ผลการ สังเกต ลักษณะ เนื้อหิน

ผลการ สังเกต ลักษณะ เนื้อหิน

สะเต็มศึกษา (วิทยาศาสตร์) ป.1 หน่วย 8 ลักษณะภายนอกของหินจากลักษณะเฉพาะตัวที่สังเกตได้

ระดับชั้น : ประถมศึกษาปีที่ 1
หน่วยที่ : 8
เรื่อง :  ลักษณะภายนอกของหิน
สาระ : สาระที่ 3 วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ

ตัวชี้วัด :
ว 3.2.1 อธิบายลักษณะภายนอกของหินจากลักษณะเฉพาะตัวที่สังเกตได้

บทนำของเรื่อง : 
หินเป็นองค์ประกอบหนึ่งของโลก และยังเป็นวัตถุต้นกำเนิดดินอีกด้วย ปัจจุบันเรานำหินชนิดต่างๆ มาใช้ประโยชน์มากมายแตกต่างกัน เนื่องจากหินมีลักษณะภายนอกที่ต่างกัน การเลือกใช้หินจึงขึ้นอยู่กับลักษณะเฉพาะตัวของหินชนิดนั้น

ผลการ สังเกต ลักษณะ เนื้อหิน

  • Science WOW
  • Exploring Activity
  • Experiment Activity
  • DIY
  • Youtube

กิจกรรมที่ 1 สำรวจหินในธรรมชาติรอบตัวเรา

คำสั่ง : จากภาพให้นักเรียนสังเกตลักษณะภายนอกเฉพาะตัวที่สังเกตได้ของหิน 2 ชนิดและเขียนรายละเอียดว่ามีลักษณะภายนอกอย่างไรบ้างและอธิบายความเหมือนและแตกต่างของหินทั้งสองชนิด

ผลการ สังเกต ลักษณะ เนื้อหิน

ลักษณะที่เหมือนกันของหินทั้งสองชนิดคือ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ลักษณะที่แตกต่างกันของหินทั้งสองชนิดคือ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ความรู้เพิ่มเติมจากกิจกรรม

ลักษณะภายนอกเฉพาะตัวที่สังเกตได้ของหิน

ผลการ สังเกต ลักษณะ เนื้อหิน

สีของหิน (Color)
คือ หินแต่ละก้อนจะมีสีที่แตกต่างกัน เช่น สีขาว สีน้ำตาล สีดำ เป็นต้น

ผลการ สังเกต ลักษณะ เนื้อหิน

ลวดลาย (Pattern)
คือ ลวดลายในเนื้อหินแต่ละชนิดที่เกิดจากการทับถม ทับซ้อนกันของหินเป็นชั้นๆ หรือบางชนิดอาจเกิดจากสิ่งมีชีวิต

ผลการ สังเกต ลักษณะ เนื้อหิน

น้ำหนัก (Weight)
คือ ค่าน้ำหนักของหินแต่ละก้อนเปรียบเทียบโดยการชั่งน้ำหนักด้วยเครื่องชั่งหรือตาชั่ง

ผลการ สังเกต ลักษณะ เนื้อหิน

ความแข็ง (Hardness)
คือ ความคงทนต่อการขีดขูด ซึ่งวิธีทดสอบความแข็ง โดยการนำหินแร่มาขูดกันเองหรืออาจเปรียบเทียบกับวัสดุอื่น เช่น เล็บ ตะปู

ผลการ สังเกต ลักษณะ เนื้อหิน

เนื้อหิน (Texture)
คือ ขนาดและการเรียงตัวของเม็ดแร่ในหิน และการยึดเกี่ยวกันของแร่ต่างๆ เช่น เนื้อหยาบ เนื้อละเอียด

หินที่พบในประเทศไทย
ในท้องถิ่นที่เราอาศัยอยู่จะพบหินมีอยู่ทั่วๆ ไป เช่นเดียวกับท้องถิ่นอื่นๆ ในประเทศไทย เพราะประเทศไทยมีทรัพยากรจำพวกหินในปริมาณมาก ซึ่งกระจายอยู่เกือบทั่วทุกจังหวัด หินจะมีแร่เป็นส่วนประกอบ ดังนั้น แหล่งที่มีหินก็จะมีแร่ที่อยู่ในหิน ซึ่งเราสามารถนำมาใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ได้

