ทํา ใบ กํา กับ ภาษี หาย

ผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม หากได้รับคำร้องจากผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการ เนื่องจากทำใบกำกับภาษี ใบเพิ่มหนี้ หรือใบลดหนี้หาย หรือชำรุด จะต้องออกใบแทนใบกำกับภาษี ใบแทนใบเพิ่มหนี้ หรือใบแทนใบลดหนี้

กรณีที่ออกใบกำกับภาษี ใบเพิ่มหนี้ ใบลดหนี้ รายการทุกอย่างถูกต้องครบถ้วนแล้ว ต่อมาสูญหาย ถูกทำลาย หรือชำรุดในส่วนสำคัญ ให้ดำเนินการออกใบแทน

ขั้นตอนการออกใบแทนใบกำกับภาษี ใบแทนใบเพิ่มหนี้ หรือใบแทนใบลดหนี้

1. ให้ผู้ประกอบการถ่ายสำเนาใบกำกับภาษี สำเนาใบเพิ่มหนี้ หรือสำเนาใบลดหนี้และ

2. ให้บันทึกรายการลงในสำเนาโดยระบุ ดังนี้

  • ใบแทนออกให้ครั้งที่

  • วัน เดือน ปี ที่ออกใบแทน

  • คำอธิบายถึงสาเหตุการออกใบแทน

  • ลงลายมือชื่อผู้ออกใบแทน

3. ให้ผู้ประกอบการบันทึกข้อความตามข้อ 2 ไว้ด้านหลังสำเนาด้วย

4. ให้ผู้ออกใบแทนบันทึกรายการการออกใบแทนในรายงานภาษีขาย ในเดือนที่มีการออกใบแทน โดยระบุชื่อผู้ซื้อ เลขที่/เล่มที่ วันที่ออกใบกำกับภาษี ใบเพิ่มหนี้หรือใบลดหนี้ที่ได้มีการออกใบแทน

ใบแทนที่ผู้ประกอบการออกให้นี้ถือเสมือนเป็นเอกสารต้นฉบับ ดังนั้นผู้ซื้อสินค้าหรือรับบริการสามารถใช้ภาษีซื้อตามใบแทนได้

ทํา ใบ กํา กับ ภาษี หาย

อ้างอิง: http://www.rd.go.th/publish/3401.0.html

  • หน้าแรก

  • ข่าวสาร

  • Blog

  • กฎหมาย

  • เงื่อนไขของกรมสรรพากรเกี่ยวกับเอกสาร ใบกำกับภาษี (Invoice)

  1. การออกใบแทนใบกำกับภาษี

        กรณีที่ผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการได้มีการทำใบกำกับภาษี สูญหาย หาย ถูกทำลาย หรือชำรุดในสาระสำคัญ แล้วมีการร้องขอให้ออกใบแทนใบกำกับภาษี

        การออกใบแทนใบกำกับภาษี ในระบบให้กด Action > Instead Invoice แล้วระบุเหตุผลของการออกใบแทน เมื่อยืนยันแล้วระบบจะทำการสร้างเอกสารใบกำกับภาษีใหม่ 1 รายการ โดยที่เลขที่เอกสารจะเป็นเลขที่เอกสารใหม่ วันที่เอกสารเป็นวันที่ทำการออกแทน สถานะเป็น Instead และใบกำกับภาษีที่เป็นใบออกแทน จะไม่สามารถทำการแก้ไขข้อมูลในเอกสารได้

    

ทํา ใบ กํา กับ ภาษี หาย

ทํา ใบ กํา กับ ภาษี หาย

ทํา ใบ กํา กับ ภาษี หาย

การออกใบแทนใบกำกับภาษี ใบเพิ่มหนี้ ใบลดหนี้     (ตามกรมสรรพากร)

        ผู้ประกอบการจดทะเบียนที่ได้จัดทำใบกำกับภาษี หรือใบเพิ่มหนี้ หรือใบลดหนี้แล้ว ต่อมาหากได้รับการร้องขอจากผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการซึ่งทำใบกำกับภาษี ใบเพิ่มหนี้ หรือใบลดหนี้สูญหาย ถูกทำลาย หรือชำรุดในสาระสำคัญ ให้ผู้ประกอบการจดทะเบียนนั้นออกใบแทนใบกำกับภาษี ใบแทนใบเพิ่มหนี้ หรือใบแทนใบลดหนี้ให้กับผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการนั้น โดยดำเนินการดังนี้
       1.   ถ่ายสำเนาใบกำกับภาษี สำเนาใบเพิ่มหนี้ หรือสำเนาใบลดหนี้ และให้บันทึกรายการดังนี้ลงในภาพถ่ายหรือด้านหลังของภาพถ่ายดังกล่าว
             (1)   ใบแทนออกให้ครั้งที่
             (2)   วัน เดือน ปี ที่ออกใบแทน 
             (3)   คำอธิบายย่อ ๆ ถึงสาเหตุที่ออกใบแทน 
             (4)   ลงลายมือชื่อของผู้ออกใบแทน 
       2.   ให้ผู้ประกอบการจดทะเบียนซึ่งออกใบแทนตาม 1. บันทึกรายการตาม (1) - (4) ไว้ด้านหลังสำเนาใบกำกับภาษี สำเนาใบเพิ่มหนี้ หรือสำเนาใบลดหนี้ด้วย 
       3.   ให้ผู้ประกอบการจดทะเบียนที่ออกใบแทนใบกำกับภาษี ใบแทนใบเพิ่มหนี้ ใบแทนใบลดหนี้ บันทึกรายการการออกใบแทน ในรายงานภาษีขายในเดือนที่มีการออกใบแทน โดยระบุชื่อผู้ซื้อ เลขที่/เล่มที่ วันที่ของใบกำกับภาษี ใบเพิ่มหนี้ หรือใบลดหนี้ ที่ได้มีการออกใบแทน ( อ้างถึง ม.86/12 แห่งประมวลรัษฎากร และประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 36)ฯ ลงวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2535)

