เทคโนโลยีทางการแพทย์สมัยใหม่

ตัวอย่างเทคโนโลยีการแพทย์

1.Capsule Endoscope เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการตรวจและวินิจฉัยโรค ลักษณะเป็นแคปซูล ใช้เมื่อมีข้อสงสัยต่างๆเกี่ยวกับโรคภายในลำไส้ เป็นอุปกรณ์ที่มีความแม่นยาใน การตรวจมากและผู้ป่วยจะไม่เจ็บตัวจากการตรวจเว้นแต่จะมีการเคยผ่าตัดมาก่อน ควรได้รับคาแนะนาจากแพทย์หากเกิดกรณีดังกล่าว

เทคโนโลยีทางการแพทย์สมัยใหม่

(แหล่งที่มาของรูปภาพ http://www.phukethospital.com/Thai/Health-Information/Capsule-Endoscopy.php)

2.Magnetic resonance imaging เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการตรวจและวินิจฉัยโรคเป็นการตรวจโดยใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเพื่อตรวจหาโรคในสมอง ระบบกระดูก หลอดเลือด และความ ผิดปกติของเนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ เป็นอุปกรณ์ที่มีความละเอียดสูงสามารถตรวจเนื้อเยื่ออ่อนที่อยู่ในกระดูกได้แต่ก็มีข้อยกเว้นในเรื่องของขนาดตัวของผู้ป่วยที่ใหญ่ เกินไปและในระหว่างการตรวจจะมีเสียงที่ดังรบกวนหากผู้ป่วยมีความเกร็งและกลัวอาจทำให้ได้ภาพที่ไม่สมบูรณ์ จำเป็นต้องตรวจสอบใหม่ในหลายกรณี

เทคโนโลยีทางการแพทย์สมัยใหม่

(แหล่งที่มาของรูปภาพ http://www.phukethospital.com/Thai/Hospital-Innovation/MRI-Scanner.php)

3.Ultrasound เป็นอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่ใช้ในการตรวจและวินิจฉัยโรคโดยนาคลื่นเสียงที่ใช้ใน การตรวจอวัยวะต่างๆภายในร่างกาย เพื่อดูความผิดปกติทั่วไป เช่นการดูเพศ ความ ผิดปกติของทารกในครรภ์ ความเปลี่ยนแปลงของรอยโรค โรคทั่วไปเช่นนิ่วในไต ใน ส่วนนี้ทำให้มีค่ำใช้จ่ำยที่น้อยกว่ำกำรเอ็กซเรย์ซึ่งมีอันตรำยที่น้อยกว่ำด้วยเช่นกันทั้ง ยังได้ภำพเคลื่อนไหวในเวลำนั้นๆได้อีกด้วย แต่ก็มีข้อจำกัดที่ไม่สำมำรถตรวจอวัยวะ ที่มีลม เช่น ปอด หรืออวัยวะที่เป็นกระดูกและส่วนที่มีกระดูกบังได้

เทคโนโลยีทางการแพทย์สมัยใหม่

(แหล่งที่มาของรูปภาพ https://www.radiologyinfo.org/en/info.cfm?pg=genus)

4. Digital Fluoroscopy เป็นอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่ใช้ในการตรวจและวินิจฉัยโรค เป็นการเอ็กซเรย์ร่วมกับ สารทึบรังสี ใช้เมื่อมีอาการกลืนลาบาก แสบร้อนลิ้นปี่ จุกเสียดแน่นท้อง โดยจะได้ ภาพที่ชัดเจนแม่นยาสามารถรู้ความผิดปกติได้ในช่วงเวลานั้นๆแต่ผู้ป่วยที่มีภาวะแพ้ แป้งแบเรียมซัลเฟตจะไม่สามารถตรวจด้วยเครื่องมือนี้ได้

เทคโนโลยีทางการแพทย์สมัยใหม่

(แหล่งที่มาของรูปภาพ https://www.huntingtondaily.com/2010/04/27/new-fluoroscopy-equipment-reduces-radiation-more-convenient-for-patients/)

5.หุ่นยนต์ช่วยผ่าตัด เป็นอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่ใช้ในการรักษาพยาบาล โดยการใช้หุ่นยนต์ช่วยในการผ่าตัด ทั้งในบริเวณเสี่ยงภัย บริเวณถิ่นทุรกันดารแม้กระทั่งในสงคราม ทั้งนี้ความแม่นยาในการทางานของหุ่นยนต์ยังช่วยให้แผลในการผ่าตัดเล็ดลง และผู้ป่วยฟื้นตัวได้เร็วแต่ก็เป็นบ่อเกิดของการทาให้ความสามารถของศัลยแพทย์ลดลง เนื่องจากขาดความอ่อนแข็งจากการสัมผัสเนื้อเยื่อที่เป็นโรคแลเนื้อเยื่อดี จากการใช้หุ่นยนต์ในการผ่าตัดแทน