ผลการ สังเกต ลักษณะ เนื้อหิน

ลักษณะภายนอกที่สังเกตได้ของหิน

ผลการ สังเกต ลักษณะ เนื้อหิน

01 Inspiration & Engagement
ลิปดาเห็นคุณแม่ลับมีด โดยใช้หินจึงสงสัยว่า ทำไมคุณแม่ใช้หินลับมีดได้ล่ะคะ คุณแม่บอกว่าก็เพราะว่าหินมีความแข็งกว่าโลหะเหล็กไงล่ะจ๊ะ จึงลับมีดได้ ลิปดาบอกว่า แล้วอย่างนี้เราใช้หินได้ทุกชนิดหรือไม่ คุณแม่จึงอธิบายให้ฟังว่า ไม่ได้จ้า เพราะหินมีลักษณะที่แตกต่างกัน

02 Problem & Question
หินแต่ละชนิดมีลักษณะภายนอกเฉพาะตัวที่เหมือนหรือต่างกันอย่างไร

03 Definition
หิน (Rock) คือ มวลของแข็งที่ประกอบขึ้นด้วยแร่ชนิดเดียวกันหรือหลายชนิดรวมตัวกันอยู่ตามธรรมชาติ หินมีหลายลักษณะที่แตกต่างกัน จำแนกตามลักษณะที่สังเกตได้เป็นเกณฑ์ เช่น สี ลวดลาย น้ำหนัก ความแข็ง และเนื้อหิน

04 Hands – On Activity
1.ให้สำรวจตัวอย่างหินที่มีในประเทศไทยหรือที่คุณครูเตรียมมาไว้ให้โดยให้สำรวจตามลักษณะภายนอกที่สังเกตได้ของหิน เช่น สี ลวดลาย น้ำหนักความแข็งและเนื้อหิน
2.โดยให้ทดสอบน้ำหนักด้วยการชั่ง
3.ให้ทดสอบความแข็งด้วยการนำมาถูกกับวัสดุทดสอบความแข็งและสังเกตรอยที่เกิดขึ้นว่าเกิดมากหรือน้อย

05 Materials
1. ตัวอย่างหิน 2. วัสดุทดสอบความแข็ง 3. ตาชั่ง

06 Data Collection
ให้ติดภาพหินและเขียนชื่อหิน
สังเกตและบันทึกลักษณะภายนอกที่สังเกตได้ของหิน

ผลการ สังเกต ลักษณะ เนื้อหิน

07 Analysis & Discussion
หินชนิดใดที่มีลักษณะของสี ลวดลาย คล้ายกันมากที่สุด
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
หินชนิดใดที่มีลักษณะความแข็งใกล้เคียงกันมากที่สุด
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
หินชนิดใดที่มีเนื้อหินใกล้เคียงกันมากที่สุด
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

08 Conclusion
ลักษณะภายนอกเฉพาะตัวที่สังเกตได้ของหิน เช่น
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
ให้นักเรียนอธิบายลักษณะภายนอกของหินมา 1 ชนิด
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

09 Knowledge Tank
1.สีของหิน หินแต่ละก้อนจะมีสีที่แตกต่างกัน เช่น สีขาว สีน้ำตาล สีดำ เป็นต้น สีของ หินเกิดจากแร่ธาตุที่เจือปนอยู่ในหิน หินก้อนหนึ่งอาจจะมีสีมากกว่า 1 สีก็ได้ เช่น

ผลการ สังเกต ลักษณะ เนื้อหิน

2.เนื้อหิน (Texture) หมายถึง ขนาดและการเรียงตัวของเม็ดแร่ในหินและการยึดเกี่ยวกันของแร่ต่างๆ จะเป็นตัวบอกประวัติการเย็นตัว หินชนิดต่างๆ มีดังนี้

ผลการ สังเกต ลักษณะ เนื้อหิน

3. ลวดลาย หมายถึง ลวดลายในเนื้อหินแต่ละชนิดที่เกิดจากการทับถม ทับซ้อนกัน ของหินเป็นชั้นๆ หรือบางชนิดอาจเกิดจากสิ่งมีชีวิต

ผลการ สังเกต ลักษณะ เนื้อหิน

4. ความแข็ง (Hardness) ความคงทนต่อการขีดขูด ซึ่งวิธีทดสอบความแข็ง ทำได้โดยเอาแร่ที่ต้องการทดสอบ 2 ชนิด ชนิดหนึ่งควรจะรู้ค่า (หรืออาจเปรียบเทียบกับวัสดุอื่นเช่น เล็บ ตะปู เหรียญทองแดง มีด)

ผลการ สังเกต ลักษณะ เนื้อหิน

5. น้ำหนัก (Mass) หรือความหนาแน่น (Density) ของหิน คือ อัตราส่วนของมวลต่อปริมาตร โดยการวัดค่ามวลด้วยการชั่งน้ำหนักแล้วหารด้วยปริมาตร

