โรง พยาบาลธรรมศาสตร์เปิดเสาร์อาทิตย์ไหม

3.ผู้รับบริการจะได้รับการตรวจตามเวลานัด กรณีมาหลังเวลานัดหมาย ท่านจะต้องรอคิวตรวจเป็นลำดับสุดท้ายของผู้ที่มีคิวนัดหมายทั้งหมด

4.กรณีไม่มีนัดเจาะเลือด หรือ ตรวจคัดกรองอื่นๆ ก่อนพบแพทย์ ควรมาถึงโรงพยาบาลก่อนเวลานัดพบแพทย์ 30 นาที / กรณีมีเจาะเลือด ควรมาก่อนเวลานัด 2 ชั่วโมง

สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ ศูนย์บริการข้อมูล โทร.0 2926 9860 (วันและเวลาราชการ)

คลินิกพิเศษเฉพาะทาง แพทย์นัดตรวจ(นอกเวลาราชการ) เวลาเปิด-ปิดรับเบอร์คิว วันจันทร์-ศุกร์ (เฉพาะวันราชการ) เวลาเปิด-ปิด รับเบอร์คิว 15.00 - 19.00 น. ** ขอปิดรับก่อนเวลา ถ้าคิวเต็ม ** ( เริ่มเรียกคิว เวลา 15.00 น. ) วันเสาร์ เวลาเปิด-ปิด รับเบอร์คิว เวลา 07.00 - 11.00 น. ** ขอปิดรับก่อนเวลา ถ้าคิวเต็ม ** ( เริ่มเรียกคิว เวลา 07.00 น. ) location_on สถานที่รับบริการ อาคาร ม.ร.ว.สุวพรรณ สนิทวงศ์ และ อาคารดุลโสภาคย์ **นัดล่วงหน้า (เฉพาะผู้ป่วยที่มีบัตรรพ.ธรรมศาสตร์ฯ) โทร. 02 926 9860 วันราชการ (08.00 - 16.00 น.) ปิดพักเที่ยง หรือ โทร.นัดคลินิกโดยตรง...(คลิกรายละเอียด) (ยกเว้น คลินิกพิเศษทันตกรรม นัดโดยตรงกับทางคลินิกเท่านั้น) Link ข้อมูลคลินิก

คลินิกพิเศษเฉพาะทาง (นอกเวลาราชการ)

วันจันทร์-ศุกร์ (เฉพาะวันราชการ)

เวลาเปิด-ปิด รับเบอร์คิว 15.00 - 18.00 น.

** ขอปิดรับก่อนเวลา ถ้าคิวเต็ม ** ( เริ่มเรียกคิว เวลา 15.00 น. )

เวลาเปิด-ปิด รับเบอร์คิว เวลา 07.00 - 11.00 น.

** ขอปิดรับก่อนเวลา ถ้าคิวเต็ม ** ( เริ่มเรียกคิว เวลา 07.00 น. )

►สถานที่รับบริการ    อาคาร ม.ร.ว.สุวพรรณ สนิทวงศ์ และ อาคารดุลโสภาคย์

**นัดล่วงหน้า ** นัดหมายล่วงหน้า (เฉพาะผู้ที่มีเลขประจำตัวผู้ป่วย (HN) ของโรงพยาบาล) **

- โทร. 02 926 9860 เวลา 08.00 - 16.00 น. ไม่ปิดพักเที่ยง (เฉพาะวันราชการ)

- กดแถบริชเมนู Line @ Thammasat_Hospital “นัดหมายคลินิกพิเศษเฉพาะทาง (นอกเวลาราชการ)”

- ยกเว้นคลินิกพิเศษทันตกรรม โทรศัพท์นัดหมายโดยตรงกับทางคลินิกเท่านั้น โทร. 02 926 9371

   • กรอกข้อมูลผู้ป่วยใหม่ ณ เคาน์เตอร์สีฟ้า (ตรงข้ามงานประกันสุขภาพ)หรือลงทะเบียนผู้ป่วยใหม่ออนไลน์

► ผู้ป่วยเก่า /ผู้ป่วยมาไม่ตรงวันนัด

   • แสดงบัตรประจำตัวประชาชน

   • นักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แสดงบัตรนักศึกษา

   • เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลธรรมศาสตร์ , เจ้าหน้าที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แสดงบัตรเจ้าหน้าที่
โรง พยาบาลธรรมศาสตร์เปิดเสาร์อาทิตย์ไหม


ประวัติหลวงพ่อแม้น วัดเกาะสุวรรณาราม
#หลวงพ่อแม้น อัคคจิตโต วัดเกาะสุวรรณาราม แขวงคลองถนน เขตสายไหม กทม.
…….หลวงท่านเป็นศิษย์เอกเพียงผู้เดียว ของพระเดชพระคุณท่านพระครูพิศาลวิริยะคุณ (ลป.สงวน ธัมมโชติ) พระอภิญญาจารย์ อดีตเจ้าอาวาสวัดเกาะสุวรรณาราม
#ชาติกำเนิด
ท่านถือกำเนิดเมื่อวันอาทิตย์ที่ ๒๓ ตุลาคม ๒๔๗๐ ตรงกับแรม ๑๓ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีเถาะ ณ บ้านออเกาะ (ชุมชนวัดเกาะสุวรรณาราม) หมู่ที่ ๓ ต.คลองถนน อำเภอบางเขน (ปัจจุบันอยู่ในเขตสายไหม) กทม.
บิดาชื่อ คุณพ่อผิน เชื้อแก้ว
มารดาชื่อ คุณแม่มาลัย สองห้อง (เชื้อแก้ว)
มีพี่น้องร่วมอุทรทั้งสิ้น ๘ คน ดังนี้
๑. นายม้วน เชื้อแก้ว ถึงแก่กรรม
๒. ลพ.แม้น อัคคจิตโต
๓. พระภิกษุล้วน เชื้อแก้ว มรณภาพแล้ว
๔. นางลมูล อุทัยฉาย (เชื้อแก้ว) ถึงแก่กรรม
๕. พระอาจารย์จวน สุทธจิตโต
๖. นางกุหลาบ เชื้อแก้ว
๗. พระภิกษุโปร่ง เชื้อแก้ว มรณภาพแล้ว
๘. นายละม่อม เชื้อแก้ว ถึงแก่กรรม
#เพศฆราวาส
ชีวิตวัยเยาว์ ท่านเรียนหนังสือที่โรงเรียนประชาบาล วัดเกาะสุวรรณาราม จนจบชั้น ป.๔ เมื่อพ.ศ. ๒๔๘๒ จากนั้นออกมาช่วยบิดา มารดา ทำนา ท่านเล่าว่า “สมัยเด็กๆ ลำบากมาก ต้องเลี้ยงดูน้องๆ หลายคน ประกอบกับช่วงนั้นเกิดสงครามหาเอเชียบูรพา และสงครามโลกครั้งที่ ๒ ด้วย
พอหลังสงครามก็เกิดน้ำท่วมใหญ่ พ.ศ.๒๔๘๕ พอหลังสงครามสงบ และน้ำลดแล้ว ก็มารับจ้างทำนาบ้าง ทำงานก่อสร้างบริเวณสนามบินดอนเมือง ” นอกจากนี้ท่านยังเล่าว่า ” มีเพื่อนรุ่นพี่ได้ชวนท่านไปทำนาเกลือ และจับปูแสมมาดอง เพื่อนำกลับมาขาย ทำได้ประมาณ ๒ ปีเศษก็ต้องเลิกเพราะเกลือราคาตกมากจึงได้กลับมาทำนาต่อ”
สมัยวัยหนุ่มท่านมีเพื่อนสนิทคนหนึ่ง ชื่อ ร.ต.เสน่ห์ ทองหยด (ถึงแก่กรรมแล้ว) เมื่อสมัยหนุ่ม ดำนา ออกแขกเกี่ยวข้าวด้วยกัน ไปไหนมาไหนด้วยกันเสมอเป็นเสมือนคู่แฝด
#เข้าสู่ร่มกาสาวพัสตร์
เมื่อสมัยหนุ่ม ท่านและ ร.ต.เสน่ห์ เคยบอกว่าจะบวชพร้อมกัน แต่มาติดที่ฐานะทางบ้าน และอีกประการหนึ่ง ร.ต.เสน่ห์นั้นติดราชการทหาร ต้องรอไปก่อน ส่วนท่านมิได้ละความตั้งใจที่จะบวช เมื่ออายุครบบวช มารดาของท่านจึงปรึกษาและไหว้วานให้คุณลุงสาย และคุณป้าจันทน์ พระเทพ เป็นธุระจัดงานบวชให้ (เนื่องจากท่านทั้งสองสนิทสนมกับหลวงปู่สงวน)
โดยอุปสมบทที่พัทสีมา วัดเกาะสุวรรณาราม โดยมีพระครูสังฆวิชิต (หลวงปู่สงวน ธัมมโชติ สมณศักดิ์สุดท้าย ที่พระครูพิศาลวิริยคุณ) เป็นพระอุปัชฌาย์ พระอาจารย์เมฆ จิมิโณ เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระอาจารย์สง่า ธรรมเสวี เป็นพระอนุสาวนาจารย์
เมื่ออุปสมบทแล้ว ท่านได้จำพรรษา อยู่ที่วัดเกาะสุวรรณาราม ได้ศึกษาพระปริยัติธรรม และกรรมฐาน รวมถึงสรรพวิชาอาคม จากหลวงปู่สงวน เป็นองค์ปฐม หลังจากที่ท่านสอบได้นักธรรมชั้นตรี ชั้นโท และชั้นเอกแล้ว ท่านจึงได้หันมาศึกษาทางปฏิบัติ อย่างจริงจังจากหลวงปู่สงวน มากขึ้น จวบจน หลวงปู่สงวน ละสังขารในปี พ.ศ.๒๕๐๕ รวมระยะเวลาที่ท่านได้ศึกษาจากหลวงปู่สงวน ทั้งสิ้น ๙ ปี
ตลอดระยะเวลาที่ครองเพศบรรพชิตท่านได้ออกปริวาส และธุดงค์ เป็นประจำทุกปีตั้งแต่พรรษาแรก จวบจนมรณภาพ มิได้ขาดแม้แต่เพียงพรรษาเดียว โดยท่านจะออกเดินทางประมาณกลางเดือนธันวาคมของทุกปี จนถึงประมาณเดือนมีนาคมของปีถัดไป จึงเดินทางกลับวัด
การธุดงค์ของท่านั้นจะเดินทางจากจังหวัดฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี นครนายก สระบุรี ลพบุรี สิงห์บุรี นครสวรรค์ พิษณุโลก กำแพงเพชร ตาก สุโขทัย จนถึงเชียงใหม่ รวมเวลาในแต่ละปีประมาณ ๓ เดือนเศษ
ในระหว่างที่ธุดงค์ ท่านได้ศึกษากับครูบาอาจารย์ท่านอื่นๆ เพิ่มเติม อาทิเช่น หลวงปู่สอน (ไม่ทราบวัด ไม่แน่ว่าจะเป็นหลวงพ่อสอน วัดเสิงสานรึไม่) หลวงปู่ภู (ไม่ทราบวัด) และครูบาอาจารย์ท่านอื่นอีกหลายองค์ นอกจากนี้ ระหว่างการปฏิบัติทางจิตท่านได้เล่าว่า มีครูบาอาจารย์หลายองค์มาแนะนำในนิมิตร ซึ่งส่วนใหญ่ท่านว่าเป็นพ่อปู่ฤาษี หลายองค์ทีเดียว
โรง พยาบาลธรรมศาสตร์เปิดเสาร์อาทิตย์ไหม

