การพัฒนาจิตตามแนวทางของ พระพุทธ ศาสนา ป. 4

การพัฒนาจิตตามแนวทางพระพุทธศาสนา ป.5
เติมคำตอบลงในช่องว่าง
 ID: 2266598
Language: Thai
School subject: สังคมศึกษา
Grade/level: 4-6
Age: 9-12
Main content: การบริหารจิตและเจริญปัญญา :
Other contents:

การพัฒนาจิตตามแนวทางของ พระพุทธ ศาสนา ป. 4
 Add to my workbooks (0)
การพัฒนาจิตตามแนวทางของ พระพุทธ ศาสนา ป. 4
 Embed in my website or blog
การพัฒนาจิตตามแนวทางของ พระพุทธ ศาสนา ป. 4
 Add to Google Classroom
การพัฒนาจิตตามแนวทางของ พระพุทธ ศาสนา ป. 4
 Add to Microsoft Teams
การพัฒนาจิตตามแนวทางของ พระพุทธ ศาสนา ป. 4
 Share through Whatsapp

Link to this worksheet:  Copy
การพัฒนาจิตตามแนวทางของ พระพุทธ ศาสนา ป. 4

Teacher_Siriwan

Show

การพัฒนาจิตตามแนวทางของ พระพุทธ ศาสนา ป. 4

What do you want to do?

การพัฒนาจิตตามแนวทางของ พระพุทธ ศาสนา ป. 4
การพัฒนาจิตตามแนวทางของ พระพุทธ ศาสนา ป. 4
Check my answersEmail my answers to my teacher

Enter your full name:

Group/level:

School subject:

Enter your teacher's email or key code:

Cancel

Please allow access to the microphone
Look at the top of your web browser. If you see a message asking for permission to access the microphone, please allow.

Close

การพัฒนาจิตตามแนวทางพระพุทธศาสนา ในการศึกษาเล่าเรียนเราจะต้องฝึกสมาธิด้วยการฟัง การอ่าน การคิด การถาม และการเขียน จึงจะได้ผลที่ดี

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

ตัวชี้วัด ป.4/6 เห็นคุณค่าและสวดมนต์ แผ่เมตตา มีสติที่เป็นพื้นฐานของสมาธิในพระพุทธศาสนาหรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด

การพัฒนาจิตตามแนวทางพระพุทธศาสนา การฝึกกำหนดความรู้สึกด้วยอายตนะภายใน ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น กายใจ ส่วนอายตนะภายนอก ได้แก่ รูป เสียง กลิ่น รส อารมณ์

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

ตัวชี้วัด ป.4/6 เห็นคุณค่าและสวดมนต์ แผ่เมตตา มีสติที่เป็นพื้นฐานของสมาธิในพระพุทธศาสนา หรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด

การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (PBL) คืออะไร สอนอย่างไรให้มีประสิทธิภาพ

  • เรื่องราวน่าสนใจ
การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (PBL) คืออะไร สอนอย่างไรให้มีประสิทธิภาพ

การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (PBL) คืออะไร สอนอย่างไรให้มีประสิทธิภาพ

โดย

ครูอาชีพดอทคอม

-

3 ตุลาคม 2563 วันที่แก้ไข: 3 ตุลาคม 2020

11728

0

แบ่งปัน

Facebook

Twitter

Pinterest

LINE

การพัฒนาจิตตามแนวทางของ พระพุทธ ศาสนา ป. 4
การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (PBL) คืออะไร สอนอย่างไรให้มีประสิทธิภาพ

เลือกหัวข้อที่ต้องการอ่านครับ

  • ขั้นที่ 1 กำหนดปัญหา
  • ขั้นที่ 2 ทำความเข้าใจกับปัญหา
  • ขั้นที่ 3 ดำเนินการศึกษาค้นคว้า
  • ขั้นที่ 4 สังเคราะห์ความรู้
  • ขั้นที่ 5 สรุปและประเมินค่าของคำตอบ
  • ขั้นที่ 6 นำเสนอและประเมินผลงาน

การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (PBL) คืออะไร สอนอย่างไรให้มีประสิทธิภาพ การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem–based Learning : PBL) คือรูปแบบการจัดการเรียนรู้ ที่เกิดขึ้นจากแนวคิดตามทฤษฎีการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์นิยม (Constructivism) โดยให้ผู้เรียนสร้าง ความรู้ใหม่ จากการใช้ปัญหาที่เกิดขึ้นจริงในโลกเป็นบริบทของการเรียนรู้ (Learning Context) เพื่อให้ผู้เรียน เกิดทักษะในการคิดวิเคราะห์และคิดแก้ปัญหา รวมทั้งได้ความรู้ตามศาสตร์ในสาขาวิชาที่ตนศึกษา ไปพร้อม กันด้วย การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานจึงเป็นผลมาจากกระบวนการทํางานที่ต้องอาศัยความเข้าใจและการ แก้ไขปัญหาเป็นหลัก ถ้ามองในแง่ของยุทธศาสตร์การสอน PBL เป็นเทคนิคการสอน ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ลง มือปฏิบัติด้วยตนเอง เผชิญหน้ากับปัญหาด้วยตนเอง จะทําให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะในการคิดหลายรูปแบบ เช่น การคิดวิจารณญาณ คิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดสร้างสรรค์ ฯลฯ

การพัฒนาจิตตามแนวทางของ พระพุทธ ศาสนา ป. 4
การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (PBL) คืออะไร สอนอย่างไรให้มีประสิทธิภาพ
ที่มา : อักษรเจริญทัศน์ อจท.

การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน ถูกพัฒนาขึ้นครั้งแรกในช่วงปลาย ค.ศ. 1969 โดยคณะวิทยาศาสตร์สุขภาพ (Faculty of Health Science) ของ McMasterUniversity ประเทศแคนนาดา ซึ่งได้ใช้กับการฝึกทักษะของนักศึกษาแพทย์ฝึกหัดโดยให้วิเคราะห์ถึงปัญหาทางการรักษาต่าง ๆ ก่อนที่ในปี ค.ศ. 1980 จะขยายไปสู่มหาวิทยาลัย และสาขาวิชาอื่น ๆ อีกหลายแห่ง ทำให้แนวการจัดการเรียนรู้รูปแบบนี้เป็นหนึ่งในแนวการจัดการเรียนรู้ที่ได้รับความนิยมอย่างมาก

การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน เป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้โดยเริ่มต้นจากปัญหาที่เกิดขึ้น ซึ่งต้องเป็นปัญหาที่ใกล้ตัวและพบเจอในชีวิตประจำวัน เพราะผู้เรียนจะรับทราบและเข้าถึงผู้เรียนได้ง่าย และสร้างองค์ความรู้ให้เกิดขึ้นโดยใช้กระบวนการทำงานแบบกลุ่ม เพื่อให้เกิดการแก้ปัญหาดังกล่าว ทำให้ตัวของปัญหานั้นคือจุดสำคัญของการจัดการเรียนรู้รูปแบบนี้

ลักษณะสําคัญของการเรียนรู้แบบ PBL

รูปแบบของการจัดการเรียนรู้แบบการใช้ปัญหาเป็นฐาน หรือ PBL มีลักษณะสําคัญดังนี้

1. ให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้อย่างแท้จริง (student-centered learning)

2. จัดผู้เรียนเป็นกลุ่มย่อย ๆ ให้มีจํานวนกลุ่มละประมาณ 5-8 คน

3. ผู้สอนทําหน้าที่ เป็นผู้อํานวยความสะดวก (facilitator) หรือผู้ให้คําแนะนํา (guide)

4. ใช้ปัญหาเป็นตัวกระตุ้น (สิ่งเร้า) ให้เกิดการเรียนรู้

5. ลักษณะของปัญหาที่นํามาใช้ ต้องมีลักษณะคลุมเครือ ไม่ชัดเจน มีวิธีแก้ไขปัญหาได้อย่าง หลากหลาย อาจมีคําตอบได้หลายคําตอบ

