ชื่อเครื่องดนตรีไทย200ชนิด

เครื่องดนตรีไทย

ชื่อเครื่องดนตรีไทย200ชนิด
13:21
ชื่อเครื่องดนตรีไทย200ชนิด
Toknow

เครื่องดนตรีไทย คือ เครื่องดนตรี ที่สร้างสรรค์ขึ้นตามศิลปวัฒนธรรมดนตรีของไทย ที่มีรูปแบบเอกลักษณ์ของความเป็นไทย ซึ่งสัมพันธ์กับชีวิตความเป็นอยู่และถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตของคนไทย โดยนิยมแบ่งตามอากัปกิริยา ของการ บรรเลง เครื่องดีด เครื่องสี เครื่องตี เครื่องเป่า&lt;br&gt; &lt;br&gt; &lt;u&gt;&lt;b&gt;เครื่องดีด&lt;/b&gt;&lt;/u&gt;&lt;br&gt; &lt;/p&gt;&lt;div class="separator" style="clear:both;text-align:center"&gt;&lt;a target="_blank" href="http://2.bp.blogspot.com/_-DPRqRg30MI/TU79KEAXw6I/AAAAAAAAABY/sVcfGMzbg7U/s1600/019jpeg.jpeg" imageanchor="1" style="clear:left;float:left;margin-bottom:1em;margin-right:1em"&gt;&lt;img border="0" src="http://2.bp.blogspot.com/_-DPRqRg30MI/TU79KEAXw6I/AAAAAAAAABY/sVcfGMzbg7U/s1600/019jpeg.jpeg"&gt;&lt;/a&gt;&lt;/div&gt;&lt;b&gt;&lt;br&gt; &lt;/b&gt;&lt;br&gt; &lt;br&gt; &lt;div&gt;เครื่องดีดคือ เครื่องดนตรีไทยที่บรรเลงหรือเล่นด้วยการใช้นิ้วมือ หรือไม้ดีด&amp;nbsp;&lt;/div&gt;&lt;div style="display:inline!important"&gt;ดีดสาย ให้สั่นสะเทือนจึงเกิดเสียงขึ้น เครื่องดนตรีไทยประเภทนี้มีหลายชนิด&amp;nbsp;&lt;/div&gt;&lt;span class="Apple-style-span" style="font-weight:normal"&gt;&lt;div style="display:inline!important"&gt;แต่ที่นิยมเล่น กันแพร่หลาย ในปัจจุบันมีอยู่ไม่กี่ชนิด คือ กระจับ พิณและจะเข้&amp;nbsp;&lt;/div&gt;&lt;/span&gt;&lt;span class="Apple-style-span" style="font-weight:normal"&gt;&lt;div style="display:inline!important"&gt;กระจับปี่ จะเข้ ซึง พิณไหซอง&lt;/div&gt;&lt;/span&gt;&lt;br&gt; &lt;div style="font-weight:bold"&gt;&lt;span class="Apple-style-span" style="font-weight:normal"&gt;&lt;b&gt;&lt;/b&gt;&lt;/span&gt;&lt;/div&gt;&lt;div style="display:inline!important"&gt;&lt;b&gt;&lt;br&gt; &lt;/b&gt;&lt;/div&gt;&lt;br&gt; &lt;div style="font-weight:bold"&gt;&lt;span class="Apple-style-span" style="font-weight:normal"&gt;&lt;b&gt;&lt;/b&gt;&lt;/span&gt;&lt;/div&gt;&lt;div style="display:inline!important"&gt;&lt;br&gt; &lt;div style="text-align:left"&gt;&lt;u&gt;&lt;b&gt;กระจับปี่&amp;nbsp;&lt;/b&gt;&lt;/u&gt;&lt;/div&gt;&lt;div style="text-align:left"&gt;&lt;br&gt; &lt;/div&gt;&lt;div class="separator" style="clear:both;text-align:center"&gt;&lt;a target="_blank" href="http://1.bp.blogspot.com/_-DPRqRg30MI/TU79x9DzKmI/AAAAAAAAABc/0TyDsNCyYSo/s1600/%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B0%25E0%25B8%2588%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%259A%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%25B5%25E0%25B9%2588.jpg" imageanchor="1" style="clear:right;float:right;margin-bottom:1em;margin-left:1em"&gt;&lt;img border="0" src="http://1.bp.blogspot.com/_-DPRqRg30MI/TU79x9DzKmI/AAAAAAAAABc/0TyDsNCyYSo/s1600/%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B0%25E0%25B8%2588%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%259A%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%25B5%25E0%25B9%2588.jpg"&gt;&lt;/a&gt;&lt;/div&gt;&lt;/div&gt;&lt;div style="font-weight:bold"&gt;&lt;span class="Apple-style-span" style="font-weight:normal"&gt;&lt;b&gt;&lt;/b&gt;&lt;/span&gt;&lt;/div&gt;&lt;div style="display:inline!important"&gt;&lt;/div&gt;&lt;div&gt;กระจับปี่ เป็นเครื่องดนตรีประเภทดีด หรือพิณ 4 สายชนิดหนึ่ง ตัวกะโหลกเป็นรูปกลมรี&lt;/div&gt;&lt;div style="display:inline!important"&gt;แบนทั้งหน้าหลัง มีความหนาประมาณ 7 ซม. ด้านหน้ายาวประมาณ 44 ซม. กว้าง&lt;/div&gt;&lt;span class="Apple-style-span" style="font-weight:normal"&gt;&lt;div style="display:inline!important"&gt;ประมาณ 40 ซม. ท าคันทวนเรียวยาวประมาณ 138 ซม. ตอนปลายคันทวนมีลักษณะ&lt;/div&gt;&lt;/span&gt;&lt;span class="Apple-style-span" style="font-weight:normal"&gt;&lt;div style="display:inline!important"&gt;แบน และบานปลายผายโค้งออกไป ถ้าวัดรวมทั้งคันทวนและตัว กะโหลก จะมีความยาว&lt;/div&gt;&lt;br&gt; &lt;/span&gt;&lt;br&gt; &lt;div&gt;ประมาณ 180 ซม. มีลูกบิดส าหรับขึ้นสาย 4 อัน มีนมรับนิ้ว 11 นมเท่ากับจะเข้ ตรง&lt;/div&gt;&lt;div&gt;ด้านหน้ากะโหลกมีแผ่นไม้บางๆ ท าเป็นหย่องค้ าสายให้ตุงขึ้น เวลาบรรเลงใช้&lt;/div&gt;&lt;div&gt;นิ้วหัวแม่มือกับนิ้วชี้ จับไม้ดีด เขี่ยสายให้เกิดเสียง&lt;/div&gt;&lt;div style="font-weight:bold"&gt;&lt;br&gt; &lt;/div&gt;&lt;br&gt; &lt;u&gt;&lt;span class="Apple-style-span" style="font-weight:800"&gt;พิณ&lt;/span&gt;&lt;/u&gt;&lt;br&gt; &lt;br&gt; &lt;div class="separator" style="clear:both;text-align:center"&gt;&lt;a target="_blank" href="http://3.bp.blogspot.com/_-DPRqRg30MI/TU7-KGuvAfI/AAAAAAAAABg/38oeIBN8wzk/s1600/pin.jpg" imageanchor="1" style="clear:left;float:left;margin-bottom:1em;margin-right:1em"&gt;&lt;img border="0" src="http://3.bp.blogspot.com/_-DPRqRg30MI/TU7-KGuvAfI/AAAAAAAAABg/38oeIBN8wzk/s1600/pin.jpg"&gt;&lt;/a&gt;&lt;/div&gt;&lt;span class="Apple-style-span"&gt;พิณ เป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสายแบบหนึ่ง มีหลายชนิดแตกต่างตามท้องที่ ในภาคอีสานของ&lt;/span&gt;&lt;br&gt; &lt;span class="Apple-style-span"&gt;ประเทศไทย พิณอาจมีชื่อเรียกแตกต่างกันไปตามท้องถิ่น เช่น "ซุง" หรือ "เต่ง" จัดเป็นเครื่องดนตรี&lt;/span&gt;&lt;br&gt; &lt;span class="Apple-style-span"&gt;ประเภทเครื่องสาย มีรูปร่างคล้ายกีตาร์แต่มีขนาดเล็กกว่า โดยทั่วไปมี 3 สาย ในบางท้องถิ่นอาจมี 2&amp;nbsp;&lt;/span&gt;&lt;br&gt; &lt;span class="Apple-style-span"&gt;หรือ 4 สาย บรรเลงโดยการดีดด้วยวัสดุทีเป็นแผ่นบาง เช่นไม้ไผ่เหลา หรืออาจใช้ปิ้กกีตาร์ดีดก็ได้&amp;nbsp;&lt;/span&gt;&lt;br&gt; &lt;span class="Apple-style-span"&gt;สมัยก่อนจะเล่นเครื่องเดียวเพื่อเกี้ยวสาว ปัจจุบันมักใช้บรรเลงในวงดนตรีโปงลาง วงดนตรีล าซิ่ง หรือ&lt;/span&gt;&lt;br&gt; &lt;span class="Apple-style-span"&gt;วงดนตรีลูกทุ่ง&lt;/span&gt;&lt;br&gt; &lt;span class="Apple-style-span" style="font-weight:800"&gt;&lt;br&gt; &lt;/span&gt;&lt;br&gt; &lt;br&gt; &lt;u&gt;&lt;span class="Apple-style-span" style="font-weight:800"&gt;จะเข้&lt;/span&gt;&lt;/u&gt;&lt;br&gt; &lt;div class="separator" style="clear:both;text-align:center"&gt;&lt;a target="_blank" href="http://3.bp.blogspot.com/_-DPRqRg30MI/TU7_UuAOpgI/AAAAAAAAABk/9_kR2QbSQdw/s1600/020.jpg" imageanchor="1" style="clear:right;float:right;margin-bottom:1em;margin-left:1em"&gt;&lt;img border="0" src="http://3.bp.blogspot.com/_-DPRqRg30MI/TU7_UuAOpgI/AAAAAAAAABk/9_kR2QbSQdw/s1600/020.jpg"&gt;&lt;/a&gt;&lt;/div&gt;&lt;br&gt; &lt;span