นอกจากนี้ท่านยังได้ร่ำเรียนวิชาแพทย์แผนโบราณ เพื่อสงเคราะห์ผู้คนจากหลวงพ่อบุญส่ง วัดก้อนแก้ว จ.ฉะเชิงเทรา ซึ่งโรคที่คนมักมาให้ท่านรักษามาก จนมีชื่อเสียงก็คือ โรคริดสีดวงจมูก หรือโรคไซนัส ซึ่งมีผู้คนมารักษากับท่านมากมาย (ท่านได้ถ่ายทอดวิชานี้ให้กับหลานชายท่าน ซึ่งต่อมาได้ทำหน้าที่รับการรักษาแทน)
จากคำบอกเล่าทำให้ทราบว่า หลวงพ่อสิริ วัดตาล ก็ได้เคยเดินทางมารักษากับหลวงพ่อแม้น ด้วยเช่นกัน
หลวงพ่อแม้น เป็นพระเถราจารย์ที่ทรงพุทธาคมเป็นเลิศ เป็นที่พึ่งทางใจ และเป็นเนื้อนาบุญแก่ญาติโยมพุทธบริษัทจำนวนมาก กุฏิของท่านจะคร่าคร่ำไปด้วยผู้คนมิได้ขาด ทั้งที่มารักษาโรค และมารับการสงเคราะห์ในด้านอื่นๆ อิทธิคุณของท่านมีมากมายนัก แต่จากความทรงจำและคำบอกเล่าพอจะสรุปได้ดังนี้
๑. ท่านเป็นหมอแผนโบราณ ที่เชี่ยวชาญ โดยเฉพาะการรักษาโรคริดสีดวงจมูก นั้นท่านมิได้เรียกร้องทรัพย์สินเงินทอง หรือถ้ามีผู้ศรัทธาต้องการบริจาคเพื่อทำบุญท่านก็มิได้ขัดข้อง แต่ก็ได้รวบรวมถวายเป็นส่วนกลางของวัดต่อไป
๒. ท่านเป็นผู้แตกฉานในการลงอักขระ ต่างๆ อย่างมาก ถ้าผู้ใดเคยได้รับวัตถุมงคลจากท่าน พวกผ้ายันต์ หรือปลัดขิก จะเห็นถึงความตั้งใจในการลงอักระ ลายมือท่านสวยงามมากจริงๆ และท่านมักจะลงอักขระหลายๆ ตัวจนเต็มพื้นที่ หาที่ลงเพิ่มไม่ได้แล้วนั่นแหละ จึงจะพอใจท่าน
ที่ท่านชอบลงเยอะๆ ท่านว่า “ถ้ามีอักขระตัวใดวิบัติ ตัวอื่นๆ ที่เหลือก็จะได้ช่วยกัน” อักขระที่มักจะเห็นท่านลงเสมอ ในวัตถุมงคลก็คือ ” ยันต์พระเจ้า ๕ พระองค์” ” มะ อะ อุ” และ ” นะ หัวใจมนุษย์”
๓. ท่านเป็นผู้มีจิตอันประพัสสร มีญาณทัศนะอันแจ่มแจ้ง ซึ่งน่าจะเป็นผลมาจากการปฏิบัติทางจิตโดยความมุ่งมั่นของท่านมาโดยตลอดตั้งแต่พรรษแรก จวบจนมรณะภาพ ซึ่งท่านก็ได้ให้การสงเคราะห์แก่ผู้เดือดร้อนเป็นกรณีๆไป ตั้งแต่ปัญหาเล็ก เช่นของหาย ไปจนถึง ความเดือดร้อนจาก สัมพเวสี หรือไปล่วงเกินเทพเทวดา ผู้มีฤทธิ์
๔. ท่านเป็นผู้ไม่ยึดติดในยศถาบรรดาศักดิ์ ท่านเคยได้รับการคัดเลือก ให้เป็นเจ้าอาวาส แต่ท่านก็ปฏิเสธไป โดยท่านขออยู่ปฏิบัติธรรมในฐานะพระลูกวัด อย่างสงบดีกว่า
แม้กระทั่งเมื่อท่านพระอาจารย์ลำไย ถึงแก่มรณภาพแล้ว ชาวบ้านได้รวมกันมาอ้อนวอนให้ท่านเป็นเจ้าอาวาสสืบต่อไป ท่านก็ได้ปฏิเสธไปอีกคำรบหนึ่ง ว่าท่านไม่ได้ต้องการ ขออยู่อย่างนี้ดีกว่า
เคยมีนักข่าวหนังสือพิมพ์พระเครื่องฉบับบหนึ่งมายื่นข้อเสนอกับท่านว่าขอเงินจำนวนหนึ่ง แล้วจะเขียนเชียร์ให้ดัง ท่านก็มิได้สนใจ และมิได้ถือโกรธ ตอบกลับไปอย่างเมตตาว่า “แค่นี้ ก็ไม่มีเวลาพักผ่อนแล้ว”
………แม้หลวงพ่อแม้น จะช่วยสงเคราะห์ โดยภาษาชาวบ้านที่เราเรียกว่าการนั่งทางใน แต่ท่านก็มิได้ทำตัวเป็นหมอดู บอกใบ้เลขหวย หรือทำการใดอันเป็นการผิดพระธรรมวินัย ท่านเพียงแต่มีจิตที่จะสงเคราะห์ให้เขาหมดทุกข์เท่านั้น
การสงเคราะห์ของท่านมิได้หวังทรัพย์สินเงินทอง หากมีผู้ใดถวายท่านก็รับเอาไว้ แต่มิได้สนใจสะสม เมื่อมากก็นำไปสมทบมอบให้เจ้าอาวาส ขณะนั้น สมทบทุนสร้างเสนาสนะ และอุโบสถ สืบไปครับ หลวงพ่อแม้นเป็นที่ศรัทธาจากประชาชนทั่วไปรวมถึงพื้นที่ค้างเคียงจวบจนวาระสุดท้ายชีวิตของท่าน
โดยท่านมรณภาพ เมื่อวันที่ ๑๐ ธันวามคม พ.ศ ๒๕๔๓ รวมสิริอายุได้ ๗๓ ปี สร้างความเศร้าโศกเสียใจเป็นอันมากแก่บรรดาศิษย์ยานุศิษย์ของท่านเป็นจำนวนมาก
ขอขอบคุณท่านเจ้าของบทความข้อมูลที่มาอย่างสูงครับ
โรง พยาบาลธรรมศาสตร์เปิดเสาร์อาทิตย์ไหม


พระสมเด็จหลวงพ่อแม้นวัดเกาะพิมพ์ใหญ่หลังยันต์มะอะอุ
ให้บูชา 3000 บาทค่าจัดส่ง30บาทflashหรือ j&tEMS 50 บาทครับ

โรง พยาบาลธรรมศาสตร์เปิดเสาร์อาทิตย์ไหม
โรง พยาบาลธรรมศาสตร์เปิดเสาร์อาทิตย์ไหม

 

โรง พยาบาลธรรมศาสตร์เปิดเสาร์อาทิตย์ไหม

http://www.southamuletthai.com/Article_Detail.php?ArticleID=130
ลองเข้าไปอ่านประวัติท่านพ่อศรีเงิน วัดดอนศาลา พัทลุง
ผ้ายันต์อาจารย์ศรีเงิน วัดดอนศาลา เป็นผ้ายันต์เขียนมือด้วยดินสอ............ ยันต์โสฬสตามแบบฉบับของวัดดอนศาลาโดยอาจารย์ศรีเงินเริ่มเขียนยันต์ตั้งแต่สมัยอาจารย์นำชราภาพมากเมื่อมีใครมาขอผ้ายันต์อาจารย์นำจะมอบหมายให้เป็นหน้าที่ของอาจารย์ศรีเงินเป็นผู้จารย์ยันต์เรียกสูตรและอาจารย์นำจะเป็นผู้ปลุกเสกเรียกมนต์ครั้นเมื่ออาจารย์มรณะภาพอาจารย์ศรีเงินก็เขียนเรื่อยมานับว่าอาจารย์ศรีเงินเข้าใจในตัวยันต์และเรียกสูตรได้เหมือนกับอาจารย์นำเพราะท่านเป็นผู้เขียนมาตั้งแต่อาจารย์นำยังมีชีวิตและสืบยอดวิชาต่อจากอาจารย์นำมาทุกบททุกดระบวนอย่างถูกต้องตามแบบสมัยอาจารย์ยุคก่อนๆของวัดดอนศาลาถือเป็นแบบโบราณกาล ความหมาย และความสำคัญของยันต์โสฬสมงคล ยันต์โสฬสมงคลนี้ เป็นมหายันต์ที่เกิดจากการนำเอายันต์ ๓ ชนิดมารวมกันไว้ โดยใช้ตัวเลขแทนด้วยความหมายคงคลต่างๆ จากภาพ ตรงกลางช่องเล็ก ๙ ช่อง คือ ยันต์ จตุโร ถัดมาวงกลาง เป็นยันต์สูตรตรีนิสิงเห และด้านนอกสุด เป็น ยันต์ อริยสัจโสฬส จากนั้นอักขระด้านนอกที่ล้อมยันต์อยู่ คือ พระคาถาบารมี ๓๐ ทัศ พระยันต์นี้มิได้มีบังคับการลงยันต์ด้านหลังไว้ ฉะนั้นในการลงยันต์ด้านหลังตะกรุดก็แล้วแต่พระเถราจารย์ท่านจะลง ในสายวัดสะพานสูง จากตำราที่เพิ่งสืบค้นมากล่าวไว้ว่า ท่าได้ลงไตรสรณคมไว้ ซึ่งไตรสรณคมนี้ เข้าใจว่าคงลงแบบย่อที่เราท่องกันโดยทั่วไป ว่า พุทธัง สรณัง คัจฉามิ ฯ แต่หากเป็นตำราเล่มอื่นแล้ว จะเป้นกานำเอาบทอิติปิโส ๓ ห้อง มาผูกลงในตารางกระดูกยันต์ ซึ่งถือเป็นยันต์ใหญ่และลงยาก ก็ตามแต่พระเภราจารย์ท่านนั้นจะได้ศึกษามา มาดูกันถึงยันต์แต่ละอย่างที่ใช้ลงกัน ๑. ยันต์จตุโร ที่อยู่ตรงกลางยันต์โสฬส เป็นการลงด้วยตัวเลข ๙ ตัว คือ ๔, ๙, ๒, ๓, ๕, ๗, ๘, ๑, ๖ ตามลำดับ ยันต์นี้ เมื่อลงแล้วจะทำให้เกิดลาภ และคุ้มภัยทั้งปวง นิยมลงยันต์นี้เดี่ยวๆ ในการตั้งเสาเอกด้วย นอกจากนั้นแล้วในตำรายังกล่าวว่าให้ใช้คู่กับตรีนิสิงเห และอริยสัจโสฬส จะลงในอาวุธ หอกดาบ ยามเข้ารบข้าศึก จะแคล้วคลาดทั้งปวง เขียนไว้ในสิ่งของ ขโมยจะลักมิได้เลย แช่น้ำกินปราศจากโรคภัย ถ้อยความอันตรายทั้งปวง เขียนใส่แผ่นเหล็กฝังในที่ปลวกชุม ปลวกก็หนีไปสิ้น ในที่ๆ เลือดชุม เลือดก็หายหมดไป ฝังไว้ที่นา นกมิลงกินข้าวเลย ฝังไว้ไร่นา กันปูหนูทุประการ ถ้าจะปลูกต้นไม้ให้มีผลงอกงาม เขียนใส่แผ่นหินฝังรองไว้ ต้นไม้นั้นงอกงามแล เขียนใส่ผ้าปักไว้หลังคาเรือน ไฟมิไหม้เรือนแล ลงปิดประตูหน้าต่างกันโจร คลอดลูกยาก แช่น้ำกิน คลอดลูกง่าย ฯลฯ ยังมีคาถาที่ใช้อาราธนาต่างๆ เฉพาะยันต์จตุโรนี้ด้วย แต่คงจะมิกล่าวถึงในที่นี้ ไว้มีโอกาสน่ะครับ ๒. ยันต์ตรีนิสิงเห จะเเป็นยันต์แถวที่สองนับจากด้านนอก เวลาลงจะลง ๓ ๗ เอา ๕ คั่น ๔ ๖ เอา ๕ คั่น ๑ ๙ เอา ๕ คั่น ไปจนครบรอบ จะสังเกตเห็นว่า พอลงเลขรวมกันได้ ๑๐ ก็จะคั่นด้วย ๕ เสมอ พระยันต์นี้ใช้ลงผ้า หรือกระดาษ ปิดเสาเรือน หรือแขวน ๘ ทิศ ก็ได้ ป้องกันภัยอันตราย ภูติผีปิศาจ ใช้ได้สารพัดแล หากนำยันต์นี้ลงคู่กับจตุโร ก็จะได้เป็นยันต์ ตรีนิสิงเหใหญ่ พุทธคุณก็เอาของ ๒ พระยันต์นี้มารวมกัน ๓. ยันต์อริยสัจจ์โสฬส มีกล่าวไว้ว่า พระคาถานี้บรรจุอยู่ในพระมหาเจย์ ที่พระเจ้าอโศกมหาราชทรงสว้างเอาไว้ ภายหลังนักปราชญ์ท่านผู้รู้ทั้งหลายจึงผูกเป็นยันต์อริยสัจจ์โสฬสมงคลขึ้นฯ พระยันต์นี้มีคุณานุภาพมาก อาจป้องกันบำบัดเสัยซึ่งอุปัทอันตรายทั้งปวง ก่อให้เกิดลาภสการมงคล คุ้มครองป้องกันให้ได้รับควาสุขสวัสดี เป็นมหาวิเศษนักแล เป็นทั้งทางอยู่คง แลเป็นเมตตาด้วย ทำให้เกิดโภคทรัพย์เงินทอง ตามแต่จะใช้เถิด ยันต์นี้ใช้ได้ทุกประการ เวลาหล่อพระพุทธรูปสักการะบูชา ควรลงพระยันต์นี้ใส่แผ่นทอง หลอมหล่อไปด้วย เพราะเป็นยอดมหายันต์ที่ศักดิ์สิทธิ์นักแล จากนั้นจึงล้อมรอบด้วยพระคาถาบารมี ๓๐ ทัศ .....
ขอขอบคุณท่านเจ้าของบทความข้อมูลที่มาอย่างสูงครับ