ผลการ สังเกต ลักษณะ เนื้อหิน

ความรู้เพิ่มเติมจากกิจกรรม

ผลการ สังเกต ลักษณะ เนื้อหิน

ผลการ สังเกต ลักษณะ เนื้อหิน

ผลการ สังเกต ลักษณะ เนื้อหิน

หิน (Rock) หมายถึง มวลของแข็งที่ประกอบขึ้นด้วยแร่ชนิดเดียวกันหรือหลายชนิดรวมตัวกันอยู่ตามธรรมชาติ ประกอบขึ้นเป็นแผ่นเปลือกโลก หินอัคนี 1 เกิดจากหินหนืดหรือแมกมา (Magma) ที่อยู่ใต้เปลือกโลกแทรกดันขึ้นมาผ่านปากปล่องภูเขาไฟเป็น ลาวา 3 ไหลออกมาเจอความเย็นจาก น้ำทะเล 4 ก็จะกลายเป็น หินบะซอลต์ 5 บางส่วนที่เป็น เถ้าภูเขาไฟ 2 ลอยขึ้นในอากาศตกลงมารวมตัว กัดกร่อน หรือผสมกับซากพืชซากสัตว์จับตัวกันกลายเป็น หินตะกอน 6 และเมื่อเวลาผ่านไปเกิดการอัดแน่นรวมกันเป็น หินแปร 7 บางส่วนอัดแน่นรวมกับหินอัคนีอีกครั้งจะกลายเป็น ชั้นหินแกรนิต 8 ซึ่งหินแต่ละชนิดจะมีลักษณะภายนอกที่สังเกตได้แตกต่างกันตามแร่ธาตุกระบวนการเกิดนั้นเอง

ทำไมไม่มีดวงดาวตอนกลางวัน

ผลการ สังเกต ลักษณะ เนื้อหิน

01 Inspiration & Engagement
วันนี้ลิปดาสังเกตเห็นดาวตอนประมาณห้าโมงเย็นตกใจมากจึงไปถามคุณพ่อว่าทำไมวันนี้มีดาวตอนกลางวันคะ ต้องเกิดเรื่องไม่ดีแน่ๆ เลย คุณพ่อตอบว่าที่จริงแล้วเราควรจะเห็นดาวทั้งกลางวันและกลางคืนแต่เนื่องจากแสงของดวงอาทิตย์จ้ามากทำให้เรามองไม่เห็นดาวในตอนกลางวัน

02 Problem & Question
เพราะแสงของดวงอาทิตย์จ้าเกินไปทำให้เราไม่เห็นดาวในตอนกลางวัน

03 Definition
เพราะแสงที่จ้าของดวงอาทิตย์ทำให้การมองเห็นดาวในตอนกลางวัน
[ ] เห็น [ ] เห็นไม่ชัดเจน [ ] ไม่เห็น

04 Hands – On Activity
1. ให้นักเรียนมองเข้าไปในกล่องที่ครูเตรียมมา บันทึกสิ่งที่เห็น
2. ให้นำไฟฉายที่มีความสว่างแตกต่างกัน 3 กระบอกโดยไฟฉายความสว่างมากที่สุดแทนดวงอาทิตย์ไฟฉายความสว่างน้อยกว่าแทนดวงดาว 2 ดวง
3. ให้สังเกตการมองเห็นดวงดาวที่อยู่ในกล่อง
4. บันทึกผลและอภิปราย

05 Materials
1.กล่องมืด ที่เจาะรูเล็กๆ แทนดวงดาว 2.ไฟฉาย 2 กระบอก (หรือหลอดไฟที่มีความเข้มแสงต่างกัน)

06 Data Collection

ผลการ สังเกต ลักษณะ เนื้อหิน

07 Analysis & Discussion
แสงจากไฟฉายแทนดวงอาทิตย์ที่แตกต่างกันส่งผลต่อการมองเห็นดวงดาวอย่างไร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

08 Conclusion
เรามองไม่เห็นดวงดาวในเวลากลางวันเพราะ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
ส่วนในเวลากลางคืนจะมองเห็นดาวและดวงจันทร์เกือบทุกคืนเพราะ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

