พฤติกรรมการเรียนรู้ ตัวอย่าง

พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้(Learned behavior)

          พฤติกรรมแบบนี้จะเกิดขึ้นไม่ได้ถ้าไม่มีการเรียนรู้มาก่อน พฤติกรรมนี้จะเกิดขึ้นได้โดยอาศัยประสบการณ์หรือการเรียนรู้ของสัตว์ เนื่องจากพฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้เป็นพฤติกรรมที่มีความซับซ้อน ส่วนใหญจึง พบในสัตว์ชั้นสูงที่มีระบบประสาทที่เจริญดี เพื่อเพิ่มโอกาสในการเรียนรู้เพิ่มขึ้น แต่อย่างไรก็ตาม ในสัตว์ชั้นต่ำบางชนิดก็สามารถแสดงพฤติกรรมประเภทนี้ได้

ความแตกต่างระหว่างพฤติกรรมที่มีมาแต่กำเนิด และพฤติกรรมการเรียนรู้

พฤติกรรมที่มีมาแต่กำเนิด

พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้

การเกิดพฤติกรรม

แสดงพฤติกรรมได้โดยไม่ต้องมีการเรียนรู้ อันเป็นผลมาจากการควบคุมของยีน

จะแสดงพฤติกรรมได้ต้องอาศัยประสบการณ์ ที่เคยเกิดขึ้นกับชีวิตมาแล้วอย่างน้อยครั้งหนึ่ง
หรือมีการเรียนรู้มาก่อน การควบคุมเริ่มจากยีน แต่การพัฒนาให้เกิดความชำนาญในทักษะที่
หลากหลายโดยอาศัยประสบการณ์

รูปแบบการเกิดพฤติกรรม

มีรูปแบบที่แน่นอน (Fix action pattern) สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันจะแสดงออกเหมือนกัน ในการตอบสนองต่อสิ่งเร้า
และเหตุการณ์เดียวกัน

แสดงออกได้อย่างหลากหลายขึ้นกับประสบการณ์
ที่รับรู้ และการเจริญของระบบประสาท สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันอาจตอบสนองต่อสิ่งเร้าหรือ
เหตุการณ์เดียวกันได้แตกต่าง ขึ้นกับการเจริญของระบบประสาท และประสบการณ์ ของ
สิ่งมีชีวิตแต่ละตัวนั้น

           

ตัวอย่างเช่น คางคก จะกินแมลงทุกชนิดเป็นอาหาร เป็นพฤติกรรมที่มีมาแต่กำเนิด เมื่อคางคกกินผึ้งซึ่งเป็นแมลง ปรากฎว่าผึ้งต่อย ต่อมาคางคกเรียนรู้ที่จะไม่กินผึ้ง เนื่องจากเคยโดนผึ้งต่อย
               - พฤติกรรมที่คางคกกินแมลงทุกชนิด เป็นพฤติกรรมที่มีมาแต่กำเนิด
               - พฤติกรรมที่คางคก ไม่ยอมกินผึ้งอีก เนื่องจากเคยโดนผึ้งต่อย เป็นพฤติกรรมการเรียนรู้           

พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้้สามารถแบ่งย่อยออกเป็นแบบต่างๆได้ดังนี้
               ๐ พฤติกรรมการเรียนรู้แบบแฮบบิชูเอชัน ( Habituation )
               ๐ พฤติกรรมการเรียนรู้แบบฝังใจ ( Imprinting )
               ๐ พฤติกรรมการเรียนรู้แบบลองผิดลองถูก ( Trial and Error )
               ๐ พฤติกรรมการเรียนรู้แบบมีเงื่อนไข ( Conditioning )
               ๐ พฤติกรรมการเรียนรู้แบบใช้เหตุผล ( Reasoning )

                การแก้ปัญหาของลิงชิมแปนซี (chimpanzee)  ในการหยิบของที่อยู่ที่สูงหรือไกล  เมื่อนำกล้วยไปห้อยไว้บนเพดานซึ่งลิงชิมแปนซีเอื้อมถึง  ลิงชิมแพนซีสามารถแก้ไขปัญญาได้โดยนำลังไม้มาซ้อนกันจนสูงพอแล้วปีนขึ้นไปหยิบกล้วย

เพื่อเป็นการพัฒนาและส่งเสริมงานวิจัยและผลงานทางวิชาการของ สวทช. ให้มีคุณภาพ มาตรฐาน และเชื่อถือได้สอดคล้องกับหลักจริยธรรมการวิจัยและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ดังนั้น ในกรณีที่มีข้อสงสัย หรือพบเห็นการกระทำ/พฤติกรรมที่อาจมิชอบทางการวิจัย (Research misconduct) ที่เกี่ยวข้องกับ สวทช. ได้แก่