ผ้ายันต์โสฬสมหามงคลหลวงพ่อศรีเงิน วัดดอนศาลา สภาพเก่าเก็บเดิมๆครับบูชามาร่วม 30 ปี ให้บูชา 15000 บาท
โรง พยาบาลธรรมศาสตร์เปิดเสาร์อาทิตย์ไหม

 

ประวัติการสร้างพระชินราชท่าเรือผงเทพนิมิตร ปี 2497
ความเป็นมาที่เป็นเหตุที่ให้ชื่อว่าเทพนิมิตร เพราะได้ตำราจากความฝัน ว่ามีอาจารย์ผู้เฒ่ารูปหนึ่งมาบอกว่าต่อไปเมื่อหน้า ความสุขความสบายจะไม่มีแก่มนุษย์ผู้ไร้ศีลธรรมจะประสบภัยอันเกิดจากศาสตรา อาวุธนานาชนิดซึ่งไม่เคยพบเห็น ภัยจากโจรผู้ร้ายที่มีใจดำอำมหิตเยี่ยงสัตว์ป่า และภัยจากภูตผีปีศาจ เพื่อให้พ้นจากภัยนี้ท่านบอกว่าให้หาดอกไม้ที่พระสงฆ์เถรานุเถระทำวัตรขอขมา โทษซึ่งกันและกันก่อนเข้าพรรษา และดอกไม้หน้าพระประธานวันเข้าพรรษาวันเดียวให้ได้ ๑๐๘ วัด กับให้เอาตะใคร่พระเจดีย์ที่บรรจุบรมธาตุ ตะใคร่พระศรีมหาโพธิ์ ผงวิเศษของอาจารย์ต่างๆหลายสำนัก ผงวิเศษของอาจารย์คง อาจารย์ของขุนแผน มาทำเป็นรูปพระเข้าพิธีปลุกเสกตลอดสามเดือน พร้อมด้วยการทดลองคุณภาพให้เห็นเป็นที่ไว้วางใจได้ ให้ผู้ที่บูชาพระผงเทพนิมิตรนี้ละบาปบำเพ็ญบุญ มั่นอยู่ในศีลธรรมคำสั่งสอนของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า คุณพระจะรักษาให้พ้นภัยทั้งปวงดังกล่าวแล้ว

พระผงเทพนิมิตรที่สร้างในปี 2497 นี้จะมีด้วยกันหลายพิมพ์ เช่น พิมพ์ขุนแผน พิมพ์ชินราชท่าเรือ พิมพ์นางตรานาคปรกใหญ่-เล็ก พระนาคปรกหลังยันต์ เป็นต้น โดยมีการสร้างแต่ละพิมพ์ พิมพ์ละ 84,000 องค์ และจัดให้มีการประกอบพิธีพุทธาภิเษก จัดให้มีขึ้นตลอดพรรษา ณ วิหารวัดพระบรมธาตุ นครศรีธรรมราช ได้ฤกษ์พิมพ์องค์พระในวันที่ 2 สิงหาคม 2497 ครบ 84,000 องค์ วันที่ 1 กันยายน 2497 ทำพิธีปลุกเสกวันที่ 14 กันยายน 2497 ออกพิธีวันที่ 12 ตุลาคม 2497 ซึ่งเป็นวันออกพรรษา โดยพิธีนี้ได้นิมนต์พระเถราจารย์ ผู้เรืองเวทวิทยาคม 108 รูป มาร่วมประกอบพิธี มีท่านเจ้าคุณพระภัทรมุนี เจ้าอาวาสวัดพระบรมธาตุฯ เป็นประธานฝ่ายสงฆ์
พระชุดนี้ได้ทำพิธีปลุกเสกที่ วัดบรรพตพินิจ อ.เขาชัยสน พัทลุง และมาปลุกเสกที่วัดบรมธาตุนครศรีธรรมราช อีกครั้งหนึ่ง โดยมีคณาจารย์สายใต้และสายเขาอ้อร่วมปลุกเสกดังนี้
1. หลวงพ่อคล้าย วัดสวนขัน จันดี
2. หลวงพ่อโอภาสี บางมด ธนบุรี
3. หลวงพ่อเขียว วัดหรงบน
4. หลวงพ่อเมือง วัดท่าพญา
5. หลวงพ่อคง วัดคลองน้อย
6. หลวงพ่อมุ่ย วัดป่าระกำ ปากพนัง
7. หลวงพ่อแดง วัดโท ท่าศาลา
8. หลวงพ่อคลิ้ง วัดถลุงทอง ร่อนพิบูลย์
9. หลวงพ่อแดง วัดเขาหลัก ทุ่งใหญ่,
10. หลวงพ่อตุด วัดทุ่งกง กระบี่
11. หลวงพ่อวัน มะนะโส วัดประสิทธิชัย
12. หลวงพ่อแสง วัดคลองน้ำเจ็ด ตรัง
13. หลวงพ่อปาล วัดเขาอ้อ
14. หลวงพ่อคง วัดบ้านสวน
15. หลวงพ่อดิษฐ์ วัดปากสระ
16. หลวงพ่อเจ็ก วัดเขาแดงตะวันตก
17. หลวงพ่อหมุน วัดเขาแดง ตะวันออก พัทลุง
18 หลวงพ่อพัว วัดเขาราหู (วัดบางเดือน)
19. หลวงพ่อแดง วัดคลองไทร
20, หลวงพ่อวิรัช วัดกะเปา คีรีรัฐนิคม สุราษฎร์ธานี
21. หลวงพ่อทอง วัดดอนสะท้อน
22, หลวงพ่อสงฆ์ วัดศาลาลอย
23. หลวงพ่อจีด วัดถ้ำเขาพลู
24, หลวงพ่อรุ่ง วัดบางแหวน ชุมพร
25, หลวงพ่อท้วม วัดเขาโบสถ์ บางสะพาน
26, หลวงพ่อเปี่ยม วัดเกาะหลัก ประจวบคีรีขันธ์
27. หลวงพ่อทองศุข วัดโตนดหลวง เพชรบุรี
28. หลวงพ่อแดง วัดเขาบันไดอิฐ เพชรบุรี
29. หลวงพ่อเงิน วัดดอนยายหอม
30. หลวงพ่อเต๋ วัดสามง่าม นครปฐม ฯลฯ

อาจารย์ที่เป็นฆราวาสได้แก่ อ.ชุม ไชยคีรี, อ.นำ แก้วจันทร์, พล.ต.ต. ขุนพันธรักษ์ ราชเดช การปลุกเสกเน้นเด่นเฉพาะทาง แบ่งออกเป็นช่วง ช่วงละ 7 วัน เช่น ปลุกเสกเน้นด้านคงกระพันชาตรี 7 วัน มหาอุด 7 วัน ป้องกันสัตว์ร้ายและโจรร้าย 7 วัน ป้องกันโรคภัยไข้เจ็บและภูตผีปีศาจ 7 วัน เมตตามหานิยม 7 วัน เนรมิตกายกำราบศัตรูให้เห็นเราคนเดียวเป็นหลายคน

