การถ่ายละอองเรณูในดอกเดียวกัน

การถ่ายละออกเรณูเกิดขึ้นเมื่อละอองเรณูเจริญเต็มที่ อับเรณูจะแตกออกทำให้ละอองเรณูกระจายออกไป โดยอาศัยลม น้ำ โดยเฉพาะ แมลง มีความสำคัญมากในการถ่ายละอองเรณูของพืชดอก และบนยอดเกสรตัวเมีย โดยจะมีน้ำเหนียวๆ(Stigma) ที่มีน้ำตาลเป็นส่วนประกอบ ซึ่งช่วยในการดักละอองเรณู

เมื่อพืชดอกเจริญเติบโตเต็มที่ จะเริ่มผลิตดอกไม้เพื่อเป็นเซลล์สืบพันธุ์ในการขยายพันธุ์ต่อไป ภายในดอกจะมีการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ โดยเกสรตัวผู้สร้างเซลล์สืบพันธุ์ตัวผู้หรือละอองเรณูเก็บไว้ในอับละอองเรณู (Pollen) ส่วนเกสรตัวเมียจะมีรังไข่ ซึ่งภายในมีไข่ (Ovule) ทำหน้าที่เก็บเซลล์สืบพันธุ์ตัวเมียไว้ (เพิ่มเติม: โครงสร้างของดอกไม้) การปฏิสนธิของพืชดอก มีลำดับขั้นตอน ดังนี้

1. การถ่ายละอองเรณู (Pollination) คือ กระบวนการที่ละอองเรณูไปตกลงบนยอดเกสรตัวเมีย อาจเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เช่น ละอองเรณูปลิวไปตามแรงลมแล้วไปตกลงบนยอดเกสรตัวเมีย หรืออาจเกิดการที่ตัวกลางในการผสมเกสร เช่น แมลงผสมเกสรชนิดต่างๆ สัตว์ปีก หรือเกิดจากความตั้งใจของมนุษย์ การถ่ายละอองเรณูเกิดได้ 2 ลักษณะ คือ การถ่ายละอองเรณูในดอกเดียวกัน (Self Pollination) และการถ่ายละอองเรณูข้ามดอก (Cross Pollination)

การถ่ายละอองเรณูในดอกเดียวกัน
การถ่ายละอองเรณูในดอกเดียวกัน
แมลงผสมเกสรมีบทบาทสำคัญอย่างมากในการช่วยถ่ายละอองเรณูของดอกไม้

การถ่ายละอองเรณูในดอกเดียวกัน: การถ่ายละอองเรณูภายในต้นเดียวกัน เช่น การถ่าย ละอองเรณุในดอกกล้วยไม้ชนิดหนึ่งมีกลิ่นคล้ายผึ้งตัวเมีย ทำให้ผึ้งตัวผู้ มาดูดกินน้ำหวานและได้ถ่ายละอองเรณูให้ดอกอื่นๆ แต่ถ้าไม่มีผึ้งมา เกสรตัวผู้ก็อาจจะโค้งลงมา และมีการถ่ายละอองเรณูในดอกเดียวกันได้

การถ่ายละอองเรณูข้ามดอก: การถ่ายละอองเรณูข้ามต้นเป็นการถ่ายละออง เรณูจากพืชต้นหนึ่งไปยังอีกต้นหนึ่งที่ชนิดเดียวกัน ถ้าเป็นพืชต่างชนิดกันจะไม่ สร้างหลอดละอองเรณู ละอองเรณูถูกพาไปโดยลม หรือแมลงที่ไปกินน้ำหวาน ในดอกไม้

(อ่านเพิ่มเติม: 9 วิธีที่คุณจะช่วยรักษาแมลงผสมเกสรไว้ในสวนของคุณ)