class="Apple-style-span"&gt;จะเข้ เป็นเครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องดีด มี 3 สาย เข้าใจว่าได้ปรับปรุงแก้ไขมาจากพิณ คือ&amp;nbsp;&lt;/span&gt;&lt;br&gt; &lt;span class="Apple-style-span"&gt;กระจับปี่ซึ่งมี 4 สาย น ามาวางดีดกับพื้นเพื่อความสะดวก จะเข้ได้น าเข้าร่วมบรรเลงอยู่ในวงมโหรี&lt;/span&gt;&lt;br&gt; &lt;span class="Apple-style-span"&gt;คู่กับกระจับปี่ในสมัยรัชกาลที่ 2 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ มีผู้นิยมเล่นจะเข้กันมาก ท าให้กระจับปี่&lt;/span&gt;&lt;br&gt; &lt;span class="Apple-style-span"&gt;ค่อย ๆ หายไปในปัจจุบัน เนื่องจากหาผู้เล่นเป็นน้อย&lt;/span&gt;&lt;br&gt; &lt;span class="Apple-style-span"&gt;ตัวจะเข้ท าเป็นสองตอน คือตอนหัวและตอนหาง โดยลักษณะทางตอนหัวเป็นกระพุ้งใหญ่ ท าด้วย&lt;/span&gt;&lt;br&gt; &lt;span class="Apple-style-span"&gt;ไม้แก่นขนุน หนาประมาณ 12 ซม. ยาวประมาณ 52 ซม. และกว้างประมาณ 11.5 ซม. ท่อนหัว&lt;/span&gt;&lt;br&gt; &lt;span class="Apple-style-span"&gt;และท่อนหางขุดเป็นโพรงตลอด รวมทั้งสิ้นมีความยาวประมาณ 130 – 132 ซม. ปิดใต้ทองด้วย&lt;/span&gt;&lt;br&gt; &lt;span class="Apple-style-span"&gt;แผ่นไม้ มีเท้ารองตอนหัว 4 เท้า และตอนปลายปางอีก 1 เท้า วัดจากปลายเท้าถึงตอนบนของตัว&lt;/span&gt;&lt;br&gt; &lt;span class="Apple-style-span"&gt;จะเข้ สูงประมาณ 19 ซม. ท าหลังนูนตรงกลางให้สองข้างลาดลง โยงสายจากตอนหัวไปทางตอน&lt;/span&gt;&lt;br&gt; &lt;span class="Apple-style-span"&gt;หางเป็น 3 สาย มีลูกบิดประจ าสายละ 1 อัน สาย 1 ใช้เส้นลวดทองเหลือง อีก 2 สายใช้เส้นเอ็น มี&lt;/span&gt;&lt;br&gt; &lt;span class="Apple-style-span"&gt;หย่องรับสายอยู่ตรงปลายหางก่อนจะถึงลูกบิด ระหว่างตัวจะเข้มีแป้นไม้เรียกว่า นม รองรับสาย&lt;/span&gt;&lt;br&gt; &lt;span class="Apple-style-span"&gt;ติดไว้บนหลังจะเข้ รวมทั้งสิ้น 11 อัน เพื่อไว้เป็นที่ส าหรับนิ้วกดนมแต่ละอันสูง เรียงล าดับขึ้นไป&amp;nbsp;&lt;/span&gt;&lt;br&gt; &lt;span class="Apple-style-span"&gt;ตั้งแต่ 2 ซม. จนสูง 3.5 ซม.&lt;/span&gt;&lt;br&gt; &lt;span class="Apple-style-span"&gt;เวลาบรรเลงใช้ดีดด้วยไม้ดีดกลมปลายแหลมท าด้วยงาช้างหรือกระดูกสัตว์ เคียนด้วยเส้นด้าย&lt;/span&gt;&lt;br&gt; &lt;span class="Apple-style-span"&gt;ส าหรับพันติดกับปลายนิ้วชี้ข้างขวาของผู้ดีด และใช้นิ้วหัวแม่มือกับนิ้วกลางช่วยจับให้มีก าลัง&amp;nbsp;&lt;/span&gt;&lt;br&gt; &lt;span class="Apple-style-span"&gt;เวลาแกว่งมือส่ายไปมา ให้สัมพันธ์ กับมือข้างซ้ายขณะกดสายด้วย&lt;/span&gt;&lt;br&gt; &lt;span class="Apple-style-span" style="font-weight:800"&gt;&lt;br&gt; &lt;/span&gt;&lt;br&gt; &lt;br&gt; &lt;u&gt;&lt;span class="Apple-style-span" style="font-weight:800"&gt;ซึง&lt;/span&gt;&lt;/u&gt;&lt;br&gt; &lt;a target="_blank" href="http://4.bp.blogspot.com/_-DPRqRg30MI/TU7_nliDeNI/AAAAAAAAABo/hrG0sjHHPzY/s1600/021.jpg" imageanchor="1" style="clear:left;float:left;margin-bottom:1em;margin-right:1em"&gt;&lt;/a&gt;&lt;span class="Apple-style-span" style="font-weight:800"&gt; &lt;/span&gt;&lt;br&gt; &lt;div class="separator" style="clear:both;text-align:center"&gt;&lt;a target="_blank" href="http://4.bp.blogspot.com/_-DPRqRg30MI/TU7_nliDeNI/AAAAAAAAABo/hrG0sjHHPzY/s1600/021.jpg" imageanchor="1" style="clear:left;float:left;margin-bottom:1em;margin-right:1em"&gt;&lt;img border="0" height="263" src="http://4.bp.blogspot.com/_-DPRqRg30MI/TU7_nliDeNI/AAAAAAAAABo/hrG0sjHHPzY/s320/021.jpg" width="320"&gt;&lt;/a&gt;&lt;/div&gt;&lt;span class="Apple-style-span"&gt;ซึงเป็นเครื่องดนตรีประเภท ดีด มี4 สาย แต่แบ่งออกเป็น2เส้น เส้นละ2สาย มีลักษณะคล้าย&amp;nbsp;&lt;/span&gt;&lt;br&gt; &lt;span class="Apple-style-span"&gt;กระจับปี่ แต่มีขนาดเล็กกว่า ความยาวทั้งคันทวนและกะโหลกรวมกันประมาณ 81 ซม&amp;nbsp;&lt;/span&gt;&lt;br&gt; &lt;span class="Apple-style-span"&gt;กะโหลกมีรูปร่างกลมวัดเส้นผ่าศูนย์กลางได้ประมาณ 21 ซม ทั้งกะโหลกและคันทวน ใช้ไม้&lt;/span&gt;&lt;br&gt; &lt;span class="Apple-style-span"&gt;เนื้อแข็งชิ้นเดียวคว้านตอนที่เป็นกะโหลกให้เป็นโพรง ตัดแผ่นไม้ให้กลม แล้วเจาะรูตรงกลาง&lt;/span&gt;&lt;br&gt; &lt;span class="Apple-style-span"&gt;ท าเป็นฝาปิดด้านหน้า เพื่ออุ้มเสียงให้กังวาน คันทวนเป็นเหลี่ยมแบนตอนหน้า เพื่อติดตะพาน&lt;/span&gt;&lt;br&gt; &lt;span class="Apple-style-span"&gt;หรือนมรับนิ้ว จ านวน 9 อัน ตอนปลายคันทวนท าเป็นรูปโค้ง และขุดให้เป็นร่อง เจาะรูสอด&lt;/span&gt;&lt;br&gt; &lt;span class="Apple-style-span"&gt;ลูกบิดข้างละ 2 อัน รวมเป็น 4 อันสอดเข้าไปในร่อง ส าหรับขึ้นสาย 4 สาย สายของซึงใช้สาย&lt;/span&gt;&lt;br&gt; &lt;span class="Apple-style-span"&gt;ลวดขนาดเล็ก 2 สาย และ สายใหญ่ 2 สาย ซึงเป็นเครื่องดีดที่ชาวไทยทางภาคเหนือนิยมนามาเล่นร่วมกับปี่ซอ หรือ ปี่จุ่มและ สะล้อ&lt;/span&gt;&lt;br&gt; &lt;span class="Apple-style-span"&gt;แบ่งตามลักษณะได้ 3 ประเภท คือ ซึงเล็ก ซึ่งกลาง และซึงหลวง(ซึงที่มีขนาดใหญ่)&lt;/span&gt;&lt;br&gt; &lt;span class="Apple-style-span"&gt;แบ่งตามประเภทได้ 2 ชนิด คือ ซึงลูก3 และซึงลูก4 (แตกต่างกันที่เสียง ลูก 3 เสียงซอลจะอยู่&lt;/span&gt;&lt;br&gt; &lt;span class="Apple-style-span"&gt;ด้านล่าง ส่วนซึงลูก4 เสียงซอลจะอยู่ด้านบน)&lt;/span&gt;&lt;br&gt; &lt;span class="Apple-style-span" style="font-weight:800"&gt;&lt;br&gt; &lt;/span&gt;&lt;br&gt; &lt;u&gt;&lt;b&gt;เครื่องสี&lt;/b&gt;&lt;/u&gt; เป็นเครื่องสายที่ท าให้เกิดเสียงด้วยการใช้คันชักสีเข้ากับสายในดนตรีไทย เรียกว่า ซอ ซึ่งมีอยู่ ๓ ชนิด ด้วยกัน คือ ซอ ได้แก่ ซออู, ซอด้วง, ซอสามสาย สะล้อ &lt;br&gt; &lt;br&gt; &lt;b&gt;ซอด้วง&amp;nbsp;&lt;/b&gt;&lt;br&gt; &lt;div class="separator" style="clear:both;text-align:center"&gt;&lt;a target="_blank" href="http://www.dontee-thai.ob.tc/gaohu.jpg" imageanchor="1" style="clear:right;float:right;margin-bottom:1em;margin-left:1em"&gt;&lt;img border="0" height="320" src="http://www.dontee-thai.ob.tc/gaohu.jpg" width="294"&gt;&lt;/a&gt;&lt;/div&gt;&lt;br&gt; ซอด้วงเป็นซอสองสาย มีเสียงแหลม ก้องกังวาน คันทวนยาวประมาณ 72 &lt;br&gt; ซม คันชักยาวประมาณ 68 ซม ใช้ขนหางม้าประมาณ 120 – 150 เส้น กะโหลกของ &lt;br&gt; ซอด้วงนั้น แต่เดิมใช้กระบอกไม้ไผ่มาท า ปากกระบอกของซอด้วงกว้างประมาณ 7 &lt;br&gt; ซม ตัวกระบอกยาวประมาณ 13 ซม กะโหลกของซอด้วงนี้ ในปัจจุบันใช้ไม้จริง หรือ &lt;br&gt; งาช้างท าก็ได้&lt;br&gt; แต่ที่นิยมว่าเสียงดีนั้น กะโหลกซอด้วงต้องท าด้วยไม้ล าเจียก ส่วนหน้าซอนิยมใช้&lt;br&gt; หนังงูเหลือมขึง เพราะท าให้เกิดเสียงแก้วเกิดความไพเราะอย่างยิ่ง ลักษณะของซอ&lt;br&gt; ด้วง มีรูปร่างเหมือนกับซอของจีนที่เรียกว่า ฮู – ฉิน (Huchin) ทุกอย่าง