มวลสารที่รวบรวมมามีพระกรุสุดยอดพระเครื่องจากทั่วประเทศ มาดำเนินการสร้างพระชินราชท่าเรือนี้ จากการรวบรวมปรากฎว่าได้พระกรุมากว่า 108 กรุ ว่านยาอีก 108 ชนิด รวมทั้งผงวิเศษ อาทิเช่น พระกรุนางตรา-ท่าเรือ, กรุท้าวโคตร, สมเด็จวัดระฆัง, สมเด็จบางขุนพรหม, พระผงสุพรรณ, ผงดำผงแดงหุ่นพยนต์, หลวงพ่อเกตุ วัดขวิด, ขุนแผนวัดพระรูปและวัดบ้านกร่าง, พระนางพญาวัดนางพญาและวัดต้นจันทร์ สุพรรณบุรี, พระกรุต่าง ๆ ในกำแพงเพชร, พระกรุต่าง ๆ ในสุโขทัย, หูยานลพบุรี, ท่ากระดานหูไห กาญจนบุรี, พระกรุวัดท่ามะปราง, พระวัดชินราช พิษณุโลก, พระหลวงพ่อจุก, พระจุฬามณี พิษณุโลก, พระรอด พระคง พระเปิม-ลำพูน, มหาว่านวัดเขาอ้อ-พัทลุง, และพระกรุศรีวิชัยฯลฯ สำหรับพระคณาจารย์ที่ปลุกเสกขอยกมาเป็นบางส่วน ได้แก่

เมื่อเสร็จพิธีกรรม อาจารย์ชุม ไชยคีรี ได้นำพิมพ์ต่างๆ เช่น พระพิมพ์นางตราและท่าเรือขนาดใหญ่-เล็ก พระนาคปรกหลังยันต์ พระพิมพ์ชินราชใหญ่-เล็ก พระพิมพ์ขุนแผน ออกแจกด้วยตัวท่านเอง พร้อมสมุดอุปเท่ห์การบูชาพระ ผู้คนจึงรู้จักกันว่าเป็นพระของอาจารย์ชุม จำนวนการสร้างนั้นมีพิมพ์ละ 84,000 องค์ เมื่อพระมีจำนวนมากบางส่วน ท่านจึงได้นำบรรจุเก็บไว้ในถัง 200 ลิตร ต่อมาปลวกมาทำรัง พระที่พบจึงมีทั้งแบบมีคราบปลวกและที่ไม่มีคราบ

พุทธคุณวิเศษของพระในพิธีนี้ มีครบทุกด้านไม่ว่า ทางโชค ลาภ บอกเหตุดีร้ายให้ผ้บูชาล่วงหน้า และคงกระพัน ดังนั้นลูกศิษย์ ลูกหา ของอาจารย์ชุม จึงมักนิยมพระชุดนี้ ติดตัวกันไว้เสมอ ไม่พิมพ์ใดก็พิมพ์หนึ่ง แต่ปัจจุบันพระชุดนี้ หายากพอสมควร
ขอขอบคุณท่านเจ้าของบทความข้อมูลที่มาอย่างสูงครับ
พระพุทธชินราชท่าเรือพิมพ์ใหญ่ ให้บูชา 2,500 บาทครับ
โรง พยาบาลธรรมศาสตร์เปิดเสาร์อาทิตย์ไหม
โรง พยาบาลธรรมศาสตร์เปิดเสาร์อาทิตย์ไหม

 

โรง พยาบาลธรรมศาสตร์เปิดเสาร์อาทิตย์ไหม

พระผงรูปเหมือนรุ่นแรก พิมพ์หลังเตารีด หลวงพ่ออบ อินทวิริโย วัดถ้ำแก้ว จ.เพชรบุรี ปี ๒๕๑๖ ของดีที่ไม่ควรมองข้ามครับ คนเมืองเพชรรู้ดี "ความเหนียว คงกระพันชาตี ไม่เป็นรองใคร" พระเกจิอาจารย์ชื่อดัง อีกท่านหนึ่งของเมืองเพชรบุรี รายละเอียดยังคงชัดอยู่ ทุกจุด เก็บไว้ใช้ในพุทธคุณครับพี่ รับรองว่าคุ้มค่ามากครับ ต่อไปพระของท่านจะหายากนะครับ ดูอย่างเหรียญรุ่นแรกของท่านราคาไปไกลแล้วนะครับ
พระผงรูปเหมือนพิมพ์หลังเตารีด หลวงพ่ออบ อินทวิริโย อดีตเจ้าอาวาสวัดถ้ำแก้ว ต.ไร่ส้ม อ.เมือง จ.เพชรบุรี เป็นพระผงรูปเหมือนเนื้อว่านยาที่สร้างขึ้นในปี ๒๕๑๖ และ แจกในปี ๒๕๑๗ โดยใช้เนื้อเดียวกับพระปิดตาเนื้อผงว่านยาที่สร้างขึ้นในวาระเดียวกัน จากข้อมูลในหนังสือ ๘๐ ยอดพระปิดตายุคหลังกึ่งพุทธกาล ของชายนำ ภาววิมล ระบุว่า พระผงรูปเหมือนเนื้อว่านยา สร้างขึ้นพร้อมกับพระปิดตาเนื้อผงว่านยา พระปรกใบมะขาม เหรียญหลวงพ่ออบ อินทวิริโย รุ่นสอง เพื่อเป็นที่ระลึกในงานสมโภชกำแพงแก้ว ในเดือนเมษายน พ.ศ.๒๕๑๗ พระชุดนี้ หลวงพ่ออบ อินทวิริโย อธิษฐานจิตปลุกเสกเดี่ยวในวันเสาร์ห้าปี พ.ศ. ๒๕๑๖ (๗ เมษายน ๒๕๑๖) และทำพิธีอธิษฐานจิตปลุกเสกเดี่ยวตลอดไตรมาส ปี ๒๕๑๖

ขออนุญาติ ลงประวัติความเป็นมาของหลวงพ่อให้ผู้ที่ยังไม่รู้ได้รับทราบครับ

หลวงพ่ออบ อินทวิริโย เป็นชาวบ้านหนองช้างปลัก ตำบลหัวสะพาน อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี เกิดปีระกา ตรงกับวันพฤหัสบดี แรม ๑๑ ค่ำ เดือน ๑๑ พุทธศักราช ๒๔๕๒ นามบิดา ผึ่ง กลีบจงกล นามมารดา เพี้ยน กลีบจงกล มีพี่น้องร่วมกัน ๖ คน หลวงพ่ออบเป็นคนหัวปี
หลวงพ่ออบอุปสมบทเป็นพระภิกษุ ณ อุโบสถวัดถ้ำแก้ว มีพระอุปัชฌาย์ คือหลวงพ่อทิม วัดโคก หลวงพ่อเช้า วัดเวียงคอย เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และหลวงพ่ออยู่ วัดถ้ำแก้วเป็นพระนุสาวนาจารย์ เมื่ออุปสมบทแล้ว หลวงพ่ออบก็จำพรรษาอยู่วัดถ้ำแก้ว ศึกษาวิปัสสนาธุระ และพุทธคมกับหลวงพ่ออยู่ ด้วยความพากเพียรเป็นเวลาถึง ๕ พรรษา จากนั้นจึงเดินออกธุดงค์อยู่ทุกปี ร่ำเรียนวิชากับพระอาจารย์ต่าง ๆ คือ อาจารย์วัดลาดบัวขาว จังหวัดปราจีนบุรี หลวงปู่นาค วัดหัวหิน อาจารย์อยู่ อาจารย์หยอย เจ้าอาวาสวัดถ้ำแก้ว และ ปู่แสง (โยมพระอาจารย์หยอย) ซึ่งเป็นฆราวาสถือศีลกินเพล ซึ่งเรืองวิทยาคมและมีชื่อเสียงดังมากในจังหวีดเพชรบุรีสมัยนั้น

วัตถุมงคลที่ท่านทำนั้น มี ตระกรุด ผ้ายันต์ และ เหรียญที่ท่านได้ปลุกเสก มี ๓ รุ่น ทุกรุ่นผ่านประสบการณ์ความคงกระพันมากมายๆ นับไม่ถ้วน

หลวง พ่ออบ ท่านเป็นพระเกจิอาจารย์เมืองเพชรบุรีที่มีวิทยาคมเก่งกล้าด้านคงกระพันชาตรี จากประวัติคำบอกเล่ามีว่า ครั้งหนึ่งมีคนบ้าถือมีดพร้าตรงเข้ามาทำร้าย ใช้มีดฟัน หลวงพ่ออบท่านถึงในวัด เสียงดัง บึกๆ แต่ไม่ระคายผิวท่านเลยแม้แต่น้อย ซึ่งสอดคล้องกับที่หลวงพ่อแดงเคยบอกผู้ที่ไปกราบท่านว่า"ถ้าจะเอาเหนียว ต้องไปหาท่านอบ วัดถ้ำแก้ว" หลวงพ่ออบ วัดถ้ำแก้ว พระเถระที่ประพฤติปฏิบัติ ดี ตามพระธรรมวินัย เป็นที่เลื่อมใสศรัทธาจากพุทธศาสนิกชนเป็นจำนวนมาก
แต่เนื่องจากการมรณภาพของท่าน ที่มี ผู้รู้มั่งไม่รู้มั่งนำไปพูดจาไม่ดี ทำให้หลวงพ่ออบ ท่านเงียบหายไปกับสายลม นั่นคือท่านมรณภาพด้วยการที่ซุงบนรถบรรทุก หล่นลงมาทับร่างของท่านจนถึงแก่มรณะภาพ ทั้งนี้เนื่องมาจากโซ่ที่ใช้รัดซุงดังกล่าวขาด แต่ ที่น่าแปลกคือ ก่อนเกิดเหตุนั้น ท่านได้บอกกับคนอื่นที่ต้องไปช่วยงานท่านในการตีตราซุงเหล่านั้นให้หลบออกไป จากบริเวณดังกล่าวให้หมด รวมทั้งภายหลังที่เกิดเหตุแล้ว เมื่อไปพบร่างท่าน ปรากฏว่า ร่างกายท่านแทบไม่มีเลือดออกเลย มีเพียงเลือดเล็กน้อย ที่บริเวณปากท่านเท่านั้น นี่เองที่ทำให้พวก คิดไม่ดี ปากไม่ดี นำไปพูดว่า ขนาดท่านยังมรณภาพแบบนี้เลย แล้วพระท่านจะดีได้อย่างไร รวมทั้งผู้ที่ใช้ก็อาจจะตายไม่ดีเช่นนี้อีกด้วย ซึ่งถือว่าเป็นคำพูดที่ผิดอย่างมาก เป็นคำพูดของคนที่เต็มไปอวิชชาแท้ๆ

อย่าลืมว่า ในอดีตยุคพุทธกาลนั้น พระสาวกที่ทรงด้วยอิทธิฤทธิ์ เช่น พระโมคคัลานะ ก็มรณภาพด้วยการถูกตีจากกลุ่มโจร ก่อนที่ท่านจะเข้าสู่นิพพาน และจากกรณีที่เครื่องบินตก แล้วมีพระเถราจารย์ มรณภาพ อาทิเช่น พระอาจารย์วัน , พระอาจารย์จวน เป็นต้นนั้น เวลาก็เป็นเครื่องพิสูจน์แล้วว่า ท่านเป็นผู้บรรลุธรรมชั้นสูงทั้งนั้น นั่นคือ อัฐิของท่านเหล่านี้ ได้แปรสภาพเป็นพระธาตุไปจนหมด ดังนั้น จึงไม่อยากให้มองข้ามของดีๆไป

หลวงพ่อ แดง วัดเขาบันไดอิฐ พระเกจิอาจารย์ผู้ลือนามแห่ง จ.เพชรบุรี ท่านได้กล่าวไว้ว่า "หากฉันตายให้ไปหาหลวงพ่ออบ วัดถ้ำแก้ว เขาสามารถแทนฉันได้ " นี่เป็นคำกล่าวยืนยันจากหลวงพ่อแดงท่านได้กล่าวไว้
ขอให้ท่านพิจารณาครับ ไม่อยากให้พลาดของดี เช่นนี้