2. การปฏิสนธิ (Fertilization) คือกระบวนการที่เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ (ละอองเรณู) ผสมกับเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย (ไข่อ่อน) เมื่อเกิดการถ่ายละอองเรณู ละอองเรณูจะตกอยู่ที่บริเวณ stigma ซึ่งจะมีสารกึ่งเหลวคอยดักจับเรณูไว้ เมื่อมีสภาพที่เหมาะสม ละอองเรณูจะงอกและมีการเจริญของท่อเรณูเพื่อเข้าไปผสมกับเซลไข่ (egg cell) โดยภายในท่อเรณูจะมีสเปิร์มอยู่ 2 ชนิด ทำ ให้เกิดการผสม 2 ครั้ง (double fertilization) คือสเปิร์ม 1 อันจะผสมกับไข่ได้เป็น zygote ซึ่งจะพัฒนาต่อไปเป็นต้นอ่อน (embryo) ส่วนสเปิร์มอีกหนึ่งชนิดจะผสมกับ polar nuclei ได้เป็น endosperm ทำหน้าที่เป็นอาหารสะสมให้กับต้นอ่อน แต่ในพืชบางชนิดอาหารสะสมให้ต้นอ่อนเกิดจากเนื้อเยื่อที่อยู่ในรังไข่ (nucellus) หรือ perisperm

การถ่ายละอองเรณูในดอกเดียวกัน
การถ่ายละอองเรณูในดอกเดียวกัน

การผสมซึ่งเกิดจากการผสม 2 ครั้งนี้เรียกว่า การปฏิสนธิซ้อน (Double Fertilization) ซึ่งพบเฉพาะในพืชดอกเท่านั้น หลังจากปฏิสนธิแล้วนิวเคลียสที่ได้รับผสมจะเกิดส่วนประกอบต่างๆ ของพืชดังนี้

รังไข่ (ovary) เจริญเป็น ผล
ผนังรังไข่ (ovary wall ) เจริญเป็น เปลือกและเนื้อของผลไม้
ออวุล (ovule) เจริญเป็น เมล็ด
ไข่ (egg ) เจริญเป็น ต้นอ่อนอยู่ภายในเมล็ด
โพลาร์นิวเคลียส (polar nucleus ) เจริญเป็น เอนโดสเปิร์ม
เยื่อหุ้มออวุล (integument ) เจริญเป็น เปลือกหุ้มเมล็ด

สำหรับส่วนประกอบอื่นๆ ของดอกจะเหี่ยวแห้งและสลายตัวไป การปฏิสนธิซ้อนของพืชดอกมีความสำคัญอย่างมาก เนื่องจากเป็นการสร้างอาหารให้แก่สิ่งมีชีวิตอื่นๆ เช่น ผลไม้ที่เราใช้รับประทานก็เกิดมาจากการปฏิสนธิ อาหารพวกข้าว ข้าวโพด ก็เป็นส่วนของเอนโดสเปิร์ม อาหารในเมล็ดถั่วหลายชนิดก็เป็นอาหารที่สะสมอยู่ในใบเลี้ยงของเอมบริโอของถั่ว

การถ่ายละอองเรณูในดอกเดียวกัน

การถ่ายละอองเรณู
           เมื่อละอองเรณูแก่ อับเรณู ( Ather ) แตกออก ทำให้ละอองเรณูปลิวไปตกบนยอดเกสรตัวเมีย ( หรือถูกน้ำพัดพาไป หรือติดขาแมลง สัตว์พาไป ) เรียกกระบวนการนี้ว่า การถ่ายละอองเรณู ( Pollination ) ละอองเรณูตกลงบนยอดเกสรตัวเมีย ( Stigma ) ซึ่งมีน้ำหวานเหนียว ๆ มีหน้าที่คอยจับละออง เรณู เมื่อละอองเรณูตกลงบนยอดเกสรตัวเมียแล้วจะงอกหลอดละอองเรณู ( Pollen tube ) ออกจากละอองเรณูลงไปตามคอเกสรตัวเมีย หลอดนี้จะงอก อย่างเร็วมาก ผ่านรูไมโครไพล์เข้าไปสู่ออวูล และทิวบ์นิวเคลียสจะเคลื่อนตามหลอดลงไป
การถ่ายละอองเรณูมี 3 แบบ คือ
           1. การถ่ายละอองเรณูในดอกเดียงกัน เกิดในพืชที่มีดอกเป็นดอกสมบูรณ์เพศ คือ พืชที่มีเกสรตัวผู้และตัวเมียอยู่ในดอกเดียวกัน ละอองเรณูตัวผู้นั้นสามารถร่วง หรือปลิวมาตกบนยอดเกสรตัวเมียได้พืชที่ถ่ายละอองเรณูในดอกเดียวกัน ได้แก่ ถั่ว มะเขือ ฝ้ายและพืชที่มีดอกสมบูรณ์เพศอื่น ๆ