เหตุที่เรียกว่า &lt;br&gt; ซอด้วง ก็เพราะมีรูปร่างคล้ายเครื่องดักสัตว์ เพราะตัวด้วงดักสัตว์ ท าด้วยกระบอกไม้&lt;br&gt; ไผ่เหมือนกีน จึงได้เรียกชื่อไปตามลักษณะนั้นนั่นเอง&lt;br&gt; สายซอด้วงนั้น มีเพียงสองสายและมีเสียงอยู่ สองเสียง คือสายเอกจะเป็นเสียง "เร" &lt;br&gt; ส่วนสายทุ้มจะเป็นเสียง "ซอล" โดยใช้สายไหมฟั่นหรือว่าสายเอ็นก็ได้&lt;br&gt; ซอด้วงใช้ในวงเครื่องสาย วงมโหรี โดยท าหน้าที่เป็นผู้น าวงและเป็นหลักในการ&lt;br&gt; ดำเนินทำนอง&lt;br&gt; &lt;br&gt; &lt;b&gt;ซอสามสาย&lt;/b&gt;&lt;br&gt; &lt;div class="separator" style="clear:both;text-align:center"&gt;&lt;a target="_blank" href="http://www.skoolbuz.com/content_images/200911/images/image003.jpg" imageanchor="1" style="clear:left;float:left;margin-bottom:1em;margin-right:1em"&gt;&lt;img border="0" height="236" src="http://www.skoolbuz.com/content_images/200911/images/image003.jpg" width="320"&gt;&lt;/a&gt;&lt;/div&gt;&lt;b&gt;&amp;nbsp;&lt;/b&gt;ซอสามสาย เป็นซอชนิดหนึ่งของไทย มีมาแต่โบราณ มีเสียงไพเราะ นุ่มนวล &lt;br&gt; รูปร่างวิจิตรสวยงามกว่าซอชนิดอื่น ถือเป็นเครื่องดนตรีชั้นสูง ใช้ในราชส านัก มีส่วนประกอบ &lt;br&gt; ดังนี้ - กะโหลก ท าด้วยกะลามะพร้าว ตัดตามด้านขวาง ด้านหน้าต่อติดกับกรอบไม้เนื้อแข็ง &lt;br&gt; เดิมนิยมใช้ไม้สักเรียกว่า "ขนงไม้สัก" มีรูปร่างคล้ายกรอบหน้านาง ใช้หนังลูกวัวหรือหนังแพะ&lt;br&gt; ขึงปิดทับขอบขนงไม้สักและขอบกะลาให้ตึงพอดี - คันซอ แบ่งออกเป็นสามส่วน คือ ทวนบน &lt;br&gt; ทวนกลาง และทวนล่าง ทวนบน คือ ส่วนที่นับจากรอบต่อเหนือรัดอกขึ้นไป ทวนกลาง คือ &lt;br&gt; ส่วนต่อจากทวนบนลงมาถึงกะโหลก ทวนล่างหรือแข้งไก่ คือ ส่วนที่ต่อจากกะโหลก ลงไป&lt;br&gt; รวมทั้งเข็มที่ท าด้วยโลหะ ซึ่งอยู่ปลายล่างสุด - ลูกบิด มีสามลูก ลูกล่างส าหรับสายเอก ลูกบน&lt;br&gt; ส าหรับสายกลาง สองลูกนี้อยู่ทางขวา ทางซ้ายมีลูกเดียว ส าหรับสายทุ้ม หรือสายสาม - รัดอก &lt;br&gt; มักใช้สายไหมฟั่นเกลียวแบบสายซอ พันรอบทวนกลาง ใช้รัดสายทั้งสาม ให้แนบเข้ากับทวน&lt;br&gt; กลาง เพื่อให้เสียงของสายเปล่าได้ระดับและมีความกังวาน - หย่อง ท าด้วยไม้หรืองา เหลาเป็น&lt;br&gt; รูปคันธนูให้ได้ขนาดพอรับสายซอทั้งสามสาย บนหย่องบากร่องไว้ สามต าแหน่ง เพื่อรอง&lt;br&gt; รับสายซอ - ถ่วงหน้า ท าด้วยแก้วหรือโลหะ ขึ้นรูปเป็นตลับกลมเล็ก ๆ ข้างบนประดับพลอยสี&lt;br&gt; ต่าง ๆ หรือถม หรือลงยา ภายในบรรจุสีผึ้งผสมตะกั่ว เพื่อให้ได้น้ าหนัก ใช้ชันปิดหน้า ใช้ปรับ&lt;br&gt; เสียงให้สายเอกเข้ากับสายทุ้ม - หนวดพราหมณ์ ใช้สายไหมฟั่นเกลียวอย่างสายซอ ผูกเป็นสาย&lt;br&gt; บ่วง ร้อยเข้าไปในรูที่ทวนล่าง เพื่อรั้งปมปลายสายซอทั้งสาม - คันชัก ท าด้วยไม้เนื้อแข็งและ&lt;br&gt; เหนียว กลึงให้ได้รูป ขึงด้วยขนหางม้าสีขาวประมาณ ๒๕๐-๓๐๐ เส้น&lt;br&gt; &lt;br&gt; &lt;b&gt;ซออู้&amp;nbsp;&lt;/b&gt;&lt;br&gt; &lt;div class="separator" style="clear:both;text-align:center"&gt;&lt;a target="_blank" href="http://www.bloggang.com/data/yyswim/picture/1193377592.jpg" imageanchor="1" style="clear:right;float:right;margin-bottom:1em;margin-left:1em"&gt;&lt;img border="0" height="240" src="http://www.bloggang.com/data/yyswim/picture/1193377592.jpg" width="320"&gt;&lt;/a&gt;&lt;/div&gt;&lt;br&gt; ซออู้ เป็นซอสองสาย ตัวกะโหลกทำด้วยกะลามะพร้าว โดยตัดปาดกะลาออก&lt;br&gt; เสียด้านหนึ่ง และใช้หนังลูกวัวขึงขึ้นหน้าซอ กว้างประมาณ 13 – 14 ซม เจาะกะโหลกให้&lt;br&gt; ทะลุตรงกลาง เพื่อใส่คันทวนที่ท าด้วยไม้จริง ผ่านกะโหลกลงไป ออกทะลุรูตอนล่างใกล้&lt;br&gt; กะโหลก คันทวนซออู้นี้ ยาวประมาณ 79 ซม ใช้สายซอสองสายผูกปลายทวนใต้&lt;br&gt; กะโหลก แล้วพาดผ่านหน้าซอ ขึ้นไปผูกไว้กับ ลูกบิดสองอัน ลูกบิดซออู้นี้ยาวประมาณ &lt;br&gt; 17 –18 ซม โดยเจาะรูคันทวนด้านบน แล้วสอดลูกบิดให้ทะลุผ่านคันทวนออกมา และใช้&lt;br&gt; เชือกผูกรั้งกับทวนตรงกลางเป็นรัดอก เพื่อให้สายซอตึง และส าหรับเป็นที่กดสายใต้รัด&lt;br&gt; อกเวลาสี ส่วนคันสีของซออู้นั้นท าด้วย ไม้จริงยาวประมาณ 70 ซม ใช้ขนหางม้า&lt;br&gt; ประมาณ 160 - 200 เส้น ตรงหน้าซอใช้ผ้าม้วนกลมๆ เพื่อท าหน้าที่เป็นหมอนหนุน สาย&lt;br&gt; ให้พ้นหน้าซอ ด้านหลังของกะโหลกซอ แกะสลักเป็นรูปลวดลายสวยงาม และเป็น&lt;br&gt; ช่องทางให้เสียงออกด้านนี้ด้วย&lt;br&gt; ซออู้มีรูปร่างคล้ายๆกับซอของจีนที่เรียกว่า ฮู – ฮู้ ( Hu-hu ) เหตุที่เรียกว่าซออู้ก็เพราะ &lt;br&gt; เรียกตามเสียงที่ได้ยินนั่นเอง&lt;br&gt; &lt;br&gt; &lt;b&gt;สะล้อ&lt;/b&gt;&lt;br&gt; &lt;div class="separator" style="clear:both;text-align:center"&gt;&lt;a target="_blank" href="http://www.lannamusic.advancewebservice.com/userimages/saloo01.jpg" imageanchor="1" style="clear:left;float:left;margin-bottom:1em;margin-right:1em"&gt;&lt;img border="0" height="213" src="http://www.lannamusic.advancewebservice.com/userimages/saloo01.jpg" width="320"&gt;&lt;/a&gt;&lt;/div&gt;&lt;b&gt;&lt;br&gt; &lt;/b&gt;&lt;br&gt; สะล้อเป็นเครื่องดนตรีพื้นเมืองล้านนาชนิดหนึ่ง เป็นประเภทเครื่องสีซึ่ง&lt;br&gt; มีทั้ง 2 สายและ 3 สาย คันชักส าหรับสีจะอยู่ข้างนอกเหมือนคันชักซอ&lt;br&gt; สามสาย สะล้อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ทร้อ หรือ ซะล้อ มีรูปร่างคล้ายซออู้&lt;br&gt; ของภาคกลาง ใช้ไม้แผ่นบาง ๆ ปิดปากกะลาท าหลักที่หัวส าหรับพาด&lt;br&gt; ทองเหลือง ด้านหลังกะโหลกเจาะเป็นรูปลวดลายต่าง ๆ เช่น รูปหนุ&lt;br&gt; มาน รูปหัวใจ ส่วนด้านล่างของกะโหลก เจาะทะลุลง ข้างล่าง เพื่อสอด&lt;br&gt; คันทวนที่ท าด้วยไม้ชิงชัน ยาวประมาณ 64 ซม ตรงกลางคันทวนมีรัด&lt;br&gt; อกท าด้วยหวาย ปลายคันทวนด้านบนเจาะรูส าหรับสอดลูกบิด ซึ่งมี 2 &lt;br&gt; หรือ 3 อัน ส าหรับขึงสายซอ จากปลายลูกบิดลงมาถึงด้านกลางของ&lt;br&gt; กะโหลกมีหย่องสำหรับ หนุนสายสะล้อเพื่อให้เกิดเสียงเวลาสี คันชัก&lt;br&gt; สะล้อท าด้วยไม้ดัดเป็นรูปโค้ง ขึงด้วยหางม้าหรือพลาสติก เวลาสีใช้ยาง&lt;br&gt; สนถูท าให้เกิดเสียงได้&lt;br&gt; สะล้อใช้บรรเลงประกอบการแสดงหรือบรรเลงร่วมกับบทร้องและ&lt;br&gt; ทำนองเพลงได้ทุกชนิดเช่น เข้ากับปี่ในวงช่างซอ เข้ากับซึงในวง&lt;br&gt; พื้นเมือง หรือใช้เดี่ยวคลอร้องก็ได&lt;br&gt; &lt;br&gt; &lt;u&gt;&lt;b&gt;เครื่องเป่า&lt;/b&gt;&lt;/u&gt;&lt;br&gt; เครื่องเป่า เป็นเครื่องดนตรีที่ท าให้เกิดเสียงจากลมเป่า อุปกรณ์ดังเดิมได้จากพืช ได้แก&lt;br&gt; หลอดไม้ต่าง ๆ และจากสัตว์ ได้แก่ เขาสัตว์ต่างๆ ต่อมาได้มีวิวัฒนาการด้วยการเจาะ&lt;br&gt; รูและท าลิ้น เพื่อให้เกิดระดับเสียงได้มาก เครื่องดนตรีเหล่านี้ ได้แก่ ขลุ่ยชนิดต่าง ๆ ป&lt;br&gt; ชนิดต่าง ๆ และแคน เป็นต้น&lt;br&gt; ขลุ่ย ได้แก่ ขลุ่ยหลิบ ขลุ่ยเพียงออ ขลุ่ยอู้ ขลุ่ยกรวด แคน&lt;br&gt; ปี่ ได้แก่ ปี่นอก ปี่กลาง ปี่ใน ปี่ไฉน ปี่ชวา ปี่มอญ ปี่อ้อ ปี่จุม โหวด&lt;br&gt; &lt;br&gt; &lt;b&gt;ปี่&lt;/b&gt;&lt;br&gt; &lt;div class="separator" style="clear:both;text-align:center"&gt;&lt;a