปดาหท์ ี่ 4

5.การประเมินผล
ประเมินผลจากการตรวจงานของผูเ้ รียนแต่ละคน

แผนการสอนวิชา อาหารบุคคลภาวะพเิ ศษ (2404 - 2119) โดย นางสาวรอซยี ะ๊ ปาแนมะ๊ สาขาวชิ าอาหารและโภชนาการ วอศ.เพชรบรุ ี