ขอขอบคุณท่านเจ้าของบทความข้อมูลที่มาอย่างสูงครับ

พระผงหลวงพ่ออบ วัดถ้ำแก้ว รุ่นแรก

ให้บูชา 500 บาทค่าจัด30บาทส่งflashหรือJ&t ไปรษณีย์ไทย50บาทems บาทครับ
โรง พยาบาลธรรมศาสตร์เปิดเสาร์อาทิตย์ไหม
โรง พยาบาลธรรมศาสตร์เปิดเสาร์อาทิตย์ไหม

 

โรง พยาบาลธรรมศาสตร์เปิดเสาร์อาทิตย์ไหม

พระครูพิชัยณรงฤทธิ์ วัดสิตาราม หรือ วัดคอกหมู กรุงเทพ ผู้รับการถ่ายทอด วิชาการลง ทองนพเก้า จาก หลวงปู่ทอง อุทยญาโณ วัดราชโยธา ประเวศ กทม .เพียงรูปเดียว

สมัยก่อนท่าน เคยลงข่าวหน้า หนังสือพิมพ์บางกอกไทมส์ พิธีการลงทอง แล้วใช้มีดพร้า คมๆ

( เล่มใหญ่) ฟันลง กลางหลัง ดัง แปร๊ก!!!
ทันที เสียงเหล็กกระทบกระดูก หลังจาก
ลงทองนพเก้า ครั้งที่2 เสร็จ
ถึงไม่เข้า ก็เป็นรอย ยางบอน ช้ำ ด้านใน

พระครูพิชัยณรงฤทธิ์ เป็นศิษย์หลวงปู่ทอง วัดราชโยธา สมัย ตั้งแต่ยัง เยาว์วัย เนื่องจาก สมัยเด็กวิ่งเล่น ในวัด ท่านเป็นเด็กวัด วัดสามปลื้ม จักรรดิ์

ซึ่งเป็นวัดที่ หลวงปู่ทอง ได้เดินทางไปมาหาสู่ กับ ท่านเจ้ามา วัดสามปลื้ม เป็นประจำ
หนีความวุ่นวาย จากวัดราชโยธา ก็เอาเรือมาจอด จำวัด พักที่วัดสามปลื้ม 7 วันบ้าง เดือน1 บ้าง
พระครูพิชัยฯท่านจึงได้ สนิทรู้จักมักคุ้น กับ ลป.ทอง วัดราชโยธา อย่างดี

จนได้ครอบครองตะกรุดจารใต้น้ำ
หลวงปู่ทองท่านจารให้ทำ เองกับมือ
ตอนนั้น พระครู ยัง เด็ก ยังไม่รู้จัก ลป.ทอง
หลวงปู่ทองท่าน เอ่ย ถามพระจันทร์ ตรงหัวหรือยัง ไอ้หนู พระครูพิชัย ตอบ ตรง แล้ว คับ หลวงปู่
ลป.ทองท่าน กระโจน ลงน้ำ เป็นชั่วโมง ขึ้นมาจากท่าน้ำ จีวรไม่เปียก พร้อม แผ่น จารตะกรด
สร้างความอัศจรรย์ แก่ พระครูพิชัยณรงค์ฤทธิ์ อย่างยิ่ง
สุดท้าย จนได้ ไปเป็นศิษย์รับใช้
ศึกษาเล่าเรียน วิชาพุทธเวทย์ ไสยเวทย์ ศาสตร์ลี้ลับ กับหลวงปู่ทอง เป็นเวลาถึง 3 ปี เต็มๆ
วิชาการที่หลวงปู่ทอง วัดราชโยธา ถ่ายทอด ให้หลวงพ่อพระครูพิชัยฯ นั้นมีมากมาย ทั้งทำตะกรุด รดน้ำมนต์ ถอดถอนคุณไสย วิชาเอกอุ โดดเด่น สำคัญ มาก คือ ลงทองนพเก้า

การลงทองนพเก้า นั้น จะเป็นการลงทอง 9 แผ่น ไว้บริเวณต่างๆของร่างกาย คือ หน้า หน้าอก และหลัง ซึ่งหากจะลงให้สมบูรณ์ต้องลง 3 ครั้ง จะคุ้มครองตลอดชีวิต หากลง 1 ครั้ง คุ้มครอง 3 เดือน 2 ครั้ง คุ้มครอง 3 ปี ถ้าจะให้ ติดตัวตลอดไปต้อง 3 ครั้ง
การลงทองนพเก้านี้ มิใช่เพื่อทางเมตตามหานิยม
ดั่งลงนะหน้าทอง ทั่วไป เพียงอย่างเดียว แต่ครอบคลุมไปถึง คงกระพัน แคล้วคลาด เมตตา มหานิยม อำนาจ อีกทั้งยังป้องกันคุณไสย และของที่เขากระทำมาอีกด้วย
ดังคำที่อาจารย์ท่านให้ลูกศิษย์ พูดกำกับเวลาลงทอง ทุกครั้งว่า "อยู่ คง เหนียว สวย งาม มีอำนาจ"
สมัยที่หลวงพ่อ พระครูพิชัยฯ
ยังมีชีวิตอยู่นั้น ทั้งคนดัง ผู้มีอำนาจ นายทหาร แม่ทัพภาค สายพระราชสำนัก ในวัง
ผู้คน ทุกสาขา เหล่าอาชีพ มาทั่วสารทิศ
เพื่อ ลงทองนพเก้า นี่ละ ถึงได้มีเงินสร้างโบสถ์ จนทุกวันนี้

เมื่อลงทอง เสร็จ ก็จะฟันหลังทันที มีดที่ฟัน ไม่ใช่มีดแบบปัจจุบัน แต่เป็นดาบแบบโบราณที่มี ความหนักและ คมอยู่ในตัวเอง ซึ่งการลงดาบที่หลังนั้นนักวิทยาศาสตร์ หลายคน" กระแดะ" ออกมา พูดว่า
เป็นเพราะหนังตึงจึงมีความยืดหยุ่นให้จึงไม่เข้า ด้วยความคมของมีด จึงไม่กินเนื้อ
ต้องเข้าใจ ว่าวิทยาศาสตร์ ชอบ นำมาหักล้าง เพื่อให้ฝ่ายตัวเองดูดี
เคย ได้ร่วมวง เสวนา กับ นักดาบ เล่นมีด รุ่นใหญ่ มันก็ได้แต่บอกว่า "ลองให้พวก นักวิทย์ ที่ออกมาพูดว่าใช้มีดฟันแล้ว ตำแหน่งนี้ หนังตึง แข็ง มีแรงต้านทาน เลยไม่เข้า ความคมไม่ทำงาน
มาสิ เดี๋ยวจัดให้ดูว่า แผลแหวะ หมอศัลยกรรม ไม่รับเย็บ เป็นยังงัย !!
ทหารอาชีพ หมวกแดง ไบเล่ ลพบุรี บอกว่า เคส นี้ ฟันเข้า ล้านเปอร์เซ็น มีดกินแผลลึก ไม่ต้องสงสัย

หลวงปู่ทอง อุทยญาโณ วัดราชโยธา ขณะนั้นหลวงปู่ทอง อายุ ร่วม100 ปี แล้ว
จึงเรียกได้ว่ารุ่นพระครู พิชัย คง เป็นศิษย์ยุคสุดท้ายว่าได้

พระครูพิชัยฯ เคยเล่าให้ฟัง

ครั้งหนึ่ง หลวงปู่ทอง ท่านได้แสดงวิชา ด้านคงกระพัน กับท่านพระครู ฯ
โดยนำเอา หลาวแหลม ซัดพุ่งใส่ จนพระครูพิชัย เซ ถลา หัวคะมำด้วยความแรง แต่คมหลาวนั้น กลับไม่ ระคาย ร่องรอย แผลบนผิวหนัง ท่านพระครูพิชัย สักนิด เลย
ด้านอิทธิปาฎิหารย์ ชื่อเสียง ของหลวงปู่ทอง นั้น ย่อมเป็นที่ ประจักษ์ แก่ หมู่ทหาร ตำรวจ ข้าราชการ อาชีพเสี่ยง ตลอดจนถึง อาจารย์สัก เสก เลขยันต์ เวทมนต์คาถา เป็นอย่างดี

อุปนิสัยส่วนตัว ท่านพระครูพิชัยฯ นั้น
คนที่เคยเป็นศิษย์ ทันท่าน ตอนมีชีวิต
ต่างรู้กันว่า ท่านเป็นพระพูดจาโผงผาง ไม่เกรงใจใคร
ขนาดเคย เอากระโถนขว้างใส่ นายทหารก็มี

ถ้า ใครพูดจาไม่เข้าหู รมย์ไม่ดี
ไล่ลงกุฏิ เปิดแนบ ก็มี

ท่าน เป็นพระร้อนวิชามาก สมัยนั้น ในการเข้าหา
(เพราะอยากเรียนวิชา)
แต่..บางครั้งด้วยความอยากรู้ ช่างซักถาม จนถึงโต้ตอบกับท่านพระครูฯ ทำเอาท่านพระครู ถึงกับ เอ่ยปาก..

..."เออ เอ็งใจถึงมาก เข้ามาใกล้ๆหน่อย
จะได้ถีบ..ให้กระเด็น..."

แค่ ลองใจ ที่จริง ท่านเป็น พระเมตตา ใจดี แต่คนเข้าหา ไม่เป็นเท่านั้นเอง
วัตถุมงคล ของพระครูพิชัย มีประสบการณ์ ทุกรุ่น นะ ด้านคุ้มครอง แคล้วคลาด อย่ามองข้าม เก็บไว้ให้ดีละ ผ้าขี้ริ้วห่อทอง

และ พระครูพิชัยณรงค์ฤทธิ์ อดีตเจ้าอาวาส
เป็น ครู สำคัญ ของ พระอาจารย์ตู่ วรัญญูโต วัดคอกหมู ด้วย




ขอขอบคุณท่านเจ้าของบทความข้อมูลที่มาอย่างสูงครับ

เหรียญหลวงปู่ทอง วัดราชโยธาหลังอาจารย์พิชัยให้บูชา 300 บาทค่าจัดส่ง30บาทflashหรือ j&tEMS50บาทครับ


โรง พยาบาลธรรมศาสตร์เปิดเสาร์อาทิตย์ไหม
โรง พยาบาลธรรมศาสตร์เปิดเสาร์อาทิตย์ไหม

 