1. Fabrication การสร้างข้อมูลเท็จหรือการปั้นแต่งข้อมูลวิจัย
2. Falsification การปลอมแปลงข้อมูลหรือผลการวิจัย
3. Plagiarism การคัดลอกงานวิจัยของตนเองและผู้อื่น โดยไม่มีการอ้างถึง แหล่งข้อมูลที่ได้มา
4. อื่นๆ

ท่านสามารถแจ้งเบาะแสและร้องเรียนพฤติกรรมที่อาจมิชอบทางการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับ สวทช. ผ่านทางช่องทางที่ให้ไว้ด้านล่าง

ทั้งนี้:

1. สวทช. จะรักษาข้อมูลที่ได้รับเป็นความลับ จะไม่มีการเปิดเผยข้อมูลและตัวตนของผู้แจ้งเบาะแสหรือผู้ร้องเรียน และผู้ถูกร้องเรียนต่อสาธารณชน
2. ข้อมูลการแจ้งเบาะแสและข้อร้องเรียนที่ระบุต้องเป็นความจริง
3. หากข้อมูลไม่เพียงพอที่จะดำเนินการตรวจสอบและสืบหาข้อเท็จจริงได้ สวทช. จะยุติเรื่อง และเก็บบันทึกเป็นข้อมูลในระบบฐานข้อมูล
4. ผู้แจ้งเบาะแสหรือผู้ร้องเรียนสามารถเลือกเปิดเผยหรือไม่เปิดเผยข้อมูลส่วนตัว เช่น ระบุชื่อ-สกุล หรือ อีเมล์ของท่าน อย่างไรก็ตาม การให้ชื่อและอีเมล์จะเป็นประโยชน์ในการติดตามผลและการสืบหาข้อเท็จจริง รวมทั้งเพิ่มความน่าเชื่อถือของข้อมูล

ข้อมูลสำหรับแจ้งเบาะแสและข้อร้องเรียน

1. รายละเอียดเบาะแสหรือข้อร้องเรียนเกี่ยวกับการประพฤติมิชอบทางจริยธรรมการวิจัย (โปรดแนบหลักฐานเพิ่มเติม)*
2. อีเมล์
3. ชื่อ-สกุล

หมายเหตุ: ข้อมูลสำหรับแจ้งเบาะแสและข้อร้องเรียน ข้อ 2) อีเมล์ และ 3) ชื่อ-สกุล ผู้แจ้งเบาะแสสามารถละเว้นไว้หรือใช้อีเมล์แฝง/นามแฝงได้ อย่างไรก็ตาม การให้ข้อมูลในการติดต่อกลับ จะเป็นประโยชน์ในการติดตามผลและการสืบหาข้อเท็จจริง รวมทั้งเพิ่มความน่าเชื่อถือของข้อมูล

เด็กๆ จำเป็นต้องพร้อมตัดสินใจได้อย่างชาญฉลาดเพื่อใช้งานอินเทอร์เน็ตได้เกิดประโยชน์สูงสุด Be Internet Awesome ช่วยสอนให้เด็กๆ ได้รู้จักกับพื้นฐานสำคัญของการเป็นพลเมืองยุคดิจิทัลและความปลอดภัย เพื่อให้พวกเขาออกไปท่องโลกออนไลน์ได้อย่างมั่นใจ

พื้นฐานสำคัญ

หลักจรรยาบรรณของสุดยอดนักท่องอินเทอร์เน็ต

พฤติกรรมการเรียนรู้ ตัวอย่าง

ข่าวต่างๆ (ทั้งดีและไม่ดี) แพร่กระจายในโลกอินเทอร์เน็ตได้อย่างรวดเร็ว และหากไม่คิดให้รอบคอบ เด็กๆ อาจตกอยู่ในสถานการณ์ที่ยากลำบากซึ่งอาจมีผลกระทบในระยะยาว ดูวิธีแชร์ข้อมูลกับคนที่รู้จักและไม่รู้จักได้เลย

  • ส่งเสริมการคิดก่อนแชร์โดยใช้หลักคิดง่ายๆ ว่าการสื่อสารออนไลน์ก็เหมือนกับการสื่อสารแบบตัวต่อตัว ถ้าไม่ใช่เรื่องที่น่าพูด ก็แปลว่าไม่ใช่เรื่องที่น่าโพสต์
  • สร้างคู่มือเกี่ยวกับประเภทการสื่อสารที่ เหมาะสม (และไม่เหมาะสม)
  • เก็บรายละเอียดเกี่ยวกับครอบครัวและเพื่อนๆ ไว้เป็นความลับ