เทคโนโลยีทางการแพทย์สมัยใหม่

(แหล่งที่มาของรูปภาพ http://www.phukethospital.com/Thai/Hospital-Innovation/Robotic-Surgery.php)

เทคโนโลยีทางการแพทย์สมัยใหม่
กลับไปด้านบน

ผู้แต่ง

บทคัดย่อ

          ปัจจุบันแพทย์และนักวิทยาศาสตร์ทั่วโลกได้ คิดค้นและพัฒนาเทคโนโลยีทางการแพทย์ใหม่ๆ ในการป้องกันโรคหรือฟื้นฟูสุขภาพของผู้ป่วยโรคต่างๆ ในหลายกลุ่มโรค หนึ่งในนั้นคือการป้องกันการเกิดแผลกดทับของผู้ป่วย เนื่องจากการเกิดแผลกดทับเป็นปัญหาสุขภาพที่ร้ายแรงสำหรับผู้ที่มีความบกพร่องในการเคลื่อนไหวหลังจากมีการเกิดแผลกดทับอาจนำไปสู่ภาวะการติดเชื้อและส่งผลให้ต้องเสียค่าใช้จ่ายสูงขึ้นในการรักษาโรคแต่ด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ทำให้ปัจจุบันสามารถช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดแผลกดทับในผู้ป่วยได้มากขึ้นซึ่งเทคโนโลยีใหม่ที่นำมาใช้ป้องกันการเกิดแผลกดทับโดยใช้หลักการฟิสิกส์ ได้แก่ การใช้ไฟฟ้ากระตุ้นกล้ามเนื้อ การถ่ายภาพความร้อนของคลื่นอินฟาเรดที่ปล่อยมาจากผิวหนังและเนื้อเยื่อ การวัดความดันระหว่างผิวหนังกับที่นอนและการใช้เซ็นเซอร์วัดความเคลื่อนไหวของผู้ป่วย

Downloads

Download data is not yet available.

References

Decubitus Ulcer Attorneys. (2017). Has Your Loved One Developed a Decubitus Ulcer? [Online]. Retrieved March 8, 2017 from https://decubitusulcervictims.com.

Gendex News. (2013). UNDERSTANDING THE ADVANTAGES OF 3D DENTAL IMAGING.[Online]. Retrieved March 8, 2017 from https://blog.gendex.com/bloggendexcom/bid/272471/Understanding-the-Advantages-of-3D-Dental-Imaging.

Goto, T., Naito, A., Tamai, N., Nakagami, G., Mo, M., and Sanada, H. (2014).“Objective evaluation for venous leg ulcer-related nociceptive pain using thermography”. Chronic Wound Care Management and Research. 1 : 23-30.

Guy, H., (2012). “Pressure ulcer risk assessment”. Nurs.Times. (108) : 16-20.

Heisler, J. (2009). Definition of Neurosurgery. [Online]. Retrieved March 8, 2017 from http//www.surgery.about.com.

Leaf Healthcare, Inc. (2017). Automatically monitor patients throughout the mobility continuum. [Online]. Retrieved March 8, 2017 from https://www.leafhealthcare.com

National Pressure Ulcer Advisory Panel. (2017). Pressure Ulcers : Skin wounds that are usually caused by nursing negligence. [Online]. Retrieved March 8, 2017 from https://powlesslaw.com/pressure-ulcers

Peralta R. (2015). Capsule Endoscopy. [Online]. Retrieved March 15, 2017 from https://emedicine.medscape.com/article/197525-overview.

Pickham, D., Ballew, B., Ebong, K., Shinn, J., Lough, M. E., and Mayer, B. (2016). Evaluating optimal patient-turning procedures for reducing hospital-acquired pressure ulcers. (LS-HAPU): study protocol for a randomized controlled trial. (17) : 190.

Reinhard, P. (2015). 5 Benefits to Using Wearable Patient Monitors: Fostering Mobility in Elderly Patients to Prevent Pressure Ulcers and Improve Health Care. [Online]. Retrieved March 8, 2017 from https://brainxchange.events/5-benefits-using-wearable-patient-monitors/#.

Rogers, R. (2013). Smart-e-Pants.[Online]. Retrieved March 8, 2017 from https://www.prevbiotech.com/html/product.html.

Steve, R. (2017). Mobility/Immobility. [Online]. Retrieved March 8, 2017 from https://www.studyblue.com/#flashcard/view/5514125.

Siddiqui,A., Behrendt,R., Lafluer,M., and Craft,S. (2013). A Continuous Bedside Pressure Mapping System for Prevention of Pressure Ulcer Development in the Medical ICU: A Retrospective Analysis, WOUNDS. 25(12) : 333-339.

Tekanan, K. (2015). Komplikasipesakit yang terlantar lama. [Online]. Retrieved March 8, 2017 fromhttps://momophysiotherapycentre.blogspot.com/2015/10/komplikasi-pesakit-yang-terlantar-lama.html.