โรง พยาบาลธรรมศาสตร์เปิดเสาร์อาทิตย์ไหม

วันนี้ขอนำเสนอสุดยอดเหรียญ พิธีพุทธาภิเษกที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของจังหวัดปราจีนบุรี ถือว่าเป็นหนึ่งในพระชุด ยอดนิยมของหลวงพ่อเอีย วัดบ้านด่าน แต่มีพระที่ร่วมพิธีพุทธาภิเษกจากทั่วฟ้าเมืองไทยที่โด่งดังในยุคนั้น เหรียญนี้เป็นเหรียญเนื้อทองคำซึ่งสร้างจำนวนน้อยมาก และหายากที่สุดเหรียญหนึ่งในบรรดาเหรียญยอดนิยมทองคำในจังหวัดปราจีนบุรี และเป็นเหรียญพระพุทธรูปสำคัญแห่งสยามประเทศ รูปจำลองพระแก้วมรกต
เหรียญพระแก้ว วัดหลวงปรีชากูล จ.ปราจีนบุรี ปี 2515 พิธีพุทธาภิเษกพระคณาจารย์ ทั่วราชอาณาจักร 259 รูป อาธิเช่น หลวงพ่อเอีย วัดบ้านด่าน, หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี , หลวงพ่อเงิน วัดดอนยายหอม
สร้างในวันเสาร์ที่ 4 มีนาคม 2515(เสาร์ห้า)โดยอาราธนาพระคณาจารย์จากจังหวัดต่างๆทั่วราชอาณาจักร 259 รูป พระ คณาจารย์สวดคาถาจุดเทียนชัยและเจริญพุทธมนต์จำนวน 109 รูป เป็นพระเกจิที่มีความเข้มขลังของเืมืองปราจีบุรีและจังหวัดต่างๆ ดังนี้
หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี , หลวงพ่อเงิน วัดดอนยายหอม
หลวงพ่อมิ่ง วัดกก , หลวงพ่อเส่ง วัดกัลยาณมิตร
หลวงพ่อฑูรย์ วัดโพธิ์นิมิตร , หลวงพ่อเทียม วัดกษัตราธิราช
หลวงพ่อนอ วัดกลางท่าเรือ , หลวงพ่อพริ้ง วัดโบสถ์ลพบุรี
หลวงพ่อจุฬ วัดถ้ำคูหาสวรรค์ , หลวงพ่อโอด วัดจันเสน
หลวงพ่อปี้ วัดลานหอย , พระครูบาวัง วัดบ้านเด่น
หลวงพ่อชา วัดหนองป่าพง , หลวงพ่อสังข์ วัดกันตม
พระอาจารย์ฝั้น อาจาโร , หลวงพ่อสุข วัดโพธิ์ทรายทอง
หลวงพ่อโด่ วัดนามะตูม , หลวงพ่อหอม วัดชากหมาก
หลวงพ่อถิร วัดป่าเรไร , หลวงพ่อขอม วัดไผ่โรงวัว
หลวงพ่ออุตตมะ วัดวังก์วิเวการาม , หลวงพ่อเนื่อง วัดจุฬามณี
หลวงพ่อเอีย วัดบ้านด่าน , หลวงพ่อผิว วัดสง่างาม
หลวงพ่อทอง วัดสระแก้ว
พระสวดคาถาพุทธาภิเษก-สวดคาถาจักรพรรดิ์ตราธิราชและสวดภาวณา 12 รูป พระคณาจารย์สวดคาถาดับเทียนชัยและเจริญพระ
พุทธมนต์ฉลอง 29 รูป โดยมีท่านเจ้าประคุณสมเด็จพระวันรัต วัดพระเชตุพน เป็นองค์ประธานจุดเทียนชัย และฯพณฯจอมพลถนอมกิตติขจร เป็นประธานจุดเทียนชัยบูชาพระรัตนตรัย ท่านเจ้าคุณพระธรรมรัตนากร วัดมหาธาตุ เป็นประธานดับเทียนชัย ท่านพลตรี ศรีศักดิ์ ธรรนรักษ์ ผู้ว่าราชการปราจีนบุรี เป็นประธานบวงสรวงดวงพระวิญญาณสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
พระอาจารย์ไสว สุมโน วัดราชนัดดา เป็นเจ้าพิธีฝ่ายสงฆ์ พระราชครูวามเทพมุนี ประธานพราหมณาจารย์แห่งประเทศไทย เป็นเจ้า พิธีฝ่ายพราหมณ์ จึงนับเป็นพิธีมหาพุทธาภิเษกที่ยิ่งใหญ่ที่สุดเมื่อประกอบพิธี และมีการฉลองสมโภช 5 วัน 5 คืน สร้างเพื่อหารายได้ สร้างอาคารศูนย์การเรียนการศึกษาคณะสงฆ์ปราจีนบุรี คุณเกษม มงคลเจริญ ช่างสร้างพระเครื่องชั้นหนึ่งของประเทศไทย เป็นผู้ออกแบบพระกริ่งและพระชัยสันติสุข เหรียญพระแก้ว พระ ผงสันติสุข เหรียญสันติสุข และออกแบบได้อย่างวิจิตรงดงามมาก
เหรียญพระแก้วมรกต วัดหลวงปรีชากูล จ.ปราจีนบุรี ปี 2515
พิธีพุทธาภิเษกพระคณาจารย์ ทั่วราชอาณาจักร 259 รูป อาธิเช่น หลวงพ่อเอีย วัดบ้านด่าน ,หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี ,หลวงพ่อเงิน วัดดอนยายหอม
สร้างในวันเสาร์ที่ 4 มีนาคม 2515(เสาร์ห้า) โดยอาราธนาพระคณาจารย์จากจังหวัดต่างๆทั่วราชอาณาจักร 259 รูป พระ คณาจารย์สวดคาถาจุดเทียนชัยและเจริญพุทธมนต์จำนวน 109 รูป เป็นพระเกจิที่มีความเข้มขลังของเมืองปราจีบุรีและจังหวัดต่างๆ ดังนี้

1. หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี กรุงเทพมหานคร
2. หลวงพ่อเงิน วัดดอนยายหอม จ.นครปฐม
3. หลวงพ่อมิ่ง วัดกก กรุงเทพมหานคร
4. หลวงพ่อเส่ง วัดกัลยาณมิตร กรุงเทพมหานคร
5. หลวงพ่อฑูรย์ วัดโพธิ์นิมิตร กรุงเทพมหานคร
6. หลวงพ่อเทียม วัดกษัตราธิราช พระนครศรีอยุธยา
7. หลวงพ่อนอ วัดกลางท่าเรือ พระนครศรีอยุธยา
8. หลวงพ่อพริ้ง วัดโบสถ์ จ.ลพบุรี
9. หลวงพ่อจุฬ วัดถ้ำคูหาสวรรค์ จ.ลพบุรี
10. หลวงพ่อโอด วัดจันเสน จ.นครสวรรค์
11. หลวงพ่อปี้ วัดลานหอย จ.สุโขทัย
12. ครูบาวัง วัดบ้านเด่น จ.ตาก
13. หลวงพ่อชา วัดหนองป่าพง จ.อุบลราชธานี
14. หลวงพ่อสังข์ วัดกันตม จ.ศรีสะเกษ
15. พระอาจารย์ฝั้น อาจาโร วัดป่าอุดมสมพร จ.สกลนคร
16. หลวงพ่อสุข วัดโพธิ์ทรายทอง จ.บุรีรัมย์
17. หลวงพ่อโด่ วัดนามะตูม จ.ชลบุรี
18. หลวงพ่อหอม วัดชากหมาก จ.ระยอง
19. หลวงพ่อถิร วัดป่าเรไร จ.สุพรรณบุรี
20. หลวงพ่อขอม วัดไผ่โรงวัว จ.สุพรรณบุรี
21. หลวงพ่ออุตตมะ วัดวังก์วิเวการาม จ.กาญจนบุรี
22. หลวงพ่อเนื่อง วัดจุฬามณี จ.สมุทรสงคราม
23. หลวงพ่อเอีย วัดบ้านด่าน จ.ปราจีนบุรี
24. หลวงพ่อผิว วัดสง่างาม จ.ปราจีนบุรี
25. หลวงพ่อสว่าง วัดท่าพุทรา จ.กำแพงเพชร
26. หลวงพ่อแพ วัดพิกุลทอง จ.สิงห์บุรี
27. พระอาจารย์ผ่อง จินดา วัดสามปลื้ม กรุงเทพมหานคร
28. หลวงพ่อชื่น วัดตำหนักเหนือ จ.นนทบุรี
29. หลวงพ่อลมูล วัดเสด็จ จ.ปทุมธานี
และ ฯลฯ
พระสวดคาถาพุทธาภิเษก-สวดคาถาจักรพรรดิ์ตราธิราช และสวดภาวณา 12 รูป พระคณาจารย์สวดคาถาดับเทียนชัย และเจริญพระพุทธมนต์ฉลอง 29 รูป โดยมีท่านเจ้าประคุณสมเด็จพระวันรัต วัดพระเชตุพน เป็นองค์ประธานจุดเทียนชัย และ ฯพณฯจอมพลถนอม กิตติขจร เป็นประธานจุดเทียนชัยบูชาพระรัตนตรัย ท่านเจ้าคุณพระธรรมรัตนากร วัดมหาธาตุ เป็นประธานดับเทียนชัย ท่านพลตรี ศรีศักดิ์ ธรรนรักษ์ ผู้ว่าราชการปราจีนบุรี เป็นประธานบวงสรวงดวงพระวิญญาณสมเด็จพระนเรศวรมหาราช

พุทธคุณเด่นในด้านเมตตามหานิยม แคล้วคลาด ปลอดภัยพุทธคุณจึงแรงมากๆๆๆ และมีประสบการณ์สูงมาก จึงเหมาะมากสำหรับผู้ที่อยากให้ตำแหน่งหน้าที่การงานเจริญเติบโตก้าวหน้า หรือ ผู้ที่มีใจใฝ่ทางด้านการเสี่ยงโชคลาภทุกชนิด ควรมีไว้บูชาพกพาติดตัวไว้เป็นอย่างเนืองนิจ ทั้งผู้ที่นิยม และศรัทธา รวมไปถึงผู้นำ นักการปกครอง ผู้บังคับบัญชา หรือ นักบริหารทุกระดับชั้น ข้าราชการทุกตำแหน่ง ทุกประเภทไม่ว่าชั้นผู้ใหญ่ ชั้นผู้น้อย นายทหารทุกเหล่าทัพ (โดยเฉพาะผู้ปฏิบัติภารกิจอยู่ใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้) ตำรวจ ครูบาอาจารย์ นักพูด นักขาย (ที่ต้องหายอดลูกค้า) นักเจรจา ดารา นักร้อง นักแสดง ผู้ที่ต้องปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นทุกประเภท นักกีฬาทุกประเภท นักทำมาหากินทุกประเภท มนุษย์เงินเดือน ผู้ที่ต้องแข่งขันกับผู้อื่น ไม่ว่าทั้งโดยตรง หรือโดยอ้อม พ่อค้า แม่ค้า ประชาชนทั่วไป ก็ไม่ควรพลาดเช่นกัน ควรมีไว้บูชาเป็นอย่างยิ่ง

พุทธคุณแรงเกินราคา คุ้มค่ามากๆๆๆ กับความปลอดภัยในชีวิต ร่างกาย ทรัพย์สิน การมีชื่อเสียง ตำแหน่งที่สูงขึ้น การมีโชคลาภขั้นสูง มหาเสน่ห์ มหานิยมที่รุนแรง การชนะเหนือคู่แข่งขันทั้งหลาย ฯลฯ เป็นต้น
ขอบคุณท่านเจ้าของบทความข้อมูลที่มาอย่างสูงครับ