พฤติกรรมการเรียนรู้ ตัวอย่าง

คุณต้องช่วยให้เด็กๆ เข้าใจว่าผู้คนและสิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้นในโลกออนไลน์อาจไม่ได้เป็นอย่างที่เห็น ความสามารถในการแยกแยะระหว่างข้อมูลจริงและเท็จเป็นบทเรียนที่สำคัญอย่างยิ่งต่อความปลอดภัยในโลกออนไลน์

  • ถ้าเห็นคำว่า "ชนะรางวัล" หรือได้รับของ "ฟรี" แล้วรู้สึกได้ว่าดีเกินกว่าที่จะเป็นไปได้ ส่วนใหญ่ก็เป็นกับดักที่ขุดมาล่อเรานั่นแหละ
  • การแลกเปลี่ยนที่ยุติธรรมไม่ควรมีเรื่องข้อมูลส่วนตัวมาเกี่ยวข้อง
  • คิดอย่างรอบคอบทุกครั้งก่อนที่จะทำอะไรในโลกออนไลน์ และเรียนรู้ที่จะเชื่อมั่นในสัญชาตญาณของตนเอง ระแวดระวังการฟิชชิง ซึ่งก็คือการพยายามขโมยข้อมูลต่างๆ เช่น รายละเอียดการเข้าสู่ระบบหรือบัญชี โดยปลอมตัวเป็นคนที่ดูน่าเชื่อถือในอีเมล ข้อความ หรือการสื่อสารออนไลน์อื่นๆ

พฤติกรรมการเรียนรู้ ตัวอย่าง

ความเป็นส่วนตัวและความปลอดภัยส่วนบุคคลในโลกออนไลน์และออฟไลน์นั้นก็สำคัญไม่แพ้กัน การปกป้องข้อมูลที่สำคัญช่วยให้เด็กๆ หลีกเลี่ยงความเสียหายต่ออุปกรณ์ ชื่อเสียง และความสัมพันธ์ได้

  • สร้างรหัสผ่านที่จำได้ง่ายแต่หลีกเลี่ยงการใช้ข้อมูลส่วนตัว เช่น ชื่อหรือวันเกิด
  • ใช้ตัวอักษรพิมพ์ใหญ่ ตัวอักษรพิมพ์เล็ก สัญลักษณ์ และตัวเลขผสมกัน
  • R3pl@ce le++ers wit# sYmb0ls & n^mb3rs 1ike Thi$
  • อย่าใช้รหัสผ่านเดียวกันในหลายเว็บไซต์
  • สร้างรหัสผ่านให้แตกต่างกันเล็กน้อยสำหรับใช้กับหลายๆ บัญชี

พฤติกรรมการเรียนรู้ ตัวอย่าง

อินเทอร์เน็ตเป็นกระบอกเสียงอันทรงพลังในการเผยแพร่เรื่องที่ดีและไม่ดี ช่วยให้เด็กๆ เลือกทางที่ถูกต้องโดยใช้แนวคิด “จงปฏิบัติต่อผู้อื่นเหมือนที่อยากให้ผู้อื่นปฏิบัติต่อตัวเรา” กับการทำสิ่งต่างๆ ในโลกออนไลน์ ซึ่งจะช่วยให้ได้ผลลัพธ์ที่ดีสำหรับผู้อื่นและกำจัดพฤติกรรมการกลั่นแกล้งให้หมดไป

  • ใช้พลังของอินเทอร์เน็ตในการส่งพลังทางบวกให้คนรอบข้าง
  • หยุดการแพร่กระจายข้อความที่เป็นอันตรายหรือเป็นเท็จโดยการไม่ส่งต่อให้ผู้อื่น
  • เคารพในความแตกต่างของผู้อื่น
  • บล็อกพฤติกรรมที่น่ารังเกียจหรือไม่เหมาะสมทางออนไลน์
  • ยืนหยัดเพื่อสนับสนุนผู้ที่ถูกกลั่นแกล้ง
  • สนับสนุนให้เด็กๆ กล้าพูดและรายงานการกลั่นแกล้งในโลกออนไลน์

พฤติกรรมการเรียนรู้ ตัวอย่าง

บทเรียนหนึ่งที่ควรจะต้องสอนเด็กๆ ไม่ว่าจะพบสิ่งใดในโลกออนไลน์ก็คือ เมื่อใดก็ตามที่มีคำถาม พวกเขาควรพูดคุยกับผู้ใหญ่ที่ไว้วางใจได้อย่างสบายใจ ซึ่งผู้ใหญ่สนับสนุนพฤติกรรมนี้ได้ด้วยการส่งเสริมการพูดคุยแบบเปิดเผยทั้งที่บ้านและในชั้นเรียน