target="_blank" href="http://thai.cri.cn/chinaabc/chapter23/images/houguan.jpg" imageanchor="1" style="clear:right;float:right;margin-bottom:1em;margin-left:1em"&gt;&lt;img border="0" height="320" src="http://thai.cri.cn/chinaabc/chapter23/images/houguan.jpg" width="223"&gt;&lt;/a&gt;&lt;/div&gt;&lt;br&gt; ปี่เป็นเครื่องดนตรีไทย ทำด้วยไม้จริงเช่นไม้ชิงชันหรือไม้พยุง กลึงให้เป็นรูปบานหัวบานท้าย ตรงกลาง&lt;br&gt; &amp;nbsp;เจาะภายในให้กลวงตลอดเลา ทางหัวของปี่เป็นช่องรูเล็กส่วนทาง ปลายของปี่ ปากรูใหญ่ใช้ชันหรือวัสด&lt;br&gt; งอื่นมาหล่อเสริมขึ้นอีกราวข้างละ ครึ่งซม ส่วนหัวเรียก ทวนบน ส่วนท้ายเรียก ทวนล่าง ตอนกลางของป&lt;br&gt; ะรูนิ้วส าหรับเปลี่ยนเสียงลงมาจำนวน 6 รู แต่สามารถเป่าได้เสียงตรง 24 เสียง กับเสียงควงหรือเสียงแทน&lt;br&gt; &amp;nbsp;เสียง รวมเป็น 32 เสียง รูตอนบนเจาะเรียงลงมา 4 รู เว้นระยะห่างเล็กน้อย เจาะรูล่างอีก 2 รู ตรงกลางของ&lt;br&gt; ปี่ กลึงขวั้นเป็นเกลียวคู่ไว้เป็นจำนวน 14 คู่ เพื่อความสวยงามและกันลื่นอีกด้วย ตรงทวนบนนั้นใส่ลิ้นปี่ท&lt;br&gt; วยใบตาลซ้อนกัน 4 ชั้น ตัดให้กลมแล้วน าไปผูกติดกับท่อลมเล็กๆที่ เรียกว่า กำพวด เรียวยาวประมาณ 5&lt;br&gt; กำพวดนี้ท าด้วยทองเหลือง เงิน นาก หรือโลหะอย่างอื่นวิธีผูกเชือกเพื่อ ให้ใบตาลติดกับก าพวดนั้น ใช้วิธ&lt;br&gt; เรียกว่า ผูกตะกรุดเบ็ด ส่วนของ กำพวดที่จะต้องสอดเข้าไปเลาปี่นั้นเขาใช้ถักหรือเคียน ด้วยเส้นด้าย สอด&lt;br&gt; เข้าไปในเลาปี่ให้พอมิดที่พันด้ายจะทำให้เกิดความแน่นกระชับยิ่งขึ้น&lt;br&gt; ปี่ของไทยจัดได้เป็น 3 ชนิด ได้แก&lt;br&gt; &lt;br&gt; &lt;b&gt;ปี่นอก&lt;/b&gt;&lt;br&gt; &amp;nbsp;มีขนาดเล็ก ยาวประมาณ 31 ซม. กว้าง 3.5 ซม. เป็นปี่ที่ใช้กันมาแต่เดิม เสียงของปี่นอกจะมีเสียงที่เล็กแหลม &lt;br&gt; ปี่กลาง มีขนาดกลาง ยาวประมาณ 37 ซม. กว้างประมาณ 4 ซม. ส าหรับเล่นประกอบการแสดงหนังใหญ่ มีส าเนียงเสียง&lt;br&gt; อยู่ระหว่าง ปี่นอก กับปี่ใน เสียงของปี่กลางจะ ไม่แหลมหรือว่าต่ าเกินไปแต่จะอยู่ในระดับปานกลาง &lt;br&gt; ปี่ใน มีขนาดใหญ่ มีความยาวประมาณ 41 – 42 ซม. กว้างประมาณ 4.5 ซม. เป็นปี่ที่พระอภัยมณีใช้ส าหรับเป่าให้นาง&lt;br&gt; ผีเสื้อสมุทร (ในวรรณกรรมของสุนทรภู่) ขาดใจตายนั่นเอง โดยเสียงของปีในจะเป็นเสียงที่ต่ า และเสียงใหญ่&lt;br&gt; &lt;br&gt; &lt;b&gt;ปี่นอก&lt;/b&gt;&lt;br&gt; ปี่นอกเป็นปี่ที่มีเสียงสูงสุดในบรรดาเครื่องเป่าตระกูลปี่ใน ลักษณะมีขนาดเล็ก&lt;br&gt; และเสียงแหลม มีความยาวประมาณ 31 เซนติเมตร มึความกว้างประมาณ 3.5 &lt;br&gt; เซนติเมตร มีลักษณะบานหัวบานท้ายเช่นเดียวกับปี่ใน บริเวณเลาปี่ที่ป่องเจาะ&lt;br&gt; รู 6 รู ปี่นอกใช้เล่นในวงปี่พาทย์ไม้แข็งและวงปี่พาทย์ชาตร&lt;br&gt; &lt;br&gt; &lt;b&gt;ปี่ใน&lt;/b&gt;&lt;br&gt; ปี่ใน เป็นปี่ที่มีขนาดใหญ่และมีเสียงต่ำ ในบรรดาเครื่องเป่าที่มีลิ้นตระกูลปี่ใน ลักษณะเป็นปี่&lt;br&gt; ท่อนเดียว ลำปี่ที่ทำหน้าที่เป็นตัวขยายเสียงเรียกว่า"เลา"&lt;br&gt; เลาปี่ทำมาจากไม้ เช่น ไม้พยุง ไม้ชิงชัน มีความยาวประมาณ 52 เซนติเมตร ความกว้าง&lt;br&gt; ประมาณ 4 เซนติเมตร มีลักษณะหัวบานท้ายและป่องตรงกลาง เจาะรูกลางตลอดเลา ด้านบน&lt;br&gt; มีรูเล็กใช้เสียบลิ้นปี่ ด้านล่างรูจะใหญ่ บริเวณเลาปี่ที่ป่องตรงกลางจะเจาะรู 6 รู ลิ้นปี่ท าจาก&lt;br&gt; ใบตาลน ามาตัดซ้อนกัน 4 ชั้น ตัดผูกกับท่อทองเหลืองเล็กๆ เรียกว่า"กำพวด"&lt;br&gt; ปี่ในใช้บรรเลงในวงปี่พาทย์&lt;br&gt; &lt;br&gt; &lt;b&gt;ปี่ชวา&amp;nbsp;&lt;/b&gt;&lt;br&gt; ปี่ชวา เป็นเครื่องเป่าชนิดหนึ่งที่มีลิ้น เข้าใจว่าเมืองไทยรับมาในคราวเดียวกับกลองแขก &lt;br&gt; ส่วนประกอบของปี่ชวามีดังนี้&lt;br&gt; ปี่ชวาใช้ในการบรรเลงในวงบัวลอย วงปี่พาทย์นางหงส์ และวงเครื่องสายปี่ชวา&lt;br&gt; นอกจากนี้ปี่ชวายังใช้ในการเป่าประกอบการรำกระบี่กระบองและการชกมวยอีกด้วย&lt;br&gt; &lt;br&gt; &lt;b&gt;ปี่มอญ&lt;/b&gt;&lt;br&gt; ปี่มอญ เป็นเครื่องเป่าในตระกูลปี่ ไทยได้แบบอย่างมาจากมอญ ปี่ชนิดนี้แบ่งเป็น 2 ท่อน ท่อน&lt;br&gt; แรกเรียกว่า"ตัวเลา" ทำด้วยไม้จริง กลึงให้กลมเรียวยาว ภายในโปร่งตลอด ตอนปลายกลึงผาย&lt;br&gt; ออกเล็กน้อย ถัดลงมากลึงเป็นลูกแก้วคั่นส าหรับผูกเชือกโยงกับตัวล าโพง ที่ตัวเลาด้านหน้า&lt;br&gt; เจาะรู 7 รู เรียงตามล าดับเพื่อเปิดปิดนิ้วบังคับเสียง ด้านหลังตอนบนเจาะอีก 1 รูเป็น"รูนิ้วคำ" อี&lt;br&gt; ท่อนหนึ่งเรียกว่าลำโพง ท าด้วยทองเหลืองหรือสแตนเลส ลักษณะคล้ายดอกล าโพง แต่ใหญ่&lt;br&gt; กว่า ปลายผายบานงุ้มขึ้น ตอนกลางและตอนปลายตีเป็นลูกแก้ว ตัวเลาปี่จะสอดใส่เข้าไปใน&lt;br&gt; ลำโพง โดยมีเชือกเคียนเป็นทักษิณาวัฏ ในเงื่อน"สับปลาช่อน" ยึดระหว่างลูกแก้วล าโพงปี่กับ&lt;br&gt; ลูกแก้วตอนบนของตัวเลาปี่ เพื่อไม่ให้หลุดออกจากกันง่ายๆ&lt;br&gt; เนื่องจากว่าปี่มอญมีขนาดใหญ่และยาวกว่าปี่อื่นๆ ทำให้กำพวดของปี่จึงต้องยาวไปตามส่วน&lt;br&gt; โดยมีความยาวประมาณ 8-9 ซม. และเขื่องกว่าก าพวดของปี่ชวา และมีแผ่นกระบังลม&lt;br&gt; เช่นเดียวกับปี่ชวาและปี่ไฉน&lt;br&gt; ปี่มอญใช้เล่นในวงปี่พาทย์มอญและเล่นประกอบเพลงออกภาษาในภาษามอญ&lt;br&gt; &lt;br&gt; &lt;b&gt;แคน&amp;nbsp;&lt;/b&gt;&lt;br&gt; &lt;div class="separator" style="clear:both;text-align:center"&gt;&lt;a target="_blank" href="http://www.isangate.com/images2/kan.jpg" imageanchor="1" style="clear:right;float:right;margin-bottom:1em;margin-left:1em"&gt;&lt;img border="0" height="294" src="http://www.isangate.com/images2/kan.jpg" width="320"&gt;&lt;/a&gt;&lt;/div&gt;&lt;br&gt; แคน เป็นเครื่องเป่าพื้นเมืองของชาวอีสานเหนือที่ใช้ไม้ซางขนาดต่าง ๆ ประกอบกันเข้าเป็นตัว&lt;br&gt; แคน แคนเป็นสัญลักษณ์ของภาคอีสาน เป็นเครื่องเป่ามีลิ้นโลหะ เสียงเกิดจากลมผ่านลิ้นโลหะไป&lt;br&gt; ตามลำไม้ที่เป็นลูกแคน การเป่าแคนต้องใช้ทั้งเป่าลมเข้าและดูดลมออกด้วย จึงเป่ายากพอสมควร &lt;br&gt; แคนมีหลายขนาด บางขนาดมีเสียงประสานอยู่ด้วย แคนมีหลายประเภทตามจำนวนลูกแคน คือ&lt;br&gt; 1.แคนหก มีลูกแคน 3 คู่ (6 ลูก) เป็นแคนขนาดเล็กที่สุด ส าหรับเด็กหรือผู้เริ่มฝึกหัดใช้เป่าเพลงง่าย &lt;br&gt; ๆ เพราะเสียงไม่ครบ&lt;br&gt; 2.แคนเจ็ด มีลูกแคน 7 คู่ (14 ลูก) เป็นแคนขนาดกลาง มีเสียงครบ 7 เสียง ตามระบบสากล และมี&lt;br&gt; ระดับเสียงสูง ต่ า ทั้ง 7 เสียง หรือที่เรียกว่า คู่แปด คือ โด เร มี ฟา ซอล ลา ที (คู่แปด คือทุกเสียง&lt;br&gt; เช่นเสียงโด ก็จะมีทั้งเสียงโดสูง และโดต่ า ทุกเสียงมีคู่เสียงทั้งหมด)&lt;br&gt; 3.แคนแปด ใหญ่กว่าแคนเจ็ด มีลูกแคน 8 คู่ (16 ลูก) คือ โด เร มี ฟา ซอล ลา ที โด เพิ่มคู่เสียง&lt;br&gt; ระดับสูงขึ้นไปให้เป็นเสียงประสานในการเล่นเพลงพื้นเมือง&lt;br&gt; 4.