ทํา บัตรประชาชนครั้งแรก ไม่มี ทะเบียนบ้าน ตัวจริง

                    หากทําบัตรประชาชนหาย ก็จะไม่มีหลักฐานที่สามารถใช้ติดต่อกับหน่วยงานราชการ หรือใช้ประกอบการทำธุรกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันได้ ดังนั้น เมื่อบัตรประชาชนหายขึ้นมา ก็อย่าได้นิ่งนอนใจ ควรหาเวลารีบไปทำบัตรใหม่ ตามสถานที่ที่เราได้แจ้งไว้โดยทันที เพราะถ้าไม่มีบัตรประชาชนเมื่อสำหรับใครที่จำเป็นต้องเคลมประกันอย่างประกันสุขภาพ อาจทำให้ลำบากไม่น้อย เพราะต้องใช้เพื่อยืนยันตัวตน ส่วนใครที่ยังไม่มีประกันสุขภาพก็สามารถซื้อกับเราได้ผ่าน TIPINSURE 

การทำบัตรประชาชน จะต้องมีคุณสมบัติคือ มีสัญชาติไทย ต้องมีอายุตั้งแต่ 7 ปี แต่ไม่เกิน 70 ปี และต้องมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน (ท.ร.14) 

- ทําบัตรประชาชนครั้งแรก ต้องเตรียมอะไรบ้าง
สำหรับการเริ่มทำบัตรประชาชนครั้งแรก ควรทำภายใน 60 วัน หากพ้นกำหนดจะเสียค่าปรับไม่เกิน 100 บาท โดยต้องเตรียมหลักฐาน ดังนี้

  • ทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน
  • สูติบัตร หรือเอกสารอื่นๆ ที่หน่วยงานราชการออกให้เพื่อยืนยันตัวตน 
  • หากเปลี่ยนชื่อ ให้นำหลักฐานมาแสดงด้วย
  • หากบิดามารดาเป็นคนต่างด้าว ให้นำหลักฐานประจำตัวคนต่างด้าวของบิดามารดามายืนยัน
  • หากไม่มีหลักฐานสำคัญ ให้นำบุคคลน่าเชื่อถืออย่างน้อย 2 คน ไปพบเจ้าหน้าที่เพื่อให้การรับรอง

ทํา บัตรประชาชนครั้งแรก ไม่มี ทะเบียนบ้าน ตัวจริง

- หากบัตรประชาชนเดิมหมดอายุ ต้องทำอย่างไร
หากบัตรเดิมหมดอายุ ต้องไปยื่นคำขอทำบัตรใหม่ภายใน 60 วัน นับแต่วันหมดอายุบนบัตร โดยไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียม แต่หากพ้นกำหนด มีค่าปรับไม่เกิน 100 บาท โดยต้องใช้หลักฐานดังนี้

  • บัตรประจำตัวประชาชนใบเดิม (ที่หมดอายุ)
  • หากบัตรประชาชนใบเดิมหมดอายุเป็นเวลานานแล้ว จะต้องให้เจ้าบ้าน หรือบุคคลที่น่าเชื่อถือมารับรองด้วย

- บัตรหายอย่าเพิ่งตกใจ ขอทำบัตรประชาชนใหม่ได้
ในกรณีที่บัตรประจำตัวประชาชนหาย เสียหาย หรือถูกทำลาย ไปติดต่อขอทำใหม่ ณ ที่ว่าการอำเภอ หรือสำนักงานเขตเทศบาล ภายในเวลา 60 วันนับตั้งแต่วันที่บัตรหาย หากพ้นกำหนด ต้องเสียค่าปรับไม่เกิน 100 บาท โดยต้องใช้หลักฐาน ดังนี้

  • เอกสารที่มีรูปถ่าย ซึ่งออกให้โดยหน่วยงานราชการ เช่น ใบอนุญาตขับขี่ หลักฐานการศึกษา หรือหนังสือเดินทาง ฯลฯ
  • หากไม่มีหลักฐานข้อแรก ให้นำเจ้าบ้าน หรือบุคคลน่าเชื่อถือไปรับรองต่อเจ้าหน้าที่

ทํา บัตรประชาชนครั้งแรก ไม่มี ทะเบียนบ้าน ตัวจริง

ทําบัตรประชาชน ที่ไหนได้บ้าง?