6. ผู้เรียนเป็นผู้แก้ปัญหาโดยการแสวงหาข้อมูลใหม่ ๆ ด้วยตนเอง (self-directed learning)

7.การประเมินผล ใช้การประเมินผลจากสถานการณ์จริง (authentic assessment) ดูจาก ความสามารถในการปฏิบัติของผู้เรียนในขณะทํากิจกรรมการเรียนรู้ (Learning process) และพิจารณาจาก ผลงานที่เกิดขึ้นจากการเรียนรู้ (Learning product)

และด้วยความที่การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานนั้น จำเป็นต้องใช้ปัญหาในการดำเนินกิจกรรม ดังนั้นการกำหนดปัญหาอย่างเหมาะสม จึงถือเป็นหัวใจสำคัญของการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบนี้ ซึ่งแนวทางในการเลือกปัญหาอย่างเหมาะสมกับการเรียนรู้รูปแบบนี้นั้น

หลักการสำคัญในการจัดการเรียนรู้ดังนี้

        – ต้องเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นในชีวิตจริงและเกิดจากประสบการณ์ของผู้เรียนหรือมีโอกาสที่ผู้เรียนจะต้องเผชิญ
        – ต้องเป็นปัญหาที่พบบ่อย มีความสำคัญ และมีข้อมูลเพียงพอสำหรับการค้นคว้า
        – ต้องเป็นปัญหาที่ยังไม่มีคำตอบที่ชัดเจนตายตัว มีความซับซ้อน คลุมเครือ เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนมีความสงสัยใคร่รู้
        – ต้องเป็นปัญหาที่มีประเด็นขัดแย้ง กันถกเถียงกัน เพื่อให้เกิดการอภิปราย
        – ต้องเป็นปัญหาที่อยู่ในความสนใจของผู้เรียน
        – ต้องเป็นปัญหาที่จำเป็นต้องระดมความคิดเห็นจากหลาย ๆ คนก่อนตัดสินใจ
        – ต้องเป็นปัญหาที่ส่งเสริมให้เกิดการพิสูจน์ข้อเท็จจริง
        – ต้องเป็นปัญหาที่สามารถมีคำตอบได้หลากหลายแนวทาง
        – ต้องเป็นปัญหาที่เหมาะสมกับวุฒิภาวะและพื้นฐานความรู้ของผู้เรียน
        – ต้องเป็นปัญหาที่จำเป็นต้องสำรวจ ค้นคว้า รวบรวมข้อมูล รวมถึงทดลอง ก่อนที่จะได้คำตอบ
        – ต้องเป็นปัญหาที่สอดคล้องกับเนื้อหาที่ต้องการให้ผู้เรียนเรียนรู้

ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานนั้น ประกอบด้วย 6 ขั้นตอน อันได้แก่

ขั้นที่ 1 กำหนดปัญหา

ผู้สอนสร้างสถานการณ์ต่าง ๆ เพื่อกระตุ้นผู้เรียน โดยอาจเป็นการแนะนำแนวทาง ยกตัวอย่างสถานการณ์ หรือถามคำถามที่ให้คิดต่อ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความสนใจและมองเห็นปัญหา มีโอกาสเลือกเฟ้นและเสนอปัญหาที่หลากหลาย และสามารถแบ่งกลุ่มตามความสนใจ  ซึ่งก่อนที่จะกำหนดปัญหานั้น ครูผู้สอนควรทดสอบความรู้พื้นฐานของผู้เรียนเสียก่อน เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการกำหนดปัญหา ซึ่งต้องเหมาะสมกับความรู้พื้นฐานที่ผู้เรียนมี

ขั้นที่ 2 ทำความเข้าใจกับปัญหา

ผู้สอนจะกระตุ้นผู้เรียนด้วยคำถามหรือการเสริมแรง เพื่อให้ผู้เรียนทำความเข้าใจกับปัญหาที่อยากรู้ โดยเน้นให้เกิดการระดมสมอง เพื่อหาแนวทางและวิธีการในการหาคำตอบ โดยมีครูผู้สอนคอยดูแลตรวจสอบเพื่อให้เกิดความถูกต้อง