  1. การยกเลิกใบกำกับภาษีฉบับเดิม แล้วออกฉบับใหม่ (Cancel Invoice)

                การยกเลิกใบกำกับภาษีจะเกิดขึ้นในกรณีที่ ใบกำกับภาษีฉบับเดิมมีสาระสำคัญผิด เช่น ชื่อ หรือที่อยู่ของลูกค้าไม่ตรงตามที่จดทะเบียนไว้ เป็นต้น

                การยกเลิกใบกำกับในระบบให้กด Action > Cancel Invoice แล้วเลือกเหตุที่ของการยกเลิก เมื่อทำการยืนยันการยกเลิกแล้ว ระบบจะทำการเปลี่ยนสถานะของเอกสารเดิมเป็น Cancel แล้วสร้างใบกับกำภาษีฉบับใหม่ โดยที่เลขที่เอกสารและเลขที่ใบกำกับภาษีจะเป็นเลขที่ใหม่ ส่วนวันที่เอกสารและวันที่ใบกำกับภาษีของเอกสารฉบับใหม่จะอ้างอิงวันที่ตามวันที่ของเอกสารฉบับเดิมที่ถูกยกเลิก และมีสถานะเป็น Open ผู้ใช้งานสามารถแก้ไขข้อมูลที่เป็นสาระสำคัญได้ ยกเว้นการแก้ไขส่วนที่เกี่ยวข้องกับ จำนวนเงิน จะไม่สามารถแก้ไขข้อมูลได้

                กรณีที่ยกเลิกใบกำกับภาษีจะมีผลกับรายงานภาษีขาย โดยที่จำนวนเงินฐานภาษีและจำนวนเงินภาษีในรายงานจะแสดงที่ใบกำกับภาษีฉบับเดิมที่ยกเลิก และจะมีการแสดงใบกำกับภาษีฉบับใหม่ พร้อมเหตุผลการยกเลิกของเอกสารฉบับเดิม

   

ทํา ใบ กํา กับ ภาษี หาย

ทํา ใบ กํา กับ ภาษี หาย

ทํา ใบ กํา กับ ภาษี หาย

 คำสั่งกรมสรรพากร

ที่ ป. 86/2542

เรื่อง  หลักเกณฑ์การจัดทำใบกำกับภาษีตามมาตรา 86/4 และมาตรา 86/5 แห่งประมวลรัษฎากร เฉพาะที่มีลักษณะเป็นแบบเต็มรูป

ข้อ 25  ผู้ประกอบการจดทะเบียนซึ่งจัดทำใบกำกับภาษีโดยมีรายการในส่วนที่เป็นสาระสำคัญไม่ถูกต้องครบถ้วนตามข้อ 4 ข้อ 5 ข้อ 6 และข้อ 22 เมื่อได้รับการร้องขอให้ยกเลิกใบกำกับภาษีฉบับเดิมและจัดทำใบกำกับภาษีฉบับใหม่ที่ถูกต้อง ให้ดำเนินการดังต่อไปนี้

                        (1) เรียกคืนใบกำกับภาษีฉบับเดิมและนำมาประทับตราว่า ยกเลิกหรือขีดฆ่า แล้วเก็บรวมไว้กับสำเนาใบกำกับภาษีฉบับเดิม

                        (2) จัดทำใบกำกับภาษีฉบับใหม่ซึ่งเป็นเลขที่ใหม่ แต่จะต้องลง วัน เดือน ปี ให้ตรงกับ วัน เดือน ปี ตามใบกำกับภาษีฉบับเดิม และ

                        (3) หมายเหตุไว้ในใบกำกับภาษีฉบับใหม่ว่า เป็นการยกเลิกและออกใบกำกับภาษีฉบับใหม่แทนฉบับเดิมเลขที่ ... เล่มที่ ...และหมายเหตุการยกเลิกใบกำกับภาษีไว้ในรายงานภาษีขายของเดือนภาษีที่จัดทำใบกำกับภาษีฉบับใหม่ด้วย

                        ผู้ประกอบการจดทะเบียนที่ร้องขอให้ยกเลิกใบกำกับภาษีฉบับเดิมและจัดทำฉบับใหม่ที่ถูกต้อง จะต้องถ่ายเอกสารใบกำกับภาษีฉบับเดิมที่ขอยกเลิกติดเรื่องไว้ด้วย

ที่มา : http://www.rd.go.th/publish/3568.0.html

  1. การปิดการใช้งานใบกำกับภาษี (Inactive)

       การปิดการใช้งานใบกำกับภาษี เป็นการปิดไม่ให้นำใบกำกับภาษีฉบับนั้นไปอ้างอิงในเอกสารอื่น

       การปิดการใช้งานให้กด Action > Inactive แล้วระบุเหตุผลของการปิดการใช้งานใบกำกับภาษี เมื่อยืนยันแล้วระบบจะทำการเปลี่ยนสถานะของใบกำกับภาษีเป็น Inactive และถ้าใบกำกับภาษีที่ถูกปิดการใช้งานมีการอ้างอิงใบสั่งขายหรือเอกสารอื่นๆจะมีการยกเลิกการอ้างอิงอัตโนมัติและใบกำกับภาษีนั้นจะไม่แสดงในรายงานภาษีขาย

ทํา ใบ กํา กับ ภาษี หาย

ทํา ใบ กํา กับ ภาษี หาย