แคนเก้า มีลูกแคน 9 คู่ (18 ลูก) ใหญ่ที่สุด เวลาเป่าต้องใช้ลมมากจึงไม่ค่อยมีคนนิยม ในเรื่อง&lt;br&gt; ระดับเสียงของแคนเหมือนระบบเสียงดนตรีสากลนั้น เป็นเรื่องน่าสนใจ น่าที่จะได้ศึกษากันต่อไป&lt;br&gt; ว่าเพราะอะไรจึงเป็นเช่นนั้น ในขณะที่ดนตรีไทยไม่มีขั้นครึ่งเสียง และเพลงพื้นเมืองอีสานใช้เพียง &lt;br&gt; 5 ขั้น คือ โด เร มี ซอล ลา ไม่มีเสียงฟา และ ที&lt;br&gt; &lt;br&gt; &lt;b&gt;ขลุ่ยเพียงออ&lt;/b&gt;&lt;br&gt; &lt;br&gt; &lt;div class="separator" style="clear:both;text-align:center"&gt;&lt;a target="_blank" href="http://www.bngmusicthailand.com/images/1141957095/1202886393.JPG" imageanchor="1" style="clear:right;float:right;margin-bottom:1em;margin-left:1em"&gt;&lt;img border="0" height="283" src="http://www.bngmusicthailand.com/images/1141957095/1202886393.JPG" width="320"&gt;&lt;/a&gt;&lt;/div&gt;ขลุ่ยเพียงออ เป็นเครื่องดนตรีไทย ประเภทเครื่องเป่าชนิดไม่มีลิ้น ทำจากไม้รวกปล้องยาวๆ &lt;br&gt; ด้านหน้าเจาะรูเรียงกัน ส าหรับปิดเปิดเพื่อเปลี่ยนเสียง ตรงที่เป่าไม่มีลิ้นแต่มีดาก ซึ่งท าด้วยไม้อุด&lt;br&gt; เหลาเป็นท่อนกลมๆยาวประมาณ ๒ นิ้ว สอดลงไปอุดที่ปากของขลุ่ย แล้วบากด้านหนึ่งของดาก&lt;br&gt; เป็นช่องสี่เหลี่ยมเล็กๆ เราเรียกว่า ปากนกแก้ว เพื่อให้ลมส่วนหนึ่งผ่านเข้าออกท าให้เกิดเสียงขลุ่ย&lt;br&gt; ลมอีกส่วนจะวิ่งเข้าไปปลายขลุ่ยประกอบกับนิ้วที่ปิดเปิดบังคับเสียงเกิดเป็นเสียงสูงต่ าตาม&lt;br&gt; ต้องการใตปากนกแก้วลงมาเจาะ ๑ รู เรียกว่า รูนิ้วค้ำ เวลาเป่าต้องใช้หัวแม่มือค้ำปิดเปิดที่รูนี้ บาง&lt;br&gt; เลาด้านขวาเจาะเป็นรูเยื่อ ปลายเลาขลุ่ยมีรู ๔ รู เจาะตรงกันข้ามแต่เหลื่อมกันเล็กน้อย ใช้ส าหรับ&lt;br&gt; ร้อยเชือกแขวนเก็บหรือคล้องมือจึงเรียกว่า รูร้อยเชือก รวมขลุ่ยเลาหนึ่งมี ๑๔ รูด้วยกัน&lt;br&gt; รูปร่างของขลุ่ยเมือพิจารณาแล้วจะเป็นเครื่องดนตรีที่เก่าแก่ที่สุดชนิดหนึ่ง จากหลักฐานที่พบขลุ่ย&lt;br&gt; ในหีบศพภรรยาเจ้าเมืองไทยที่ริมฝั่งแม่น้ำฮวงเหอ ซึ่งมีหลักฐานจารึกศักราชไว้ไม่ต่ ากว่า ๒,๐๐๐ &lt;br&gt; ปี ปัจจุบันขลุ่ยมีราคาสูง เนื่องจากไม้รวกชนิดที่ทำขลุ่ยมีน้อยลงและใช้เวลาทำมากจึงใช้วัตถุอื่นมา&lt;br&gt; เจาะรูซึ่งรวดเร็วกว่า เช่น ไม้เนื้อแข็ง ไม้ไผ่ ไม้ชิงชัน ไม้พยุง บางครั้งอาจทำจากท่อพลาสติกแต่&lt;br&gt; คุณภาพเสียงไม่ดีเท่าขลุ่ยไม้ ขลุ่ยที่มีเสียงไพเราะมากส่วนใหญ่จะเป็นขลุ่ยผิวไม้แห้งสนิท&lt;br&gt; &lt;br&gt; &lt;b&gt;ขลุ่ยหลิบ&lt;/b&gt;&lt;br&gt; ขลุ่ยหลิบจัดเป็นขลุ่ยที่มีขนาดเล็กที่สุดใบรรดาขลุ่ยไทยทั้งหมด มีความยาว&lt;br&gt; ประมาณ 25 เซนติเมตร มีเสียงสูง ใช้ในการบรรเลงในวงมโหรีเครื่องคู่ เครื่อง&lt;br&gt; ใหญ่ และวงเครื่องสายเครื่องคู่ โดยเป็นเครื่องน าในวงเช่นเดียวกับระนาด &lt;br&gt; หรือซอด้วง นอกจากนี้ยังใช้บรรเลงในวงเครื่องสายปี่ชวา โดยบรรเลงเป็น&lt;br&gt; พวกหลังเช่นเดียวกับซออู้&lt;br&gt; &lt;br&gt; &lt;u&gt;&lt;b&gt;เครื่องตี&lt;/b&gt;&lt;/u&gt;&lt;br&gt; เครื่องตี เป็นเครื่องดนตรีที่ท าให้เกิด เสียงดนตรีด้วยการใช้ของสองสิ่งกระทบกัน ด้วยการตี &lt;br&gt; นับว่าเป็นเครื่องดนตรีประเภท เก่าแก่ที่สุดที่ที่มนุษย์รู้จักใช้ ได้มีวิวัฒนาการจากอุปกรณ์&lt;br&gt; ง่ายๆ ให้มี ความหลากหลายออกไปทั้งรูปแบบและวัสดุที่ใช้ ส าหรับเครื่องดนตรีไทย ที่เป็น&lt;br&gt; ประเภทเครื่องตีมีดังนี้ &lt;br&gt; กลองแขก กลองสะบัดชัย กลองสองหน้า กลองทัด กลองมลายู กลองยาว กลองมโหระทึก &lt;br&gt; กรับได้แก่ กรับเสภา, กรับพวง ฯลฯ ขิม ฆ้องมอญ ฆ้องวงเล็ก ฆ้องวงใหญ่ &lt;br&gt; ฉาบ ได้แก่ ฉาบเล็ก, ฉาบใหญ ฯลฯ ฉิ่ง &lt;br&gt; ตะโพน ได้แก่ ตะโพนไทย, ตะโพนมอญ &lt;br&gt; โทน โปงลาง ระนาดทุ้ม ระนาดทุ้มเหล็ก ระนาดเอก &lt;br&gt; ระนาดเอกเหล็ก ร ามะนา อังกะลุง เปิงมาง โหม่ง&lt;br&gt; &lt;br&gt; &lt;b&gt;ระนาดเอก&lt;/b&gt;&lt;br&gt; &lt;div class="separator" style="clear:both;text-align:center"&gt;&lt;a target="_blank" href="http://www.culture.go.th/knowledge/story/ranad/chap6/c6s1p1p6.jpg" imageanchor="1" style="clear:left;float:left;margin-bottom:1em;margin-right:1em"&gt;&lt;img border="0" height="180" src="http://www.culture.go.th/knowledge/story/ranad/chap6/c6s1p1p6.jpg" width="320"&gt;&lt;/a&gt;&lt;/div&gt;&lt;b&gt;&amp;nbsp;&lt;/b&gt;ระนาดเอกเป็นเครื่องตีชนิดหนึ่ง ที่วิวัฒนาการมาจากกรับ แต่เดิมคงใช้กรับสองอันตีเป็น&lt;br&gt; จังหวะ ต่อมาก็เกิดความคิดว่า ถ้าเอากรับหลาย ๆ อันวางเรียงราดลงไป แล้วแก้ไขประดิษฐ์ให้&lt;br&gt; มีขนาดลดหลั่นกัน แล้วท ารางรองอุ้มเสียง และใช้เชือกร้อยไม้กรับขนาดต่าง ๆ กันนั้นให้&lt;br&gt; ติดกัน และขึงไว้บนรางใช้ไม้ตีให้เกิดเสียง น าตะกั่วผสมกับขี้ผึ้งมาถ่วงเสียงโดยน ามาติดหัว&lt;br&gt; ท้ายของไม้กรับนั้น ให้เกิดเสียงไพเราะยิ่งขึ้น เรียกไม้กรับที่ประดิษฐ์เป็นขนาดต่างๆกันนั้นว่า &lt;br&gt; ลูกระนาด เรียกลูกระนาดที่ผูกติดกันเป็นแผ่นเดียวกันว่า ผืน&lt;br&gt; ลูกระนาดนี้ท าด้วย ไม้ชิงชัน หรือไม้แก่น เช่น ไม้ไผ่บง ไม้มะหาด ไม้พะยูงก็ได้ โดยน ามา&lt;br&gt; เหลาให้ได้ตามขนาดที่ต้องการ แล้วท ารางเพื่ออุ้มเสียงเป็นรูปคล้ายล าเรือ ให้หัวและท้ายโค้ง&lt;br&gt; ขึ้น เรียกว่า รางระนาด แผ่นไม้ที่ปิดหัวท้ายรางระนาดเราเรียกว่า โขน ระนาดเอกในปัจจุบันมี&lt;br&gt; จ านวน 21 ลูก ลูกต้นมีขนาด 39 ซม กว้างราว 5 ซม และหนา 1.5 ซม มีขนาดลดหลั่นลงไป&lt;br&gt; จนถึงลูกที่ 21 หรือลูกยอดที่มีขนาด 29 ซม เมื่อน าผืนระนาด มาแขวนบนรางแล้ว หากวัดจาก&lt;br&gt; โขนหัวรางข้างหนึ่งไปยังโขนหัวรางอีกข้างหนึ่ง จะมีความยาวประมาณ 120 ซม มีเท้ารองราง&lt;br&gt; เป็นเท้าเดี่ยว รูปคล้ายกับพานแว่นฟ้า&lt;br&gt; ระนาดเอกใช้ในวงปี่พาทย์และวงมโหรี โดยท าหน้าที่เป็นผู้นำ&lt;br&gt; &lt;br&gt; &lt;b&gt;ระนาดทุ้ม&amp;nbsp;&lt;/b&gt;&lt;br&gt; &lt;div class="separator" style="clear:both;text-align:center"&gt;&lt;a target="_blank" href="http://www.paktho.ac.th/student/thaimusic/images/thai/ranatthum.jpg" imageanchor="1" style="clear:right;float:right;margin-bottom:1em;margin-left:1em"&gt;&lt;img border="0" height="184" src="http://www.paktho.ac.th/student/thaimusic/images/thai/ranatthum.jpg" width="320"&gt;&lt;/a&gt;&lt;/div&gt;&lt;br&gt; ระนาดทุ้ม เป็นเครื่องดนตรีที่สร้างขึ้นมาในรัชกาลที่ 3 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เป็นการสร้าง&lt;br&gt; เลียนแบบระนาดเอก ใช้ไม้ชนิดเดียว กันกับระนาดเอก ลูกระนาดทุ้มมีจ านวน 17 หรือ 18 &lt;br&gt; ลูก ลูกต้นยาวประมาณ 42 ซม กว้าง 6 ซม และลดหลั่นลงมาจนถึงลูกยอด ที่มีขนาดยาว 34 &lt;br&gt; ซม กว้าง 5 ซม รางระนาดทุ้มนั้นประดิษฐ์ให้มีรูปร่างคล้ายหีบไม้ แต่เว้าตรงกลางให้โค้ง &lt;br&gt; โขนปิดหัวท้ายเพื่อ เป็นที่แขวนผืนระนาดนั้น ถ้าหากวัดจากโขนด้านหนึ่งไปยังโขนอีกด้าน&lt;br&gt; หนึ่ง รางระนาดทุ้มจะมีขนาดยาวประมาณ 124 ซม ปาก รางกว้างประมาณ 22 ซม มีเท้าเตี้ย &lt;br&gt; รองไว้ 4 มุมราง&lt;br&gt; หน้าที่ในวงของระนาดทุ้มนั้น ท าหน้าที่เดินท านองรอง ในทางของตนเองซึ่งจะมีจังหวะ&lt;br&gt; โยน ล้อ ขัด ที่ท าให้เกิดความไพเราะและเติมเต็มช่องว่างของเสียง อันเป็นเอกลักษณ์&lt;br&gt; เฉพาะตัวของระนาดทุ้ม&lt;br&gt; &lt;br&gt; &lt;b&gt;กรับ&lt;/b&gt;&lt;br&gt; &lt;div class="separator" style="clear:both;text-align:center"&gt;&lt;a target="_blank" href="http://www.lesla.com/board/file/4/20100903-143019-1842077587.jpg" imageanchor="1" style="clear:left;float:left;margin-bottom:1em;margin-right:1em"&gt;&lt;img