การทำบัตรประชาชน สามารถไปติดต่อ ณ สถานที่ราชการ เช่น สำนักงานเขต, สำนักงานเทศบาล, สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง, ที่ว่าการอำเภอในพื้นที่ที่อาศัยอยู่ ปัจจุบันสามารถทําบัตรประชาชนนอกเขตได้แล้ว โดยยื่นขอทำบัตรประจำตัวประชาชนได้ทุกจังหวัดทั่วประเทศ 

นอกจากนี้ ก็ยังมีจุดบริการด่วนมหานคร (BMA Express Service) ที่เปิดให้ไปติดต่อทำบัตรประชาชน ณ สถานีรถไฟฟ้า BTS ในกรุงเทพฯ (ยกเว้นกรณีบัตรหาย ไม่สามารถติดต่อทำที่ BTS ได้)

  • สถานีรถไฟฟ้าสยาม (หน้าศูนย์การค้าสยามพารากอน)
    วันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 09.30-19.00 น.
    วันเสาร์-อาทิตย์ และนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00-18.00 น.
  • สถานีรถไฟฟ้าหมอชิต
    วันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 09.00-20.00 น.
    วันเสาร์-อาทิตย์ และนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00-18.00 น.
  • สถานีรถไฟฟ้าพร้อมพงษ์
    วันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 09.00-20.00 น.
    วันเสาร์-อาทิตย์ และนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00-18.00 น.
  • สถานีรถไฟฟ้าอุดมสุข
    วันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 10.00-19.00 น.
    วันเสาร์-อาทิตย์ และนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00-19.00 น.
  • สถานีรถไฟฟ้าวงเวียนใหญ่
    วันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 10.00-19.00 น.
    วันเสาร์-อาทิตย์ และนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00-19.00 น.

ภายในศูนย์การค้าต่างๆ ก็มีจุดบริการทําบัตรประชาชนในห้าง เพื่ออำนวยความสะดวกให้ประชาชนให้สามารถไปติดต่อได้ เช่น ศูนย์การค้าเกตเวย์เอกมัย, ห้างสรรพสินค้าแฟชั่นไอส์แลนด์, ห้างสรรพสินค้าซีคอนบางแค, ห้างสรรพสินค้าเดอะมอลล์บางแค, ห้างสรรพสินค้าตั้งฮั่วเส็ง เป็นต้น

จะเห็นได้ว่าการทำบัตรประชาชนในปัจจุบันมีความสะดวกรวดเร็วกว่าที่คิด หากมีข้อสงสัยเกี่ยวกับการทำบัตรประชาชน สามารถติดต่อสอบถามสำนักบริหารทะเบียน กรมการปกครอง Call Center 1548 หรือติดต่อที่สำนักงานเขต และที่ว่าการอำเภอทั่วประเทศ.

          สุดท้าย บริการทั่วไปจะเหมือนกับที่บุคคลอื่นๆ มาทำบัตรประชาชนกัน คือ ถ้าผู้ปกครองสะดวกที่จะพาบุตรหลานมาทำบัตรประชาชนก็สามารถมาทำได้ที่สำนักงานเขตและที่ว่าการอำเภอทั่วประเทศ ซึ่งก็จะมีขั้นตอนตามปกติทั่วไปของการทำบัตรประชาชน โดยขั้นตอนทั้งหมดหลังจากวันที่ 9 ก.ค. ระเบียบเหล่านี้จะชัดเจน เพราะจะต้องพร้อมที่จะดำเนินการโดยลักษณะบัตรประชาชนของเด็กจะเหมือนกับของผู้ใหญ่ทุกประการ และมีอายุ 8 ปี นับแต่วันเกิดของผู้ถือบัตรที่ถึงกำหนดภายหลังจากวันออกบัตร

