คลื่นตามยาวและคลื่นตามขวาง

คลื่นกล (Mechanical Wave)เป็นคลื่นที่จำเป็นต้องอาศัยตัวกลางในการแผ่คลื่นประเภทนี้ เช่น คลื่นน้ำ คลื่นในเส้นเชือก คลื่นเสียง เป็นต้น

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic Wave)เป็นคลื่นที่เกิดจากการเหนี่ยวนำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้า ในทิศทางตั้งฉากซึ่งกันและกัน และต่างก็ตั้งฉากกับทิศทางของการแผ่ของคลื่น คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสามารถแผ่ไปในบริเวณสุญญากาศซึ่งไม่มีตัวกลางอยู่เลย หรือแผ่ผ่านบริเวณที่มีตัวกลางต่างๆ ก็ได้ คลื่นประเภทนี้ เช่น คลื่นวิทยุ เรดาร์ ไมโครเวฟ แสง รังสีอัลตราไวโอเลต รังสีเอกซ์ เป็นต้น

2. จำแนกคลื่นตามลักษณะของการสั่นของแหล่งกำเนิด หรือตามลักษณะการแผ่การจำแนกประเภทนี้ แบ่งคลื่นออกได้ 2 ชนิดคือ

ก.คลื่นตามขวาง (Transverse Waves)เป็นคลื่นที่มีทิศทางการสั่นของตัวกลางหรือทศทางการเปลี่ยนแปลง ตั้งฉากกับทิศทางการแผ่ (ทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่น) เช่น คลื่นในเส้นเชือก คลื่นน้ำ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ดังนั้น คลื่นตามขวางอาจมีทั้งคลื่นกลและคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าก็ได้

ข.คลื่นตามยาว (Longitudinal Wave)เป็นคลื่นที่มีทิศทางการสั่นของตัวกลางอยู่ในแนวขนานกับการเคลื่อนที่ของคลื่น เช่น คลื่นเสียง คลื่นที่เกิดจากการอัดและการขยายตัวในขดลวดสปริง เป็นต้น ดังนั้นคลื่นตามยาวทุกชนิดจะเป็นคลื่นกลด้วยกันทั้งสิ้น

3. จำแนกตามความต่อเนื่องของแหล่งกำเนิดการจำแนกประเภทนี้แบ่งคลื่นออกได้ 2 ชนิด คือ

ก.คลื่นดล (Pulse Wave)เป็นคลื่นที่เกิดจากแหล่งกำเนิดสั่น หรือรบกวนตัวกลางเป็นช่วงเวลาสั้นๆ ทำให้เกิดคลื่นแผ่ออกไปเป็นจำนวนน้อยๆ เพียง 1 หรือ 2 คลื่น เช่น การใช้นิ้วจุ่มที่ผิวน้ำเพียงครั้งหรือ 2 ครั้ง หรือการสะบัดเชือก เพื่อให้เกิดคลื่นในเส้นเชือกเพียงครั้งหรือ 2 ครั้ง

คลื่นต่อเนื่อง (Continuous Wave)เป็นคลื่นที่เกิดจากแหล่งกำเนิดสั่น หรือรบกวนตัวกลางอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดคลื่นแผ่ออกไปเป็นขบวนอย่างต่อเนื่อง เช่น การเกิดคลื่นผิวน้ำเนื่องจากแหล่งกำเนิดติดกับมอเตอร์ เมื่อมอเตอร์หมุนแหล่งกำเนิดจะเกิดการสั่นอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดคลื่นผิวน้ำแผ่ออกไปเป็นขบวนอย่างต่อเนื่อง หรือการสะบัดเชือกอย่างต่อเนื่องทำให้เกิดคลื่นในเชือกอย่างต่อเนื่อง ดังรูป

คลื่นตามยาวและคลื่นตามขวาง

 

l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l l

        3. คลื่นต่อเนื่อง หมายถึง คลื่นดลที่เกิดขึ้นเป็นจังหวะต่อเนื่องกันไปเรื่อย ๆ ตัวอย่างเช่น คลื่นน้ำที่เกิดขึ้นในถาดคลื่นเนื่องจากการสั่นสะเทือนของมอเตอร์ (ความถี่ลื่น เท่ากับความถี่มอเตอร์ มอเตอร์หมุนเร็วความถี่มาก มอเตอร์หมุนช้า ความถี่น้อย)

คลื่นใดบ้างที่เป็นคลื่นตามขวาง

1. คลื่นตามขวาง คือคลื่นที่มีการเคลื่อนที่หรือการสั่นของอนุภาคตัวกลางในแนวตั้งฉากกับทิศที่คลื่นแผ่ออกไป เช่น คลื่นในเส้นเชือก คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นต้น คลื่นในเส้นเชือก

คลื่นตามยาวหมายถึงอะไร

ข.คลื่นตามยาว (Longitudinal Wave)เป็นคลื่นที่มีทิศทางการสั่นของตัวกลางอยู่ในแนวขนานกับการเคลื่อนที่ของคลื่น เช่น คลื่นเสียง คลื่นที่เกิดจากการอัดและการขยายตัวในขดลวดสปริง เป็นต้น ดังนั้นคลื่นตามยาวทุกชนิดจะเป็นคลื่นกลด้วยกันทั้งสิ้น

สิ่งใดที่บ่งชี้ความแตกต่างของคลื่นตามขวางและคลื่นตามยาว

ลักษณะของคลื่นนั้น จะระบุจาก สันคลื่น หรือ ยอดคลื่น (ส่วนที่มีค่าสูงขึ้น) และ ท้องคลื่น (ส่วนที่มีค่าต่ำลง) ในลักษณะ ตั้งฉากกับทิศทางเดินคลื่น เรียก "คลื่นตามขวาง" (transverse wave) หรือ ขนานกับทิศทางเดินคลื่น เรียก "คลื่นตามยาว" (longitudinal wave)

คลื่นใดเป็นคลื่นตามยาวทั้งหมด

ข.คลื่นตามยาว (Longitudinal Wave)เป็นคลื่นที่มีทิศทางการสั่นของตัวกลางอยู่ในแนวขนานกับการเคลื่อนที่ของคลื่น เช่น คลื่นเสียง คลื่นที่เกิดจากการอัดและการขยายตัวในขดลวดสปริง เป็นต้น ดังนั้นคลื่นตามยาวทุกชนิดจะเป็นคลื่นกลด้วยกันทั้งสิ้น