border="0" height="240" src="http://www.lesla.com/board/file/4/20100903-143019-1842077587.jpg" width="320"&gt;&lt;/a&gt;&lt;/div&gt;&lt;b&gt;&amp;nbsp;&lt;/b&gt;กรับ เป็นเครื่องดนตรีไทยชนิดหนึ่ง ซึ่งกรับนั้นมีอยู่ 3 ชนิดด้วยกัน คือ กรับคู่ กรับพวง และกรับเสภา&lt;br&gt; &amp;nbsp; กรับคู่&amp;nbsp; ทำด้วยไม้ไผ่ผ่าซีก เหลาให้เรียบและเกลี้ยงอย่าให้มีเสี้ยน มีรูปร่างแบนตามซีกไม้ไผ่ &lt;br&gt; หนาตามขนาดของเนื้อไม้ยาวประมาณ 40 ซม ทำเป็น 2 อันหรือเป็นคู่ ใช้ตีให้ผิวกระทบกันทางด้านแบน&lt;br&gt; เกิดเป็นเสียง กรับ &lt;br&gt; &amp;nbsp;&amp;nbsp; กรับพวง เป็นกรับชนิดหนึ่งตอนกลางทำด้วยไม้บางๆหรือแผ่นทองเหลือง หรืองาหลายๆอัน&lt;br&gt; และทำไม้แก่น 2 อันเจาะรูตอนหัวร้อยเชือกประกบไว้ 2 ข้างเหมือนด้ามพัด เวลาตีใช้มือหนึ่งถือตรงหัว&lt;br&gt; ทางเชือกร้อย แล้วฟาดลงไปบนอีกฝ่ามือหนึ่ง เกิดเป็นเสียงกรับขึ้นหลายเสียง จึงเรียกว่ากรับพวงใช้เป็น&lt;br&gt; อานัตสัญญาณ เช่นในการเสด็จออกในพระราชพิธีของพระเจ้าแผ่นดิน เจ้าพนักงานจะรัวกรับ และใช้กรับ&lt;br&gt; พวงตีเป็นจังหวะ ในการขับร้อง เพลงเรือ ดอกสร้อยและใช้บรรเลงขับร้องในการแสดง นาฎกรรมด้วย &lt;br&gt; &lt;div class="separator" style="clear:both;text-align:center"&gt;&lt;a target="_blank" href="http://www.dontrithai108.com/images/column_1215186628/1215186753.jpg" imageanchor="1" style="clear:right;float:right;margin-bottom:1em;margin-left:1em"&gt;&lt;img border="0" height="240" src="http://www.dontrithai108.com/images/column_1215186628/1215186753.jpg" width="320"&gt;&lt;/a&gt;&lt;/div&gt;&lt;b&gt;&amp;nbsp;&amp;nbsp; กรับเสภา &lt;/b&gt;ทำด้วยไม้แก่น เช่นไม้ชิงชัน ยาวประมาณ 20 ซม หนาประมาณ 5 ซม เหลาเป็นรูป 4 &lt;br&gt; เหลี่ยมแต่ลบเหลี่ยม ออกเพื่อมิให้บาดมือและให้สามารถกลิ้งตัวของมันเองกลอก กระทบกันได้&lt;br&gt; โดยสะดวก ใช้บรรเลงประกอบในการขับเสภา เวลาบรรเลงผู้ขับเสภาจะใช้กรับเสภา 2 คู่ รวม 4 อัน ถือ&lt;br&gt; เรียงกันไว้บนฝ่ามือของตนข้างละคู่ กล่าวขับเสภาไปพลาง มือทั้ง 2 ข้างก็ขยับกรับแต่ละข้างให้กลอก&lt;br&gt; กระทบกันเข้าจังหวะ กับเสียงขับเสภา จึงเรียกกรับชนิดนี้ว่า กรับเสภา&lt;br&gt; &lt;br&gt; &lt;b&gt;ระนาดเอกเหล็ก&lt;/b&gt;&lt;br&gt; &lt;div class="separator" style="clear:both;text-align:center"&gt;&lt;a target="_blank" href="http://t3.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcRgGgiB9FEZQSfEYbyzt1ry7hdWiHe89tuygEkZ4iO_OOKPXzkmdQ" imageanchor="1" style="clear:left;float:left;margin-bottom:1em;margin-right:1em"&gt;&lt;img border="0" src="http://t3.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcRgGgiB9FEZQSfEYbyzt1ry7hdWiHe89tuygEkZ4iO_OOKPXzkmdQ"&gt;&lt;/a&gt;&lt;/div&gt;&lt;br&gt; ระนาดเอกเหล็ก เป็นเครื่องดนตรีที่ประดิษฐ์ขึ้นในรัชกาลที่ 4 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ แต่&lt;br&gt; เดิมลูกระนาดทำด้วยทองเหลือง จึงเรียกกันว่าระนาดทอง ในเวลาต่อมาได้มีการประดิษฐ์&lt;br&gt; ลูกระนาดด้วยเหล็ก ระนาดเอกเหล็กมีจ านวน 20 หรือ 21 ลูก โดยวางไว้บนรางที่มีไม้&lt;br&gt; ระกำวางพาดไปตามของราง หากไม่มีไม้ระก า ก็อาจใช้ผ้าพันไม้แล้วน ามารองลูกระนาดก็&lt;br&gt; ได้ ลูกต้น ของระนาดเอกเหล็กมีขนาด 23.5 ซม กว้างประมาณ 5 ซม ลดหลั่นขึ้นไปจนถึง&lt;br&gt; ลูกยอดที่มีขนาด 19 ซม กว้างประมาณ 4 ซม รางของระนาดเอกเหล็กนั้น ทำเป็นรูปสี่เหลี่ยม มีเท้ารองรับไว้ทั้ง 4 ด้านหรืออาจใส่ลูกล้อเพื่อสะดวกในการขนย้ายก็ได้&lt;br&gt; ระนาดเอกเหล็กบรรเลงเหมือนระนาดเอกทุกประการ เพียงแต่ไม่ได้ทำหน้าที่ผู้นำ&lt;br&gt; &lt;br&gt; &lt;b&gt;ระนาดทุ้มเหล็ก&lt;/b&gt;&lt;br&gt; &lt;div class="separator" style="clear:both;text-align:center"&gt;&lt;a target="_blank" href="http://www.thailandmuseum.com/bangkok/images/dontree2.jpg" imageanchor="1" style="clear:right;float:right;margin-bottom:1em;margin-left:1em"&gt;&lt;img border="0" src="http://www.thailandmuseum.com/bangkok/images/dontree2.jpg"&gt;&lt;/a&gt;&lt;/div&gt;&lt;br&gt; ระนาดทุ้มเหล็ก เป็นเครื่องดนตรีที่พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ในรัชกาลที่ 4 มี&lt;br&gt; พระราชด าริให้สร้างขึ้น ลูกระนาดทำอย่างเดียวกับระนาดเอกเหล็ก ระนาดทุ้มเหล็กมีจ านวน 16 &lt;br&gt; หรือ 17 ลูก ลูกต้นยาวประมาณ 35 ซม กว้างประมาณ 6 ซมและลดหลั่นลงไปจนถึงลูกยอดซึ่งยาว&lt;br&gt; ประมาณ 29 ซม กว้างประมาณ 5.5 ซม ตัวรางระนาดยาวประมาณ 1 เมตร ปากราง กว้างประมาณ &lt;br&gt; 20 ซม มีชานยื่นออกไปสองข้างราง ถ้านับส่วนกว้างรวมทั้งชานทั้งสองข้างด้วย รางระนาดทุ้ม&lt;br&gt; เหล็กจะกว้าง ประมาณ 36 ซม มีเท้ารองติดลูกล้อ 4 เท้า เพื่อให้เคลื่อนที่ไปมาได้สะดวก ตัวรางสูง&lt;br&gt; จากพื้นถึงขอบบนประมาณ 26 ซมระนาด ทุกชนิดที่กล่าวมานั้น จะใช้ไม้ตี 2 อัน&lt;br&gt; ระนาดทุ้มเหล็กท าหน้าที่เดินท านองคล้ายฆ้องวงใหญ่ เพียงแต่เดินทำนองห่างกว่า&lt;br&gt; &lt;br&gt; &lt;b&gt;ฆ้องวงใหญ่&amp;nbsp;&lt;/b&gt;&lt;br&gt; &lt;div class="separator" style="clear:both;text-align:center"&gt;&lt;a target="_blank" href="http://www.landco-sportland.com/data/products/55SAMKNWY001.jpg" imageanchor="1" style="clear:left;float:left;margin-bottom:1em;margin-right:1em"&gt;&lt;img border="0" height="224" src="http://www.landco-sportland.com/data/products/55SAMKNWY001.jpg" width="320"&gt;&lt;/a&gt;&lt;/div&gt;&lt;br&gt; ฆ้องวงใหญ่เป็นเครื่องดนตรีที่วิวัฒนาการมาจากฆ้องรางของอินโดนีเซีย สันนิษฐานว่ามีมา&lt;br&gt; ตั้งแต่สมัยสุโขทัย ส่วนประกอบของฆ้องวงใหญ่ประกอบด้วยลูกฆ้องและวงฆ้อง ลูกฆ้องมี &lt;br&gt; 16 ลูกท าจากทองเหลือง เรียงจากลูกเล็กด้านขวา วงฆ้องสูงประมาณ 24 เซนติเมตร ใช้หวาย&lt;br&gt; โป่งท าเป็นราง ให้หวายเส้นนอกกับเส้นในห่างกัน 14-17 เซนติเมตร ใช้หวาย 4 อัน ด้านล่าง &lt;br&gt; 2 อันขดเป็นวงขนานกัน เว้นที่ไว้ให้นักดนตรีเข้าไปบรรเลง&lt;br&gt; ฆ้องวงใหญ่เป็นเครื่องดนตรีที่สำคัญที่สุด เพราะคนที่จะเล่นดนตรีในวงปี่พาทย์ต้องมาเรียน&lt;br&gt; ฆ้องวงใหญ่ก่อน ฆ้องวงใหญ่ทำหน้าที่เดินทำนองหลัก ซึ่งถือเป็นแม่บทของเพลง&lt;br&gt; ฆ้องวงใหญ่ใช้เล่นในวงปี่พาทย์ วงปี่พาทย์นางหงส์ และวงมโหร&lt;br&gt; &lt;br&gt; &lt;b&gt;ฆ้องวงเล็ก&lt;/b&gt;&lt;br&gt; &lt;div class="separator" style="clear:both;text-align:center"&gt;&lt;a target="_blank" href="http://www.landco-sportland.com/data/products/55SAMKNWL002.jpg" imageanchor="1" style="clear:right;float:right;margin-bottom:1em;margin-left:1em"&gt;&lt;img border="0" height="224" src="http://www.landco-sportland.com/data/products/55SAMKNWL002.jpg" width="320"&gt;&lt;/a&gt;&lt;/div&gt;&lt;br&gt; ฆ้องวงเล็กเป็นเครื่องดนตรีไทยสร้างในสมัยรัชกาลที่ 3 มีลักษณะเหมือนกับฆ้องวง&lt;br&gt; ใหญ่ แต่ลูกฆ้องมีขนาดเล็กกว่า มีลูกฆ้อง 18 ลูก บรรเลงทำนองคล้ายระนาดเอก แต่&lt;br&gt; ตีเก็บถี่กว่าระนาดเอก&lt;br&gt; ฆ้องวงเล็กใช้วงปี่พาทย์ไม้แข็ง วงปี่พาทย์ไม้นวม วงปี่พาทย์นางหงส์ และวงมโหรี&lt;br&gt; &lt;br&gt; &lt;br&gt; &lt;br&gt; &lt;b&gt;ฉิ่ง&lt;/b&gt;&lt;br&gt; &lt;div class="separator" style="clear:both;text-align:center"&gt;&lt;a target="_blank" href="http://board2.yimwhan.com/data_user/kom2505/photo/cate_3/r2_1.jpg" imageanchor="1" style="clear:left;float:left;margin-bottom:1em;margin-right:1em"&gt;&lt;img border="0" height="240" src="http://board2.yimwhan.com/data_user/kom2505/photo/cate_3/r2_1.jpg" width="320"&gt;&lt;/a&gt;&lt;/div&gt;&lt;b&gt;&amp;nbsp;&lt;/b&gt;ฉิ่งเป็นเครื่องดนตรีไทยประเภทตี ท าด้วยทองเหลือง หล่อหนา ปากผายกลม 1 ชุด มี 2 ฝา ฉิ่งมี &lt;br&gt; 2 ชนิดคือ ฉิ่งส าหรับวงปี่พาทย์ และ ฉิ่งที่ใช้ส าหรับวงเครื่องสายและวงมโหรี ฉิ่งส าหรับวงปี่&lt;br&gt; พาทย์มีขนาดที่วัดฝ่านศูนย์กลาง จากขอบข้างหนึ่งไปสุดขอบอีกข้างหนึ่ง กว้างประมาณ 6 –&lt;br&gt; 6.5 ซม เจาะรูตรงกลางส าหรับร้อยเชือก เพื่อให้จับสะดวกขณะตี ส่วนฉิ่งส าหรับวงเครื่องสาย&lt;br&gt; และวงมโหรีนั้น มีขนาดเล็กกว่า วัดผ่านศูนย์กลางได้ขนาดประมาณ 5.5 ซม&lt;br&gt; เนื่องจากการตีฉิ่ง ต้องเอาขอบของฝาข้างหนึ่งกระทบกับอีกฝากหนึ่ง แล้วยกขึ้น ก็จะมีเสียงดัง&lt;br&gt; กังวานยาวดัง ฉิ่ง แต่ถ้าเอาทั้ง 2 ฝานั้นกระทบและประกบกันไว้ จะได้ยินเสียงดังสั้นๆดัง ฉับ &lt;br&gt; ดังนั้นการเรียกชื่อเครื่องดนตรีชนิดนี้ว่า ฉิ่ง ก็เพราะเรียกตามเสียงที่เกิดขึ้นนั่นเอง&lt;br&gt; &lt;br&gt; &lt;b&gt;ฉาบ&lt;/b&gt;&lt;br&gt; &lt;div class="separator" style="clear:both;text-align:center"&gt;&lt;a target="_blank" href="http://www.bs.ac.th/musicthai/img37.jpg" imageanchor="1" style="clear:right;float:right;margin-bottom:1em;margin-left:1em"&gt;&lt;img border="0" src="http://www.bs.ac.th/musicthai/img37.jpg"&gt;&lt;/a&gt;&lt;/div&gt;&lt;br&gt; ฉาบเป็นเครื่องดนตรีประเภทตี ทำด้วยโลหะคล้ายฉิ่ง แต่หล่อให้บางกว่า ฉาบมี 2 ชนิดคือฉาบ&lt;br&gt; เล็ก และ ฉาบใหญ่ ฉาบเล็กมีขนาด ที่วัดผ่านศูนย์กลางประมาณ 12 –14 ซม ส่วนฉาบใหญ่มี&lt;br&gt; ขนาดที่วัดผ่าน ศูนย์กลางประมาณ 24 –26 ซม เวลาบรรเลงใช้ 2 ฝามาตีกระทบกันให้เกิดเสียง&lt;br&gt; ตามจังหวะ เมื่อฉาบทั้งสองข้างกระทบกันขณะตีประกบกันก็ จะเกิดเสียง ฉาบ แต่ถ้าตีแล้วเปิด&lt;br&gt; เสียงก็จะได้ยินเป็น แฉ่ง แฉ่ง แฉ่ง เป็นต้น&lt;br&gt; &lt;br&gt; &lt;b&gt;กลองแขก&lt;/b&gt;&lt;br&gt; &lt;div class="separator" style="clear:both;text-align:center"&gt;&lt;a target="_blank" href="http://www1.tv5.co.th/service/mod/heritage/nation/musical/img11.jpg" imageanchor="1" style="clear:left;float:left;margin-bottom:1em;margin-right:1em"&gt;&lt;img border="0" src="http://www1.tv5.co.th/service/mod/heritage/nation/musical/img11.jpg"&gt;&lt;/a&gt;&lt;/div&gt;&lt;b&gt;&amp;nbsp;&lt;/b&gt;กลองแขกเป็นเครื่องดนตรีประเภทตีที่มีรูปร่างยาวเป็นรูปทรงกระบอก ขึ้นหนังสองข้างด้วยหนัง&lt;br&gt; ลูกวัวหรือหนังแพะหน้าใหญ่ กว้างประมาณ 20 ซม เรียกว่า หน้ารุ่ย ส่วนหน้าเล็กกว้างประมาณ &lt;br&gt; 17 ซม เรียกว่า หน้าด่าน ตัวกลองแขกทำด้วยไม้แก่น เช่นไม้ชิงชันหรือไม้มะริด การขึ้นหนังใช้&lt;br&gt; เส้นหวายผ่าซีกเป็นสายโยงเร่งเสียง โยงเส้นห่าง ๆ ในปัจจุบันอาจใช้เส้นหนังแทนเนื่องจากหา&lt;br&gt; หวายได้ยาก กลองแขกสำหรับหนึ่งมี 2 ลูก ลูกเสียงสูงเรียก ตัวผู้ ลูกเสียงต่ำเรียก ตัวเมีย ตีด้วยฝ่า&lt;br&gt; มือทั้งสองข้างให้สอดสลับกันทั้งสองลูก&lt;br&gt; &lt;br&gt; &lt;b&gt;ตะโพน&lt;/b&gt;&lt;br&gt; &lt;div class="separator" style="clear:both;text-align:center"&gt;&lt;a target="_blank" href="http://www.dontee-thai.ob.tc/img40.jpg" imageanchor="1" style="clear:right;float:right;margin-bottom:1em;margin-left:1em"&gt;&lt;img border="0" src="http://www.dontee-thai.ob.tc/img40.jpg"&gt;&lt;/a&gt;&lt;/div&gt;&lt;br&gt; ตะโพน เป็นเครื่องดนตรีที่ขึงด้วยหนัง ตัวตะโพนทำด้วยไม้สักหรือไม้ขนุน เรียกว่า หุ่น ขุดแต่งให้&lt;br&gt; เป็นโพรงภายใน ขึ้นหนัง 2 หน้า ดึงด้วยสายหนังโยงเร่งเสียงเรียกว่า หนังเรียด หน้าใหญ่มีความ&lt;br&gt; กว้างประมาณ 25 ซม เรียกว่า หน้าเท่ง ติดหน้าด้วยข้าวสุกบดผสมกับขี้เถ้าเพื่อถ่วงเสียง อีกหน้า&lt;br&gt; หนึ่งเล็กกว่ามีขนาดประมาณ 22 ซม เรียกว่า หน้ามัด ตัวกลองยาวประมาณ 48 ซม รอบ ๆ &lt;br&gt; ขอบหนังที่ขึ้นหน้า ถักด้วยหนังที่ตีเกลียวเป็นเส้นเล็กๆ เรียกว่า ไส้ละมาน แล้วจึงเอาหนังเรียด&lt;br&gt; ร้อยในช่วงของไส้ละมานทั้งสองข้าง โยงเรียงไปโดยรอบจนมองไม่เห็นไม้หุ่น มีหนังพันตรง&lt;br&gt; กลางเรียกว่า รัดอก ข้างบนรัดอกทำเป็นหูหิ้วและมีเท้ารองให้ ตัวตะโพนวางนอนอยู่บนเท้า ใช้ฝ่า&lt;br&gt; มือซ้ายขวาตีได้ทั้งสองหน้า ใช้สำหรับบรรเลงผสมอยู่ในวงปี่พาทย์ ทำหน้าที่กำกับจังหวะหน้าทับ&lt;br&gt; ต่าง ๆ&lt;br&gt; ตะโพนนี้ ถือเป็นบรมครูทางดุริยางคศิลป์ นับว่าพระประโคนธรรพ เป็นครูตะโพน เมื่อจะเริ่มการ&lt;br&gt; บรรเลง จะต้องนำดอกไม้ธูปเทียน บูชาตะโพนก่อนทุกครั้ง และถือเป็นประเพณีสืบต่อกันมา เหต&lt;br&gt; ที่ต้องกราบใหว้บูชาก็เพราะ ตะโพนเป็นเครื่องดนตรีที่บรรเลงร่วมกับ สังข บัณเฑาะว์ และ &lt;br&gt; มโหระทึก ซึ่งเป็นเครื่องดนตรีประจำองค์ของเทพเจ้า และสมมุติเทพ ดังนี้คือ สังข์ประจำพระองค&lt;br&gt; พระนารายณ์ และพระอินทร์ บัณเฑาะว์ ประจำองค์พระอิศวร มโหระทึก เป็นเครื่องดนตรีบรรเลง&lt;br&gt; ประกอบพระอิศริยยศองค์พระมหากษัตริย์ ซึ่งถือเป็นสมมุติเทพส่วนตะโพนนั้นเป็นกลองที่พระ&lt;br&gt; คเณศได้เป็นผู้ตีเป็นคนแรก ดังนั้น ตะโพนเมื่อนำมาร่วมบรรเลงในวงปี่พาทย์ จึงถือเป็นบรมครู &lt;br&gt; และทำหน้าที่กำกับหน้าทับต่างๆทั้งหมด&lt;br&gt; &lt;br&gt; &lt;b&gt;กลองทัด&lt;/b&gt;&lt;br&gt; &lt;div class="separator" style="clear:both;text-align:center"&gt;&lt;a target="_blank" href="http://krutri.samroiwit.in.th/studentwrok/pics/%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B8%94.jpg" imageanchor="1" style="clear:left;float:left;margin-bottom:1em;margin-right:1em"&gt;&lt;img border="0" src="http://krutri.samroiwit.in.th/studentwrok/pics/%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B8%94.jpg"&gt;&lt;/a&gt;&lt;/div&gt;&lt;b&gt;&amp;nbsp;&lt;/b&gt;กลองทัด เป็นกลองสองหน้าขนาดใหญ่ ขึ้นหน้าทั้งสองข้างด้วยหนังวัวหรือหนังควาย ตรึง&lt;br&gt; ด้วยหมุด หุ่นกลองทำจากไม้เนื้อแข็ง กลึงคว้านข้างในจนเป็นโพรง ป่องตรงกลางนิดหน่อย&lt;br&gt; หมุดที่ตรึง หนังเรียกว่าแส้ ทำด้วยไม้หรืองาหรือกระดูกสัตว์ตรงกลางหุ่น กลองมีห่วง&lt;br&gt; ส าหรับแขวน เรียกว่า หูระวิง กลองทัดมีขนาดหน้ากว้างเท่ากันทั้งสองข้าง วัด&lt;br&gt; เส้นผ่าศูนย์กลางได้ประมาณ 46 ซม ตัวกลองยาวประมาณ 41 ซม กลองทัดมี 2 ลูก ลูกที่มี&lt;br&gt; เสียงสูง ดัง ตุม เรียกว่า ตัวผู้ และ ลูกที่มีเสียงต่ำตีดัง ต้อม เรียกว่า ตัวเมีย ใช้ไม้ตี 1 คู่ มี&lt;br&gt; ขนาดยาวประมาณ 54 ซม&lt;br&gt; กลองทัดใช้บรรเลงในวงปี่พาทย์ โดยเล่นคู่กับตะโพน&lt;br&gt; &lt;br&gt; &lt;b&gt;กลองสองหน้า&amp;nbsp;&lt;/b&gt;&lt;br&gt; &lt;div class="separator" style="clear:both;text-align:center"&gt;&lt;a