09 Knowledge Tank
ดวงอาทิตย์ (Sun)
ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ทรงกลมขนาดใหญ่ ที่มีแสงสว่างในตัวเองเป็นศูนย์กลางของ ระบบสุริยะจักรวาล เป็นดาวฤกษ์ มีอายุ 5,000 ล้านปี ดวงอาทิตย์ทำหน้าที่ให้ความร้อนและให้แสงสว่างทำให้เกิดปรากฏการณ์ต่างๆ ทางธรรมชาติด้วย ดวงอาทิตย์ใหญ่กว่าโลก 1,300,000 เท่า มีความสว่างสูงสุด 600,000 เท่าของความสว่างของดวงจันทร์ จริงๆ ดวงอาทิตย์มีสีขาว แต่เห็นบนโลกเป็นสีเหลือง (เนื่องจากการกระเจิงของแสง)

ดวงดาวในระบบสุริยะ

ผลการ สังเกต ลักษณะ เนื้อหิน

ดวงดาว
ในตอนกลางคืน ถ้าท้องฟ้าไม่มีเมฆ นอกจากเราจะสังเกตเห็นดวงจันทร์แล้ว
เรายังเห็นจุดของแสงสว่างเล็กๆ อยู่บนท้องฟ้า บางดวงมีแสงระยิบระยับ
บางดวงมีแสงนิ่ง เราเรียกจุดที่เห็นบนท้องฟ้าว่า ดวงดาว
ดวงดาวบนท้องฟ้าแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ

1. ดาวที่มีแสงสว่างในตัวเอง เรียกว่า ดาวฤกษ์
ระยิบระยับและกะพริบตลอดเวลา เช่น ดวงอาทิตย์ ดาวเหนือ หรือดาวโพลาริสเป็นต้น

ผลการ สังเกต ลักษณะ เนื้อหิน

2. ดาวที่ไม่มีแสงสว่างในตัวเอง เรียกว่า ดาวเคราะห์ เป็นดาวที่ไม่มีแสงระยิบระยับ ไม่กะพริบ เช่น โลก ดวงจันทร์ ดาวอังคาร เป็นต้น

ผลการ สังเกต ลักษณะ เนื้อหิน

ดวงจันทร์
ท้องฟ้าเวลากลางคืน เราจะเห็นดวงดาวต่างๆ มากมาย บางคืนจะมองเห็นดวงจันทร์สว่างเต็มดวง บางคืนจะมองเห็นดวงจันทร์มีลักษณะแหว่ง ดวงจันทร์ใช้เวลาในการหมุนรอบตัวเองเท่ากับเวลาในการโคจรรอบโลก ดวงจันทร์ไม่มีแสงสว่างในตัวเอง

ผลการ สังเกต ลักษณะ เนื้อหิน

ดวงจันทร์และลักษณะของดวงจันทร์ในคืนต่างๆ (Moon Phases)

rock plaster cast tiles

ผลการ สังเกต ลักษณะ เนื้อหิน

Investigate : วันนี้ที่ห้างสรรพสินค้ามีการจัดนิทรรศการสัตว์ประหลาด ลิปดาอยากได้มาเลี้ยงที่บ้านบ้างคุณพ่อบอกว่าอันตรายสัตว์บางชนิดมีพิษ แต่เราสามารถจำลองสัตว์พวกนี้มาไว้ที่บ้านเราได้นะ ลองไปทำดูมั้ยจ๊ะ

Missions :

  1. ให้นักเรียนเลือกหินที่มีลักษณะรูปร่างตามที่ต้องการจากการเลือกตามลักษณะภายนอกที่เหมาะสม
  2. จากนั้นนำมาเรียงเป็นรูปแบบตามที่ต้องการบนพิมพ์
  3. เทปูนปลาสเตอร์ลงไป รอแห้ง และตกแต่งตามใจชอบ

Materials :

  1. หินลักษณะรูปร่างต่างๆ
  2. แม่พิมพ์
  3. ปูนปลาสเตอร์
  4. อุปกรณ์ผสม
  5. อุปกรณ์ตกแต่ง
  6. สีอะคริลิค
  7. พู่กัน

Building & Testing

  1. เกิดปัญหาอะไรบ้างในการสร้างชิ้นงาน
  2. มีปัจจัยใดบ้างที่ขาดไม่ได้สำหรับการสร้างชิ้นงาน

Evaluation & Redesign

  1. นักเรียนสามารถทำภารกิจนี้สำเร็จหรือไม่
  2. ส่วนที่ยากที่สุดของภารกิจนี้คืออะไร
  3. แนวความคิดที่ได้จากกิจกรรมนี้คืออะไร
  4. นักเรียนสามารถนำเสนองานประดิษฐ์ในรูปแบบของ STEM ได้อย่างไรบ้าง

ผลการ สังเกต ลักษณะ เนื้อหิน

ผลการ สังเกต ลักษณะ เนื้อหิน