ขั้นที่ 3 ดำเนินการศึกษาค้นคว้า

ผู้เรียนจะต้องดำเนินการศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบร่วมกัน โดยมีการกำหนดกติกา วางเป้าหมาย และดำเนินกิจกรรมตามระยะเวลาที่กำหนด โดยมีครูผู้สอนคอยให้คำชี้แนะและอำนวยความสะดวก

ขั้นที่ 4 สังเคราะห์ความรู้

ผู้เรียนแต่ละคนสังเคราะห์ความรู้ที่ได้จากการค้นคว้า โดยมีการนำเสนอกันภายในกลุ่ม เพื่อหาข้อสรุป ทบทวนและตรวจสอบความถูกต้อง โดยมีครูผู้สอนถามคำถามโดยกระตุ้นให้ผู้เรียนมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและเกิดความคิดรวบยอด

ขั้นที่ 5 สรุปและประเมินค่าของคำตอบ

ผู้เรียนแต่ละกลุ่มนำข้อสรุปที่ได้มาสร้างเป็นองค์ความรู้ใหม่ และเลือกวิธีที่จะนำเสนอสู่ภายนอก โดยผ่านความเห็นชอบจากครูผู้สอนในการตรวจสอบความถูกต้อง และความเหมาะสมในการนำเสนอ

ขั้นที่ 6 นำเสนอและประเมินผลงาน

ผู้เรียนแต่ละกลุ่มนำองค์ความรู้ที่ได้ไปนำเสนอตามวิธีการที่ได้กำหนดไว้ เพื่อเผยแพร่ออกสู่สาธารณะ โดยครูผู้สอนประเมินผลการเรียนรู้จากการดำเนินงานของผู้เรียนตามสภาพจริง

ผู้เรียนได้พัฒนาอะไรบ้างจากการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน

เมื่อพิจารณาจากแต่ละขั้นตอนของกิจกรรมการเรียนรู้ในแต่ละรูปแบบ จะเห็นว่าผู้เรียนได้มีโอกาส พัฒนาทั้งความรู้ในเนื้อหาวิชาและทักษะต่าง ๆ ที่เป็นเป้าหมายการพัฒนาผู้เรียนในระดับอุดมศึกษา ซึ่งพอ สรุปได้ดังนี้

1. ได้ความรู้ที่สอดคล้องกับบริบทจริงและสามารถนําไปใช้ได้

2. พัฒนาทักษะการคิดเชิงวิพากย์ (Critical Thinking) การคิดวิเคราะห์ (Analytical Thinking) การ คิดอย่างเป็นเหตุเป็นผล (Rational Thinking) การคิดสังเคราะห์ (Synthetic Thinking) การคิด สร้างสรรค์ (Creative Thinking) และนําไปสู่การคิดแก้ปัญหา (Problem Solving Thinking) ที่มี ประสิทธิผล

3. ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตัวเองอย่างต่อเนื่อง นําไปสู่การเรียนรู้ตลอดชีวิต (Life-long learning) ซึ่งเป็นคุณลักษณะที่สําคัญของบุคคลในศตวรรษที่ 21

4. ผู้เรียนสามารถทํางานและสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ

5. เป็นการสร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน

6. ความคงอยู่ (retention) ของความรู้จะนานขึ้น

จุดเด่นและข้อจํากัดของการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน

จากงานวิจัยหลายชิ้นพบว่าการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานมีจุดเด่นที่สําคัญ คือ ผู้เรียนจะมีทักษะใน การตั้งสมมติฐานและการให้เหตุผลดีขึ้น สามารถพัฒนาทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง ทํางานเป็นกลุ่มและ สื่อสารกับผู้อื่นได้ดีขึ้นและมีประสิทธิภาพ ความคงอยู่ของความรู้นานกว่าการเรียนแบบบรรยาย นอกจากนั้น บรรยากาศการเรียนรู้มีชีวิตชีวา จูงใจให้ผู้เรียนอยากเรียนรู้มากขึ้น และยังส่งเสริมความร่วมมือและการทํางาน ร่วมกันระหว่างภาควิชาหรือหน่วยงาน

