คํายืมภาษาญี่ปุ่น หมวดกีฬา

กีฬาในภาษาญี่ปุ่น

ตั้งกระทู้ใหม่

ตั้งกระทู้ใหม่

スポーツ สุโปทสึ : กีฬา
柔道 (じゅうどう)จูโด : ยูโด
空手 (からて)คะระเตะ : คาราเต้
野球 (やきゅう)ยะคิว : เบสบอล
ピンポン ปิงปง : ปิงปอง
卓球 (たっきゅう)ทัคคิว : ปิงปอง
サッカー ซักคา : ฟุตบอล
バスケットボール บะสุเค็ตโตะโบหรุ : บาสเก็ตบอล
テニス เทะนิสุ : เทนนิส
バドミントン บะโดมินต่ง : แบดมินตัน
スヌーカー สุนูคา : สนุกเกอร์
バレーボール บะเรโบหรุ : วอลเล่ย์บอล
スキー สุกี : สกี
ラグビー  ระงุบี : รักบี้
相撲 (すもう)ซุโม : ซูโม่
水泳 (すいえい)ซุยเอ : ว่ายน้ำ

คํายืมภาษาญี่ปุ่น หมวดกีฬา

ซูบารุโย 22 มี.ค. 53 เวลา 23:53 น.

1

like

235

views

Facebook Twitter

รายชื่อผู้ถูกใจกระทู้นี้ คน

ยกเลิก

คำยืมภาษาญี่ปุ่นที่มีใช้ในภาษาไทยจะมีไม่มาก  ส่วนมากเป็นชื่ออาหาร  ชื่อกีฬา  เช่น

ตัวอย่างคำยืมภาษาญี่ปุ่น

ชื่ออาหาร  เช่น  สุกี้ยากี้  ซาบะ  วาซาบิ  โมจิ  ยากิโซบะ  ซูซิ  เท็มปุระ  อูด้ง

ชื่อกีฬา  เช่น  ยูโด  คาราเต้  ซูโม่

คำอื่น ๆ  เช่น  กิโมโน  สึนามิ  คาราโอเกะ  ซาโยนาระ  ซามูไร  ฮาราคีรี

คํายืมภาษาญี่ปุ่น หมวดกีฬา

Tags: คำยืมคำยืมภาษาญี่ปุ่นตัวอย่างคำยืมภาษาญี่ปุ่น

Related deals

Best price
คํายืมภาษาญี่ปุ่น หมวดกีฬา

ส่วนลด Shopee Mall 7.7 ยกขบวนแบรนด์ดัง ลดสูงสุด 80%

คํายืมภาษาญี่ปุ่น หมวดกีฬา

อัลตร้าซอยล์ ไฮโกร+(พลัส) อัลตร้าซอยล์ไบโอ+ จุลินทรีย์เพิ่มผลผลิตให้กับพืช

คํายืมภาษาญี่ปุ่น หมวดกีฬา

คำคล้องจอง ป.3 คำคล้องจอง 2 และ 3 พยางค์

Best price
คํายืมภาษาญี่ปุ่น หมวดกีฬา

โตโต้ลดราคา 2564

ญี่ปุ่นเป็นประเทศที่มีอารยธรรมที่เป็นเอกลักษณ์และมีความเจริญก้าวหน้าในหลายด้านทั้งด้านเทคโนโลยีนวัตกรรมต่างๆ ด้านเศรษฐกิจ เป็นต้น ไทยเรามีการติดต่อกับญี่ปุ่นและได้รับวัฒนธรรมรวมถึงภาษาของญี่ปุ่นเข้ามาจากการค้าขายและเปลี่ยนสินค้าเป็นส่วนใหญ่ อีกทั้งคนไทยเริ่มนิยมศึกษาเล่าเรียนภาษาญี่ปุ่นเป็นความรู้เพิ่มขึ้น ทำให้ภาษาญี่ปุ่นเข้ามาปะปนกับไทยเราอย่างกลมกลืน

ในการจัดทำครั้งนี้ผู้เขียนได้เพิ่มเติมคำพิพากษาศาลฎีกาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2556,2557 และ 2558 บางส่วนเท่าที่พบ เพื่อทำให้ผู้ศึกษาค้นหาได้ครบถ้วนยิ้งขึ้น