การถ่ายละอองเรณูในดอกเดียวกัน

           2. การถ่ายละอองเรณูข้ามดอกในต้นเดียวกัน เกิดกับพืชที่มีดอกไม่สมบูรณ์เพศ อะอองเกสรตัวผู้จะต้องเคลื่อนที่ไปตกบนยอดเกสรตัวเมียของอีก ดอกหนึ่งในต้นเดียวกัน พืชที่ต้องถ่ายละอองเรณูแบบนี้ ได้แก่ ฟักทอง แตงกวา เป็นต้น

การถ่ายละอองเรณูในดอกเดียวกัน

           3. การถ่ายละอองเรณูข้ามต้น เกิดกับพืชที่มีดอกตัวผหรือดอกตัวเมียอยู่คนละต้น จึงต้องใช้วิธีการถ่ายละอองเรณูข้ามต้น พืชที่มีดอกสมบูรณ์เพศ หรือพืชที่มีดอกตัวผู้และดอกตัวเมีย อยู่ในต้นเดียวกัน ก็อาจจะถ่ายละอองเรณูข้ามต้นได้เหมือนกัน โดย อาศัยลมมนุษย์หรือสัตว์พาไป

การถ่ายละอองเรณูในดอกเดียวกัน

การถ่ายละอองเรณูในดอกเดียวกัน

         https://sites.google.com/site/withyasastrp5/kar-thay-laxxng-renu

การถ่ายละอองเรณูในดอกเดียวกัน
 

การถ่ายละอองเรณูในดอกเดียวกันมีผลดีอย่างไร

การถ่ายเรณูในดอกเดียวกันมีผลดีหรือผลเสียต่อพืชอย่างไร มีผลดีคือ ถ้าต้นพันธุ์เป็นพันธุ์แท้รุ่นลูกที่ได้จะมีพันธุกรรมเหมือนเดิม ผลเสียคือ ทำ ให้รุ่นลูกมี ความหลากหลายทางพันธุกรรมน้อยกว่าการผสมข้ามต้น ซึ่งอาจจะส่งผลให้การต้านทานโรค ลดลง และลักษณะด้อยปรากฏในรุ่นต่อๆ ไปได้ง่าย

การถ่ายละอองเรณูในดอกเดียวกันเกิดขึ้นเมื่อใด

1. การถ่ายละอองเรณูในดอกเดียงกัน เกิดในพืชที่มีดอกเป็นดอกสมบูรณ์เพศ คือ พืชที่มีเกสรตัวผู้และตัวเมียอยู่ในดอกเดียวกัน ละอองเรณูตัวผู้นั้นสามารถร่วง หรือปลิวมาตกบนยอดเกสรตัวเมียได้พืชที่ถ่ายละอองเรณูในดอกเดียวกัน ได้แก่ ถั่ว มะเขือ ฝ้ายและพืชที่มีดอกสมบูรณ์เพศอื่น ๆ

การถ่ายละอองเกสรเกิดขึ้นที่ส่วนใด

การถ่ายละอองเรณู(pollination) หมายถึง กระบวนการที่ละอองเรณูไปตกติดที่ยอดเกสรตัว เมียด้วย(stigma) วิธีการใดๆ ก็ตาม เช่น อาศัยลม น ้า ดีดกระเด็นไปเอง หรืออาศัยแมลงเป็นพาหะ โดยเฉพาะแมลงวันนับได้ว่าเป็นปัจจัยส าคัญที่ท าให้เกิดการถ่ายละอองเรณูได้มากและส าคัญที่สุดส าหรับ พืชดอก การถ่ายละอองเรณู (Pollination) แบ่งออกเป็น 3 ...

การถ่ายเรณูเกิดขึ้นข้ามดอกได้หรือไม่ เพราะเหตุใด

การถ่ายเรณูอาจจะเกิดภายในดอกเดียวกัน (ในกรณีนี้คือดอกสมบูรณ์) หรือคนละดอก แต่อยู่บนต้นเดียวกัน เรียกว่าการถ่ายเรณูในต้นเดียวกัน (self-pollination หรือ autogamy) หากเกิดการถ่ายเรณูระหว่างพืชคนละต้น ซึ่งแน่นอนว่าเกิดระหว่างดอกสองดอก เรียกว่าการถ่ายเรณูข้าม (cross-pollination)