ข้อจํากัดของการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ซึ่งยังเป็นประเด็นที่ถกเถียงกัน ได้แก่ ครูมีความกังวลว่า ผู้เรียนจะมีความรู้น้อยลง ความรู้ที่ได้รับจะไม่เป็นระบบ ความถูกต้องของเนื้อหาหรือข้อมูลที่ผู้เรียนไปค้นคว้า ศึกษามา ตลอดจนครูต้องมีทักษะที่หลากหลายมากกว่าการสอนแบบบรรยาย ในส่วนของผู้เรียน จะกังวล เกี่ยวกับความถูกต้องของเนื้อหา ไม่มั่นใจว่าสิ่งที่ตนเองไปเรียนรู้มาถูกต้องหรือไม่ ขอบเขตของการเรียนรู้ ต้อง เรียนรู้มากน้อยเพียงไร รวมถึงความแตกต่างกันของครูหรือผู้สอนประจํากลุ่ม นอกจากนี้อาจยังมีข้อจํากัด เกี่ยวกับงบประมาณหรือสิ่งสนับสนุนที่ใช้ จํานวนครู การบริหารจัดการ ซึ่งต้องมีการประสานงานและร่วมมือ กันอย่างดีระหว่างภาควิชา และเวลาที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน

การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน นับว่าเป็นหนึ่งในแนวการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับการศึกษาในศตวรรษที่ 21 เพราะเป็นหนึ่งในแนวการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยสามารถนำมาใช้กับผู้เรียนแทบทุกระดับชั้น โดยขึ้นอยู่กับการค้นหาปัญหาที่เหมาะสมกับพื้นฐานความรู้ของผู้เรียน

สำหรับข้อจำกัดของการจัดการเรียนรู้รูปแบบนี้ คือ จะต้องมีพื้นที่เพียงพอให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติการแบบกลุ่มย่อย มีแหล่งศึกษาค้นคว้าที่เหมาะสมและเข้าถึงง่าย และสำคัญที่สุด คือครูและบุคลากรที่เกี่ยวข้องจะต้องมีความเข้าใจและมีทัศนคติที่ดีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน จึงจะสามารถดำเนินการตามแนวการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานได้อย่างเหมาะสม

ขอบคุณที่มา :

  • นรรัชต์  ฝันเชียร สืบค้นเมื่อ 2 ตุลาคม 2563
  • ไพศาล สุวรรณน้อย สืบค้นเมื่อ 2 ตุลาคม 2563

  • แท็ก
  • PBL
  • การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
  • เทคนิคการสอน

Facebook

Twitter

Pinterest

LINE

บทความก่อนหน้านี้กยศ.เตรียมพร้อมให้กู้ยืมครบ 4 ลักษณะ ในปีการศึกษา 2564 ลดอัตราดอกเบี้ยสำหรับผู้ที่ขาดแคลนทุนทรัพย์

บทความถัดไปโรงเรียนสมเด็จพระปิยมหาราชรมณียเขต เปิดสอบพนักงานราชการครู 6 อัตรา สมัคร 14-20 ตุลาคม 2563

ครูอาชีพดอทคอม

https://www.kruachieve.com

บทความโดย : ครูอาชีพดอทคอม ติดตามได้ที่ : https://www.facebook.com/kruachieve เว็บไซต์ : https://www.kruachieve.com

บทความที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติมจากผู้เขียน

การพัฒนาจิตตามแนวทางของ พระพุทธ ศาสนา ป. 4

เรื่องราวน่าสนใจ

แนวทางการเขียนบันทึกหลังการสอน บันทึกหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยดร.อัครเดช จำนงค์ธรรม