  • ประกาศให้ทราบอย่างชัดเจนเกี่ยวกับกฎในครอบครัวหรือชั้นเรียน และความคาดหวังเกี่ยวกับเทคโนโลยี รวมถึงผลของการใช้ในทางที่ผิด
  • พูดคุยอย่างสม่ำเสมอโดยการถามไถ่เป็นประจำและสนับสนุนให้เด็กๆ ถามคำถาม
  • ขยายวงสนทนาไปสู่ผู้ใหญ่ที่ไว้วางใจได้เช่น ครูอาจารย์, โค้ช, ที่ปรึกษา, เพื่อน และญาติพี่น้อง

เครื่องมือและแหล่งข้อมูล

เล่นอย่างปลอดภัยเรียนอย่างปลอดภัยใช้อย่างปลอดภัย

พฤติกรรมการเรียนรู้ ตัวอย่าง

พฤติกรรมการเรียนรู้ ตัวอย่าง

นักการศึกษาที่สอนเกี่ยวกับความปลอดภัยออนไลน์ในชั้นเรียนสามารถดาวน์โหลดแผนการเรียนการสอนที่ได้รับ Seal of Alignment จาก ISTE ได้แล้ว รวมถึงกิจกรรมในชั้นเรียนที่จะทำให้บทเรียนพื้นฐานต่างๆ มีชีวิตชีวา

พฤติกรรมการเรียนรู้ ตัวอย่าง

ผู้ปกครองที่พูดคุยเรื่องความปลอดภัยออนไลน์ในบ้านสามารถส่งเสริมให้ทุกคนในครอบครัวมีความรู้ความเข้าใจร่วมกันได้โดยการอ่านทบทวนพื้นฐานสำคัญต่างๆ และปฏิญาณตนร่วมกัน

พาร์ทเนอร์ของเรา

ผูู้เชี่ยวชาญด้านความปลอดภัยออนไลน์

เราทำงานร่วมกับผูู้เชี่ยวชาญด้านความปลอดภัยดิจิทัลเพื่อให้มั่นใจว่าโปรแกรมของเรามีข้อมูลทั้งหมดที่ครอบครัวและนักการศึกษาจำเป็นต้องทราบ

ข้อใดเป็นพฤติกรรมการเรียนรู้

ประเภทของพฤติกรรมการเรียนรู้ได้แก่ 1.การเรียนรู้แบบแฮบบิชูเอชันหรือความเคยชิน (habituation) 2.การเรียนรู้แบบฝังใจ (imprinting) 3.การเรียนรู้แบบมีเงื่อนไข (conditioning หรือ conditioned response หรือ conditioned reflex)

พฤติกรรมการเรียนรู้หมายถึงอะไร

โสภา ชูพิกุลชัย (2528, หน้า 111) ให้ความหมายของพฤติกรรมการเรียน หมายถึง การ กระท า หรือกิจกรรมที่นักเรียนแสดงออกในด้านการเรียน การตอบสนองหรือปฏิกิริยาที่ นักเรียนมีต่อประสบการณ์ สิ่งแวดล้อมในขณะที่เรียนด้วย ดังนั้นพฤติกรรมการเรียนของ นักเรียนนั้นขึ้นอยู่กับประสบการณ์ของนักเรียนเป็นส าคัญ

พฤติกรรมใดที่เป็นพฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้

2. พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ เช่น การแสดงพฤติกรรมของสุนัขตามที่ได้รับการฝึกมา พฤติกรรมแบบนี้จะเกิดขึ้นไม่ได้ถ้าไม่มีการเรียนรู้มาก่อน พฤติกรรมนี้จะเกิดขึ้นได้โดยอาศัยประสบการณ์หรือการเรียนรู้ของสัตว์ เนื่องจากพฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้เป็นพฤติกรรมที่มีความซับซ้อน ส่วนใหญจึงพบในสัตว์ชั้นสูงที่มีระบบประสาทที่เจริญ ...

ข้อใดเป็นพฤติกรรมแบบ แบบแฮบิชูเอชัน

ตัวอย่างของพฤติกรรมแฮบิชูเอชัน ๐ การเลิกแหงนมองตามเสียงเครื่องบินของสุนัขที่อาศัยอยู่แถวสนามบิน ๐ การเดินทางของคนที่เมื่อเดินทางครั้งแรกจะรู้สึกว่าใช้เวลานาน แต่เมื่อเดินทางบ่อยๆจะรู้สึกว่าถึงที่หมายเร็วขึ้นทั้งที่ระยะทางเท่าเดิม ๐ พฤติกรรมที่สัตว์ คุ้นเคยกับเจ้าของ