การแก้ไขคำอธิบายนี้ผู้เขียนได้เพิ่มเติมคำพิพากษาศาลฎีกาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2558,2559 และ 2560 บางส่วน

ผู้เขียนได้เพิ่มคำพิพากษาศาลฎีกาปี พ.ศ. 2560 และ 2561 บางส่วน

ในการแก้ไขครั้งนี้ ผู้เขียนได้เพิ่มคำพิพากษาศาลฎีกาปี พ.ศ. 2561 และ 2562อีก

4. สัญญาจะให้ยืมมีได้หรือไม่

5. สัญญายืมใช้คงรูป (Loan for use)

5.1 ความหมายและสาระสำคัญของสัญญายืมใช้คงรูป

ก. หน้าที่ในการออกค่าฤชาธรรมเนียมในการทำสัญญา

ค่าส่งมอบและค่าส่งคืนทรัพย์สินที่ยืม

ข. หน้าที่ออกค่าใช้จ่ายบำรุงรักษาทรัพย์ที่ยืม

ค. หน้าที่เกี่ยวกับการใช้สอยทรัพย์สินที่ยืม

ง. หน้าที่ในการสงวนรักษาทรัพย์สินที่ยืม

จ. หน้าที่ในการคืนทรัพย์สินที่ยืม

5.3 ความระงับของสัญญายืมใช้คงรูป

6. ยืมใช้สิ้นเปลือง (Loan for Consumption)

6.1 ความหมายและสาระสำคัญของสัญญายืมใช้สิ้นเปลือง

6.2 หน้าที่ของผู้ยืมใช้สิ้นเปลือง

6.2.1 หน้าที่ในการออกค่าฤชาธรรมเนียมในการทำสัญญา

ค่าส่งมอบและค่าส่งคืนทรัพย์สินที่ยืม

6.2.2 หน้าที่ในการคืนทรัพย์สินที่ยืม

7. การกู้ยืมเงิน (Loan Agreement)

7.1 สัญญากู้ยืมเงินจะบริบูรณ์เมื่อมีการส่งมอบเงินที่ยืม

7.2 หลักเกณฑ์ในการกู้ยืมเงิน

7.4 การตกลงรับของแทนเงินกู้

7.4.1 การรับของแทนเงินกู้

7.4.2 การตกลงชำระหนี้เงินกู้ด้วยสิ่งของหรือทรัพย์สินอย่างอื่น

2. ความหมายและสาระสำคัญของสัญญาฝากทรัพย์

3. ความแตกต่างระหว่างสัญญาฝากทรัพย์กับสัญญาอื่น ๆ

4.1 หน้าที่เก็บรักษาทรัพย์สินที่ฝาก

4.2 หน้าที่ที่จะไม่เอาทรัพย์สินที่รับฝากออกมาใช้สอยเอง

เอาไปให้บุคคลภายนอกใช้สอย หรือให้บุคคลภายนอกเก็บรักษา

4.3 หน้าที่สงวนรักษาทรัพย์สินที่รับฝาก

4.4 หน้าที่บอกกล่าวเมื่อมีบุคคลภายนอกอ้างว่ามีสิทธิเหนือทรัพย์สินที่ฝาก

4.5 หน้าที่คืนทรัพย์สินที่ฝาก

5.1 หน้าที่จ่ายบำเหน็จค่าฝาก

5.2 หน้าที่จ่ายคืนทรัพย์สินที่ฝาก

5.3 หน้าที่ออกค่าใช้จ่ายอันควรแก่การบำรุงรักษาทรัพย์ที่ฝาก

6. ความระงับของสัญญาฝากทรัพย์

9. วิธีเฉพาะสำหรับเจ้าสำนักโรงแรม

9.1 เจ้าสำนักโรงแรมคือใคร

9.2 ความรับผิดของเจ้าสำนักโรงแรม

ข. รับผิดเพื่อการกระทำของผู้ใด

ง. ข้อตกลงยกเว้นและจำกัดความรับผิด

9.3 สิทธิของเจ้าสำนักโรงแรม

– พระราชบัญญัติห้ามเรียกดอกเบี้ยเกินอัตรา พุทธศักราช 2475

– พระราชบัญญัติห้ามเรียกดอกเบี้ยเกินอัตรา พ.ศ.2560

– พระราชบัญญัติดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมของสถาบันการเงิน พ.ศ. 2523