การพัฒนาจิตตามแนวทางของ พระพุทธ ศาสนา ป. 4

เรื่องราวน่าสนใจ

แนะนำเว็บไซต์ Picker Wheel เครื่องมือช่วยในการสุ่ม การจัดกลุ่ม สร้างความตื่นเต้นในชั้นเรียน

การพัฒนาจิตตามแนวทางของ พระพุทธ ศาสนา ป. 4

เรื่องราวน่าสนใจ

แนะนำเทคนิคการสร้าง QR code อย่างง่าย ไม่หมดอายุและไม่ติดโฆษณาโดยใช้สูตรใน Google Sheet

การพัฒนาจิตตามแนวทางของ พระพุทธ ศาสนา ป. 4

เรื่องราวน่าสนใจ

แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบรวมพลัง 5 ขั้นตอน Co 5 steps

การพัฒนาจิตตามแนวทางของ พระพุทธ ศาสนา ป. 4

เรื่องราวน่าสนใจ

แนวทางการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้เชิงรุก Active Learning

การพัฒนาจิตตามแนวทางของ พระพุทธ ศาสนา ป. 4

เรื่องราวน่าสนใจ

แจกไฟล์สรุปอ่านสอบใบประกอบวิชาชีพครู แนวข้อสอบประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู

ทิ้งคำตอบไว้ ยกเลิกการตอบ

กรุณาใส่ความคิดเห็นของคุณ!

กรุณาใส่ชื่อของคุณที่นี่

คุณป้อนที่อยู่อีเมลไม่ถูกต้อง!

กรุณาใส่ที่อยู่อีเมลของคุณที่นี่

บันทึกชื่ออีเมลและเว็บไซต์ของฉันในเบราว์เซอร์นี้ในครั้งต่อไปที่ฉันแสดงความคิดเห็น

Δ

การพัฒนาจิตตามแนวทางของ พระพุทธ ศาสนา ป. 4

ค้นหา

เว็บไซต์พันธมิตรฯ

สอบ IELTS  |  IELTS Life Skills

E-sports     |  รับทำบัญชี

การพัฒนาจิตตามแนวทางของ พระพุทธ ศาสนา ป. 4

การพัฒนาจิตตามแนวทางของ พระพุทธ ศาสนา ป. 4

การพัฒนาจิตตามแนวทางของ พระพุทธ ศาสนา ป. 4

ป้ายกำกับ

COVID-19 Starfish Labz ก.ค.ศ. กระทรวงศึกษาธิการ การประกวด ข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) ครูผู้ช่วย คุรุสภา คู่มือ ณัฏฐพล ทีปสุวรรณ ดาวน์โหลด ดาวน์โหลดฟรี ตรีนุช เทียนทอง ทดสอบออนไลน์ บรรจุครู พนักงานราชการ พุทธศาสนา ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย รับเกียรติบัตรฟรี ลูกเสือ วPA วิทยฐานะ วิทยฐานะเกณฑ์ใหม่ วิทยาการคำนวณ วิทยาศาสตร์ สพฐ. สมัครงาน สมัครสอบ สสวท สอบครู สอบครูผู้ช่วย สื่อการสอน หลักสูตร อบรมออนไลน์ อบรมออนไลน์ฟรี อัมพร พินะสา เปิดภาคเรียน เรียกบรรจุครูผู้ช่วย เรียนออนไลน์ เสวนาออนไลน์ แผนการจัดการเรียนรู้ โควิด 19 โค้ดดิ้ง ใบประกอบวิชาชีพ

บทความล่าสุด

การพัฒนาจิตตามแนวทางของ พระพุทธ ศาสนา ป. 4

ดาวน์โหลด

แบบทดสอบออนไลน์ เรื่อง Be Internet Awesome ความปลอดภัยและการเป็น พลเมืองในโลกดิจิทัล รับเกียรติบัตรทางทันที ผ่านร้อยละ 80 % ขึ้นไป โดยสพป.พิจิตร เขต 2