เหรียญพระแก้วมรกตให้บูชา 500 บาทครับ
จัดส่ง30บาทflashหรือ j&tEMS50บาทครับ
โรง พยาบาลธรรมศาสตร์เปิดเสาร์อาทิตย์ไหม
โรง พยาบาลธรรมศาสตร์เปิดเสาร์อาทิตย์ไหม

 

หลวงพ่อผัน วัดราษฎร์เจริญ(วัดแปดอาร์) ต.หนองแขม อ.หนองแค จ.สระบุรี หลวงพ่อผัน (พระครูสรกิจพิจารณ์) ท่านเกิดเมื่อวันศุกร์ที่ ๑๖ มิถุนายน ๒๔๕๔ ปีกุน ณ บ้านหนองแขม หมู่ ๑ ต.หนองแขม อ.หนองแค จ.สระบุรี


อุปสมบทเมื่อวันที่ ๒๖ เมษายน ๒๔๗๔ ณ พัทธสีมาวัดหนองโสน ต.สนับทึบ อ.วังน้อย จ.พระ นครศรีอยุธยา โดยมี พระครูนิเทศธรรมคาถา วัดบ้านสร้าง เป็นพระอุปัชฌาย์ เจ้าอธิการจาด วัดวงษ์สวรรค์ เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระอธิการหนู วัดบ้านสร้าง เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้รับฉายาว่า "จิณฺณธมฺโม" หลังจากนั้นได้มาจำพรรษาที่วัดราษฎร์เจริญ


ในช่วงที่ หลวงพ่อผัน เข้ารับตำแหน่งเจ้าอาวาสครั้งแรก สภาพของวัดราษฎร์เจริญทรุดโทรมอย่างหนัก อาคารเสนาสนะต่างๆ ชำรุดมาก หลวงพ่อก็ได้บูรณปฏิสังขรณ์จนดีขึ้นตามลำดับ และมีความเจริญรุ่งเรืองครบถ้วนสมบูรณ์ในทุกๆ ด้าน หลวงพ่อผัน เป็นพระเถราจารย์ผู้มีประพฤติตามพระธรรมวินัยอย่างเคร่งครัด ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบมาโดยตลอด และปฏิบัติกิจการพระศาสนาอย่างถูกต้อง


อีกทั้งท่านยังมีเมตตาธรรมใน การปกครองคณะสงฆ์ งานด้านต่างๆ เช่น งานสาธารณูปการณ์ การก่อสร้างศาสนวัตถุต่างๆ ภายในวัด ท่านก็ได้เป็นผู้นำดำเนินการก่อสร้างเพื่อประโยชน์แก่พระศาสนาและพุทธ ศาสนิกชนมากมาย


เช่น ก่อสร้างอุโบสถ ศาลาการเปรียญ หอสวดมนต์ วิหารกุฏิ ฌาปนสถาน ซุ้มประตูหน้าวัด กำแพงรอบวัด เพื่อให้เกิดประโยชน์ในการใช้สอยและความสวยงาม ร่มรื่นเป็นระเบียบเรียบร้อยในทุกๆ ด้าน
นอกจากนี้ ท่านยังได้สนับสนุนในการก่อสร้างอาคารเรียนของ

โรงเรียนวัดราษฎร์เจริญ เพื่อประโยชน์แก่ลูกหลานชาวบ้าน ตลอดทั้งให้ความเอื้อเฟื้อแก่ชุมชนชาวบ้านทุกครัวเรือน
หลวงพ่อผันเป็นพระสุปฏิปัณโณ ผู้มีเมตตาธรรมสูง มีศีลบริสุทธิ์ ปฏิบัติกิจของพระศาสนาอย่างดีเยี่ยม จนเป็นที่เคารพนับถือของพุทธศาสนิกชนทั่วไปทั้งใกล้และไกล


และที่สำคัญอย่างยิ่งคือ หลวงพ่อผัน ท่านเป็นพระเกจิอาจารย์ที่มีชื่อเสียงโด่งดังมากท่านหนึ่งของ จ.สระบุรี ที่พุทธศาสนิกชนทั่วไปให้ความเคารพนับถือ และเลื่อมใสศรัทธาเป็นอย่างมาก


หลวงพ่อปฏิบัติตัวเป็นพระของ ชาวบ้านอย่างแท้จริง ไม่ถือตัว ไม่เลือกชั้นวรรณะ เวลามีญาติโยมมานิมนต์ให้ท่านไปงานบุญกุศลต่างๆ ท่านจะสนองศรัทธาถ้วนทั่วทุกบ้านเรือน โดยไม่ถือว่าจะเป็นบ้านของคนมั่งมี หรือบ้านของคนยากจน ท่านให้ความเสมอเหมือนกันหมด
ส่วนจตุปัจจัยที่ท่านได้รับ จากการที่มีผู้ศรัทธาถวาย ท่านจะนำมาก่อสร้างถาวรวัตถุ เสนาสนะต่างๆ ภายในวัดราษฎร์เจริญ จนหมดสิ้น ไม่เก็บสะสมไว้เป็นสมบัติส่วนตัวแต่ประการใด จึงทำให้วัดมีความมั่นคงอยู่จนทุกวันนี้


หลวงพ่อได้ละสังขารไปเมื่อ วันที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๔๘สิริรวมอายุ ๙๔ ปี และได้เกิดปาฏิหาริย์พิเศษ คือ สรีระของหลวงพ่อ ไม่ปรากฏอาการเน่าเปื่อยแต่อย่างไร กลับแข็งเหมือนหิน มีลักษณะเป็นสีขาวเหมือนแป้ง


ขณะเดียวกัน ได้ปรากฏในเวลาต่อมาว่า ทั้งเส้นผม และเล็กมือเล็บเท้าของหลวงพ่อได้งอกยาวออกมาจากเดิมอีกด้วย วัดจึงเก็บรักษาสรีระของหลวงพ่อไว้ในหีบแก้ว โดยตั้งบำเพ็ญกุศลเพื่อให้ศรัทธาสาธุชนทั่วไปสักการบูชาจนถึงทุกวันนี้


ในส่วนวัตถุ มงคล หลวงพ่อผัน ท่านได้สร้างไว้หลายรุ่น ล้วนมีความเข้มขลังศักดิ์สิทธิ์ในทุกๆ ด้าน ที่นิยมกันมาก คือ เหรียญรุ่นแรก ปี ๒๕๐๕ เป็นเหรียญเสมา รูปหลวงพ่อนั่งสมาธิเต็มองค์ ออกเนื่องในโอกาสได้รับพระราชทานสมณศักดิ์


และเหรียญที่สร้างความโด่ง ดังให้หลวงพ่อมากเป็นพิเศษ คือ เหรียญรุ่นแทงคอหมู เป็นเหรียญรูปหลวงพ่อนั่งสมาธิเต็มองค์ อยู่ในซุ้มใบเสมา คล้ายๆ กับเหรียญรุ่นนั่งพานของพระเกจิอาจารย์บางท่าน เหรียญนี้ออกในโอกาสบูรณปฏิสังขรณ์วัด ปีใดไม่แน่ชัด
สาเหตุที่ได้เรียกเหรียญรุ่นนี้ว่า "รุ่นแทงคอหมู" เนื่อง มาจากสมัยที่เหรียญรุ่นนี้ออกให้ทำบุญใหม่ๆ มีชาวบ้านคนหนึ่งได้รับเหรียญนี้มา แล้วเอาเหรียญใส่ไว้ในซองยาทัมใจ จากนั้นจึงเอาซองยาใส่ลงในกระเป๋าเสื้อตัวเอง


ชาวบ้านคนนี้มีหน้าที่แทงคอหมู เพื่อชำแหละส่งขายตลาด วันนั้นหลังจากได้รับเหรียญหลวงพ่อผันแล้ว ก็ยังคงทำหน้าที่เพชฌฆาตตามปกติ
ขณะที่เขาแบกหมูเอาไว้บนบ่า แล้วเหวี่ยงตัวหมูลงบนโต๊ะ เพื่อที่จะฆ่านั้นเอง ซองยาในกระเป๋าเสื้อของเขา ได้หลุดลอยตกลงบนโต๊ะฆ่าหมูก่อนแล้ว ทำให้ตัวหมูทับซองยานั้นพอดี


จากนั้นเขาได้เอามีดปลายแหลมแทงเข้าที่คอหมู เหมือนอย่างที่เคยทำมาเป็นประจำ แต่วันนั้น...เกิด เหตุการณ์ประหลาด เพราะปลายมีดอันคมกริบ ไม่สามารถจะแทงคอหมูเข้าได้เลย จึงเปลี่ยนมุมแทงอีกด้านหนึ่ง ก็ปรากฏแทงไม่เข้าเหมือนเดิม
เขาแปลกใจมาก จึงพลิกตัวหมูขึ้นมา ก็พบกับ ซองยาทัมใจที่ใส่เหรียญหลวงพ่อผัน ตกอยู่ใต้ตัวหมู จึงรู้ได้ทันทีว่า ที่แทงคอหมูไม่เข้า เพราะเหรียญหลวงพ่อผัน นี่เอง


ตกลงว่า หมูตัวนั้น...รอดตายราวปาฏิหาริย์ และที่น่ายินดีอีกอย่าง คือ ชายคนนั้นเลิกอาชีพฆ่าหมูอีกต่อไป
ปาฏิหาริย์เรื่อง "แทงคอหมู" ของ เหรียญหลวงพ่อผัน รุ่นนี้ลือกระฉ่อนไปทั่วหมู่ลูกศิษย์ และผู้เคารพศรัทธาในหลวงพ่อผัน ต่อมาได้ขยายสู่แวดวงนักสะสมพระเครื่องโดยทั่วไป จนทุกวันนี้ เหรียญรุ่นแทงคอหมู กลายเป็นเหรียญหายาก และมีราคาเช่าหาแพง อีกเหรียญหนึ่งของ...พระเกจิอาจารย์ดังแห่งเมืองสระบุรี



โรง พยาบาลธรรมศาสตร์เปิดเสาร์อาทิตย์ไหม






โรง พยาบาลธรรมศาสตร์เปิดเสาร์อาทิตย์ไหม




https://www.tnews.co.th/contents/19...เมืองสระบุรีผู้ที่มีเเต่ความเมตตา(มีคลิป-ภาพ)

ขอขอบคุณท่านเจ้าของบทความข้อมูลที่มาอย่างสูงครับ

พระผงผสมเกษาหลวงพ่อผัน วัดแปดอา สระบุรี
ให้บูชา200บาทค่าจัดส่ง 30 บาทFLASH หรือ J EMS50 บาทครับ

โรง พยาบาลธรรมศาสตร์เปิดเสาร์อาทิตย์ไหม
โรง พยาบาลธรรมศาสตร์เปิดเสาร์อาทิตย์ไหม

 