target="_blank" href="http://krutri.samroiwit.in.th/studentwrok/pics/%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B2.jpg" imageanchor="1" style="clear:right;float:right;margin-bottom:1em;margin-left:1em"&gt;&lt;img border="0" src="http://krutri.samroiwit.in.th/studentwrok/pics/%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B2.jpg"&gt;&lt;/a&gt;&lt;/div&gt;&lt;br&gt; กลองสองหน้า สันนิษฐานว่าเริ่มน ามาใชในสมัยรัชกาลที่ 2 มีลักษณะคล้ายลูกเปิงมาง &lt;br&gt; แต่ใหญ่กว่า หน้ากลองด้านกว้างเส้นผ่าศูนย์กลาง 21-24 เซนติเมตร ด้านเล็ก&lt;br&gt; ส้นผ่าศูนย์กลาง 20-22 เซนติเมตร ตัวกลองยาว 55-58 เซนติเมตร ใช้ในวงปี่พาทย์เสภา&lt;br&gt; และใช้ตีประกอบจังหวะการเดี่ยวเครื่องดนตรีต่างๆด้วย&lt;br&gt; &lt;br&gt; &lt;br&gt; &lt;br&gt; &lt;b&gt;โทน&amp;nbsp;&lt;/b&gt;&lt;br&gt; &lt;div class="separator" style="clear:both;text-align:center"&gt;&lt;a target="_blank" href="http://upload.wikimedia.org/wikipedia/th/c/ce/%E0%B9%82%E0%B8%97%E0%B8%99%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B5.jpg" imageanchor="1" style="clear:left;float:left;margin-bottom:1em;margin-right:1em"&gt;&lt;img border="0" height="240" src="http://upload.wikimedia.org/wikipedia/th/c/ce/%E0%B9%82%E0%B8%97%E0%B8%99%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B5.jpg" width="320"&gt;&lt;/a&gt;&lt;/div&gt;&lt;b&gt;&amp;nbsp;&lt;/b&gt;โทนเป็นชื่อของเครื่องหนัง ที่ขึงหนังหน้าเดียว มีสายโยงเร่งเสียงจากขอบหนังถึงคอ มีหางยื่น&lt;br&gt; ออกไปและบานปลาย มีชื่อเรียกคู่กันว่า โทนทับ โดยลักษณะรูปร่างนั้น โทนมีชื่อเรียกกันได้&lt;br&gt; ตามรูปร่างที่ปรากฏ 2 ชนิดคือ โทนชาตรี และ โทนมโหรี&lt;br&gt; โทนชาตรีนั้น ตัวโทนท าด้วยไม้ขนุน ไม้สัก หรือ ไม้กะท้อนมีขนาดปากกว้าง 17 ซม ยาว&lt;br&gt; ประมาณ 34 ซม มีสายโยงเร่งเสียงใช้หนังเรียด ตีด้วยมือข้างหนึ่ง ส่วนอีกมือหนึ่งคอยปิดเปิด &lt;br&gt; ปลายหางที่เป็นปากลำโพง ช่วยให้เกิดเสียงต่างๆ ใช้ส าหรับ บรรเลงประกอบการแสดงละคร&lt;br&gt; ชาตรี และหนังตะลุง และตีประกอบจังหวะในวงปี่พาทย์ หรือวงเครื่องสาย หรือวงมโหรีที่เล่น&lt;br&gt; เพลงภาษาเขมร หรือ ตะลุง&lt;br&gt; ส่วนโทนมโหรีนั้น ตัวโทนทำด้วยดินเผา ด้านที่ขึงหนังโตกว่า โทนชาตรี ขนาดหน้ากว้าง&lt;br&gt; ประมาณ 22 ซม ยาวประมาณ 38 ซม สายโยงเร่งเสียงใช้หวายผ่าเหลาเป็นเส้นเล็กหรือใช้ไหม&lt;br&gt; ฟั่นเป็นเกลียว ขึ้นหนังด้วยหนังลูกวัว หนังแพะ หนังงูเหลือม หรือหนังงูงวงช้าง ใช้สำหรับ&lt;br&gt; บรรเลงคู่กับรำมะนา โดยตีขัดสอดสลับกัน ตามจังหวะหน้าทับ&lt;br&gt; &lt;br&gt; &lt;b&gt;รำมะนา&lt;/b&gt;&lt;br&gt; &lt;div class="separator" style="clear:both;text-align:center"&gt;&lt;a target="_blank" href="http://www.landco-sportland.com/data/products/55SAMDMRN001.jpg" imageanchor="1" style="clear:right;float:right;margin-bottom:1em;margin-left:1em"&gt;&lt;img border="0" height="224" src="http://www.landco-sportland.com/data/products/55SAMDMRN001.jpg" width="320"&gt;&lt;/a&gt;&lt;/div&gt;&lt;br&gt; รำมะนา เป็นกลองที่ขึงหนังหน้าเดียว หน้ากลองที่ขึงหนังผายออก ตัวกลองสั้น รูปร่างคล้าย&lt;br&gt; ชามกะละมัง มีอยู่ 2 ชนิด คือ "รำมะนามโหรี" และ "รำมะนาลำตัด"&lt;br&gt; รำมะนามโหรี มีขนาดเล็ก หน้ากว้างประมาณ 26 ซม ตัวรำมะนายาว ประมาณ 7 ซม หนังที่&lt;br&gt; ขึ้นหน้าตรึงด้วยหมุดโดยรอบ จะเร่งหรือลดเสียงให้สูงต่ำไม่ได้ แต่มีเชือกเส้นหนึ่งที่เรียกว่า &lt;br&gt; สนับ ส าหรับหนุนข้างในโดยรอบ ช่วยท าให้เสียงสูงได้ บรรเลงใช้ตีด้วยฝ่ามือคู่กับโทนมโหรี&lt;br&gt; ส่วน รำมะนาำ ลำตัด มีขนาดใหญ่ หน้ากว้างประมาณ 48 ซม. ตัวรำมะนายาวประมาณ 13 ซม. &lt;br&gt; ขึ้นหนังหน้าเดียว โดยใช้เส้นหวายผ่าซีกโยงระหว่างขอบปน้ากับวงเหล็กซึ่งรองก้นใช้เป็น&lt;br&gt; ขอบ ของตัวรำมะนา และใช้ลิ่มหลายๆ อันตอกเร่งเสียงระหว่างวงเหล็กกับก้นร ามะนา &lt;br&gt; รำมะนาชนิดนี้เข้าใจว่าได้แบบอย่างมาจากชวาและเข้ามาแพร่หลายในสมัยรัชกาลที่ 5 ใช้&lt;br&gt; ประกอบการเล่นลำตัดและลิเก ลำตัด ในการประกอบการเล่นลำตัดนั้นจะใช้รำมะนากี่ลูกก็ได้ &lt;br&gt; โดยให้คนตีนั่งล้อมวงและเป็นลูกคู่ร้องไปด้วย&lt;br&gt; &lt;br&gt; &lt;b&gt;กลองสะบัดชัย&amp;nbsp;&lt;/b&gt;&lt;br&gt; &lt;div class="separator" style="clear:both;text-align:center"&gt;&lt;a target="_blank" href="http://www.dkt.ac.th/kruya/50webm6/m67/project/klong/DSC01442.JPG" imageanchor="1" style="clear:right;float:right;margin-bottom:1em;margin-left:1em"&gt;&lt;img border="0" height="320" src="http://www.dkt.ac.th/kruya/50webm6/m67/project/klong/DSC01442.JPG" width="236"&gt;&lt;/a&gt;&lt;/div&gt;&lt;br&gt; กลองสะบัดชัย เป็นกลองที่มีมานานแล้วนับหลายศตวรรษ ในสมัยก่อนใช้ ตียามออกศึก&lt;br&gt; สงคราม เพื่อเป็นสิริมงคล และเป็น ขวัญกำลังใจให้แก่เหล่าทหารหาญในการต่อ สู้ให้ได้ชัย&lt;br&gt; ชนะ ทำนองที่ใช้ในการตี กลองสะบัดชัยโบราณมี 3 ทำนอง คือ ชัยเภรี, ชัย ดิถี และชนะมาร&lt;br&gt; การตีกลองสะบัดชัยเป็นศิลปะการแสดงพื้นบ้านล้านนาอย่างหนึ่ง ซึ่งมักจะพบเห็นในขบวน&lt;br&gt; แห่หรืองานแสดงศิลปะพื้นบ้านในระยะหลังโดยทั่วไป ลีลาในการตีมีลักษณะโลดโผนเร้าใจมี&lt;br&gt; การใช้อวัยวะหรือส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย เช่นศอก เข่า ศีรษะ ประกอบในการตีด้วย ท าให้การ&lt;br&gt; แสดงการตีกลองสะบัดชัยเป็นที่ประทับใจของผู้ที่ได้ชม จนเป็นที่นิยมกันอย่างกว้างขวางใน&lt;br&gt; ปัจจุบัน &lt;p&gt;&lt;/p&gt; &lt;div style="clear:both"&gt;&lt;/div&gt; &lt;/div&gt; &lt;div class="post-footer"&gt; &lt;div class="post-footer-line post-footer-line-1"&gt;&lt;/div&gt; &lt;div class="post-footer-line post-footer-line-2"&gt;&lt;/div&gt; &lt;div class="post-footer-line post-footer-line-3"&gt;&lt;/div&gt;&lt;/div&gt; &lt;/div&gt; &lt;div class="comments" id="comments"&gt; &lt;a name="comments"&gt;&lt;/a&gt; &lt;h4&gt; 0 ความคิดเห็น: &lt;/h4&gt; &lt;dl class="avatar-comment-indent" id="comments-block"&gt; &lt;/dl&gt; &lt;p class="comment-footer"&gt; &lt;/p&gt;&lt;div id="comment-form"&gt; &lt;a name="comment-form"&gt;&lt;/a&gt; &lt;h4 id="comment-post-message"&gt;แสดงความคิดเห็น&lt;/h4&gt; &lt;p&gt; &lt;/p&gt; &lt;a target="_blank" href="https://www.blogger.com/comment/frame/8068855033932841251?po=2504827534620552193&amp;hl=th" id="comment-editor-src"&gt;&lt;/a&gt; &lt;iframe allowtransparency="true" class="blogger-iframe-colorize blogger-comment-from-post" frameborder="0" height="410" id="comment-editor" name="comment-editor" src="" width="500"&gt;&lt;/iframe&gt; &lt;script src="https://www.blogger.com/static/v1/jsbin/3469866930-comment_from_post_iframe.js" type="text/javascript"&gt; <script type="text/javascript"> BLOG_CMT_createIframe('https://www.blogger.com/rpc_relay.html', '0');