1. ผู้ขอทำบัตรประจำตัวประชาชนจะต้องไม่เป็นบุคคลที่มีรายชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านกลาง
2. ผู้ขอทำบัตรประจำตัวประชาชนจะต้องมีข้อมูลในระบบฐานข้อมูลของกระทรวงมหาดไทยและข้อมูลส่วนบุคคลจะต้องถูกต้องตรงกับฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร
3. สำหรับกรณีคนไทยที่ยังไม่เคยยื่นคำขอมีบัตร (กรณีมีบัตรครั้งแรก)ไม่สามารถยื่นขอทำบัตรในต่างประเทศได้ หากประสงค์จะทำบัตรจะต้องไปดำเนินการยื่นคำขอในประเทศไทยเท่านั้น โดยท่านสามารถศึกษาข้อมูลได้ที่ –> การมีบัตรประจำตัวประชาชนครั้งแรก
4. ท่านไม่สามารถทำบัตรประชาชนใหม่ได้ หากบัตรใบเดิมยังมีอายุเหลือเกินกว่า 60 วัน (ยกเว้นกรณีบัตรหาย)

ทําบัตรประชาชนต้องใช้ทะเบียนบ้านตัวจริงไหม

สำหรับการเริ่มทำบัตรประชาชนครั้งแรก ควรทำภายใน 60 วัน หากพ้นกำหนดจะเสียค่าปรับไม่เกิน 100 บาท โดยต้องเตรียมหลักฐาน ดังนี้ ทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน สูติบัตร หรือเอกสารอื่นๆ ที่หน่วยงานราชการออกให้เพื่อยืนยันตัวตน หากเปลี่ยนชื่อ ให้นำหลักฐานมาแสดงด้วย

การทำบัตรประจำตัวประชาชนต้องมีหลักเกณฑ์อย่างไร

ผู้ที่มีอายุครบเจ็ดปีบริบูรณ์ ผู้ที่ได้สัญชาติไทย หรือได้รับอนุมัติให้มีสัญชาติไทย หรือได้กลับคืนสัญชาติไทย ตามกฎหมายว่าด้วยสัญชาติ หรือตามคำพิพากษาอันถึงที่สุดของศาล ผู้ที่ได้รับการเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน (ทร.14) กรณีตกสำรวจหรือแจ้งเกิดเกินกำหนด ผู้ที่พ้นจากสภาพการได้รับการยกเว้นไม่ต้องมีบัตรประจำตัวประชาชน

การทำบัตรประชาชนครั้งแรกต้องใช้เอกสารอะไรบ้าง

หลักฐานในการทำบัตรประชาชนครั้งแรกของลูก สูติบัตร (ตัวจริงหรือถ่ายเอกสาร) หรือหลักฐานอื่นที่ราชการออกให้ เช่น ใบสุทธิ สำเนาทะเบียนนักเรียน หนังสือเดินทาง เป็นต้น เพื่อแสดงว่าเป็นบุคคลเดียวกับผู้ที่มีชื่อในทะเบียนบ้าน สำเนาทะเบียนบ้าน ซึ่งเด็กมีชื่ออยู่

การขอมีบัตรประจำตัวประชาชนจะดำเนินการเมื่อใด

ผู้มีสัญชาติไทยซึ่งมีอายุตั้งแต่สิบห้าปีบริบูรณ์ แต่ไม่เกินเจ็ดสิบปีบริบูรณ์ และมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน ต้องมีบัตรประจำตัวประชาชนตามบทบัญญัติมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติบัตรประจำตัวประชาชน พ.ศ.2526 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติบัตรประจำตัวประชาชน (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2542 ผู้ซึ่งได้รับการยกเว้นไม่ต้องมีบัตร ซึ่งมีบัตร ...