โรง พยาบาลธรรมศาสตร์เปิดเสาร์อาทิตย์ไหม


…..พระครูมงคลคำภีรคุณ หรือ หลวงปู่คำแดง ฐานทัตโต เป็นพระเกจิ อาจารย์แห่งเมืองดอกบัว เชี่ยวชาญวิทยาคมเป็นที่เลื่องลือ
หลวงปู่คำแดง สิริอายุ 91 ปี พรรษา 24 ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดคัมภีราวาส บ้านนาพิน ต.นาพิน อ.ตระการพืชผล จ.อุบลราชธาน
นามเดิม คำแดง พึ่งบารมี เกิดเมื่อวันที่ 13 ธ.ค.2465 ตรงกับวันพุธ แรม 10 ค่ำ เดือนอ้าย ปีจอ ณ บ้านเลขที่ 31 หมู่ 10 ต.นาพิน อ.ตระการพืชผล จ.อุบลราชธานี บิดา-มารดา ชื่อ นายถาวรและนางใหม่ พึ่งบารมี มีพี่น้องร่วมท้องเดียวกัน 8 คน
มีเรื่องเล่าว่า ก่อนท่านมาเกิด นางใหม่ ผู้เป็นมารดาฝันว่ามีพระธุดงค์เดินมามอบหนังสือใบลานก้อมให้แล้วเดินจากไป ต่อจากนั้น นางใหม่ก็ตั้งครรภ์ 10 เดือน ก่อนคลอดเด็กทารกเพศชายตัวเล็ก สุขภาพไม่แข็งแรง บิดาจึงเอาไปถวายพระอาจารย์ใหม่ บัวแดง ให้ท่านผูกข้อมือรับเป็นพ่อบุญธรรม
ครั้นอายุ 9 ขวบ เข้าโรงเรียนประชาบาล ต.นาพิน จบชั้น ป.4 สอบชิงทุนได้ นายฮง มณีภาค ศึกษาอำเภอ ได้ส่งไปเรียนที่โรงเรียนกสิกรรม (ท่าวังหิน) แต่นายถาวร ผู้บิดาขอสละสิทธิ์ นำบุตรชายให้บรรพชาเป็นสามเณร เมื่อปี พ.ศ.2479-2499 อยู่วัดคัมภีราวาส
พ.ศ.2480 ย้ายไปอยู่จำพรรษาวัดสิงหาญสะพือ กับพระอุปัชฌาย์ พ.ศ.2481 ออกเดินธุดงค์ไปอยู่ภูขาม แล้วไปจำพรรษาอยู่วัดบูรพา ในเมืองอุบลราชธานี
พ.ศ.2481 อยู่ ต.นาจิก จ.อำนาจเจริญ สามารถสอบนักธรรมชั้นโทได้
ครั้นอายุครบ 20 ปีบริบูรณ์ เข้าพิธีอุปสมบท ณ วัดฉิมพลี อ.เมือง จ.สกลนคร
หลังอุปสมบทได้เดินทางไปปฏิบัติธรรมและศึกษาพระธรรมวินัยในหลายจังหวัดทางภาคอีสาน ก่อนกลับมาจำพรรษาที่วัดศรีโพธิ์ชัย พ.ศ.2486 เรียนบาลีไวยากรณ์อยู่
พ.ศ.2491 ย้ายไปเรียนบาลีไวยากรณ์ อยู่วัดกลาง อำเภอเขมราฐ
ในปี พ.ศ.2501 ย้ายมาอยู่จำพรรษา วัดพาราณสี ต.นาพิน แต่ท่านบวชได้เพียง 6 ปี ท่านตัดสินใจลาสิกขาไปใช้ชีวิตแบบฆราวาส
เมื่อวันที่ 6 ส.ค.2530 นายคำแดง ป่วยหนักพวกญาตินำส่งโรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จ.อุบลราชธานี หมอผ่าตัดถุงน้ำดี หลังจากนั้น ท่านได้หายป่วย หลังผ่านเหตุการณ์ครั้งนี้ ท่านจึงเริ่มนึกปลงชีวิต ตัดสินใจหันหน้าเข้าสู่ทางธรรมอีกครั้ง ตัดสินใจอุปสมบท เมื่อวันที่ 31 ม.ค.2532 ที่วัดกุญชราราม ต.ขุหลุ อ.ตระการพืชผล มี พระครูไพโรจน์ปรีชากร เป็นพระอุปัชฌาย์, พระครูภัทรญาณปยุต เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และพระครูสิริธรรมมากร เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้รับฉายา ฐานทัตโต
ภายหลังอุปสมบท พระคำแดง ได้ออกธุดงควัตรไปสร้างวัดบ้านโนนฮาง หมู่ที่ 9 ต.นาพิน อ.ตระการพืชผล พ.ศ.2533 สามารถสอบได้เปรียญธรรมประโยค 1-2 พ.ศ.2538 สอบได้เปรียญธรรมประโยค 3
จากนั้น พ.ศ.2541 ท่านได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสวัดคัมภีราวาสจนกระทั่งถึงปัจจุบัน
หลวงปู่คำแดง เป็นพระเกจิอาจารย์ที่เปี่ยมไปด้วยความเมตตายามได้รับกิจนิมนต์ไปงานบุญต่างๆ ท่านไม่เคยปฏิเสธ แม้ว่าท่านจะย่างอายุเข้าสู่วัยชราและมีปัญหาด้านสุขภาพตามวัย
ส่วนงานกิจนิมนต์ในพิธีพุทธาภิเษกวัตถุมงคลตามวัดต่างๆ ท่านต้องเดินทางเข้าร่วมพิธีเสมอ แม้นจะไกลหรือจะเหน็ดเหนื่อยเพียงใด ท่านก็มีความสุขที่ได้ปฏิบัติเช่นนั้น ศิษย์ผู้คอยดูแลปรนนิบัติก็ไม่สามารถทัดทานได้
ส่วนวัตถุมงคลรุ่นต่างๆ ที่ท่านได้สร้างและอธิษฐานจิตปลุกเสกนั้น ล้วนแล้วแต่มีประสบการณ์เล่าขาน วัตถุมงคลหลายรุ่นที่ท่านอธิษฐานจิตปลุกเสกได้รับความนิยมจากนักสะสมอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็น เหรียญ รูปเหมือน หรือเครื่องรางของขลังต่างๆ
ขอขอบคุณท่านเจ้าของบทความข้อมุลที่มาอย่างสูงครับ

พระผงรูปเหมือนผสมเกษาหลวงปู่มหาคำแดง ให้บูชา200บาทค่าจัดส่ง 30 บาทFLASH หรือ J EMS50บาทครับ
โรง พยาบาลธรรมศาสตร์เปิดเสาร์อาทิตย์ไหม
โรง พยาบาลธรรมศาสตร์เปิดเสาร์อาทิตย์ไหม

 

โรง พยาบาลธรรมศาสตร์เปิดเสาร์อาทิตย์ไหม

ประวัติหลวงปู่สนิท วัดลำบัวลอย
นามเดิมท่านชื่อ นายสนิท มีพงษ์
กำเนิดเมื่อวันที่ 9 เมษายน 2468 ( ในแผ่นดินรัชกาลที่ 6 )

บิดาชื่อ นายบุญ มีพงษ์
มารดาชื่อ นางเรือง มีพงษ์
มีพี่น้อง จำนวน 7 คน ท่านเป็นบุตร คนที่ 4
1. นางบุญเรือน
2. นางทองชุบ
3. นางละม้าย
4. พระครูวรเวทย์นิวิฐ (หลวงพ่อสนิท)
5. นางจิต
6. นางลำจวน
7.นางเตี้ย
บ้านที่อยู่เดิม บ้านวังชัน ต.วังกุ้ง อ.ศรีมหาโพธิ์ จ.ปราจีนบุรี
กำพร้ามารดาเมื่อยังเยาว์วัย ต่อมาบิดา ถึงแก่กรรมได้ย้ายมาอยู่กับพี่สาวที่
บ้านลำบัวลอย ตำบลท่าเรือ อำเภอปากพลี จังหวัดนครนายก
เมื่ออายุครบบวชท่านได้บวชที่วัดท่าเรือ วันที่ 28 เมษายน พ.ศ.2490
โดยมีท่าน พระครูอุทัยธรรมธารี ( หลวงพ่อตี่ สุริยวงศ์สวัสดี ) วัดท้าวอู่ทอง
จังหวัดปราจีนบุรี เป็นพระอุปัชฌาย์ พระอธิการจรูญ เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระอธิการทองพูน เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้รับ ฉายา " ยสินธโร"
และได้จำพรรษา อยู่ที่วัดลำบัวลอยซึ่งวัดนี้ตั้งมาตั้งแต่ปี 2480 ยังเป็นวัดเล็กๆตั้งอยู่กลางทุ่งนา ระหว่างวัดเกาะกา ( ตั้งอยู่บ้านเกาะกา หมู่ที่ 1 ตำบลท่าเรือ อำเภอบางพลี จังหวัดนครนายก ) ขณะนั้นวัดลำบัวลอย ยังอยู่ในถิ่นทุรกันดาร และ การคมนาคม ก็ยังไม่สะดวกสบาย เหมือนดังทุกวันนี้ เพราะเพิ่งเสร็จสิ้นสงครามโลกครั้งที่ 2 และ สงครามมหาเอเซียบูรพา

ประวัติการศึกษาของหลวงปู่สนิท วัดลำบัวลอย

ด้านปริยัติธรรม
เมื่อหลวงปู่สนิท อุปสมบทแล้วจึงเดินทางกลับวัดลำบัวลอย เป็นยุคที่วัดลำบัวลอยเสื่อมโทรมถึงที่สุด เพราะเจ้าอาวาสลาสิกขาบทไป เหลือแต่พระภิกษุหนุ่มและสามเณรน้อยดูแลความประพฤติกันเอง โดยมีภิกษุเพียง 2 พรรษา เป็นผู้ควบคุมดูแลหมู่คณะ ให้บังเกิดความสวยงามแห่งสมณะวิสัย
เมื่อหลวงปู่สนิทครั้งยังเป็นหนุ่ม ภิกษุนวกะไม่ได้นิ่งนอน ทำวัตรสวดมนต์เสร็จกิจก็ท่องเจ็ดตำนาน สิบสองตำนาน ครบถ้วนกระบวนความซึ่งเป็นเครื่องยังชีพ ที่ต้องออกไปสวด มนต์ฉลองศรัทธา ญาติโยม ที่มานิมนต์ นอกจากปัจจัยสี่ ประกอบด้วย ที่อยู่อาศัย เครื่องนุ่งห่ม อาหาร ยรักษาโรค นอกจากร่ำเรียนเจ็ดตำนาน สิบสองตำนานแล้ว หลวงปู่ยังคงค้นคว้าร่ำเรียนพระธรรมวินัย อันเป็นคำสั่งสอนของเวไนยสัตว์ ให้หลุดพ้นจากกิเลสเครื่องตรึงรัดมัดจิตใจ ให้หลงในลาภ สักการะ และยศถาบรรดาศักดิ์ ต่างๆ และ เรียนรู้กฎระเบียบแห่งการปกครอง และคำบัญญัติ ข้อห้ามของพระภิกษุ สามเณร แต่ว่าไม่ได้สอบนักธรรม ในพรรษาแรก
ในปี 2496 หลังจากหลวงปู่สนิท อุปสมบท ได้ 6 พรรษา หลวงปู่สนิท ได้สอนพระเณร ภายในวัด จนสอบได้นักธรรมตรี หลายองค์ ทางพระเถระชั้นผู้ใหญ่ก็ให้หลวงปู่สนิท สอบนักธรรม สนามหลวง หลวงปู่สนิท จึงลงสอบนักธรรมที่สนามหลวง ผ่านถึงนักธรรมชั้นโท ในปีหลังๆต่อมาท่านก็ไม่ได้เข้าร่วมสอบอีก คงรับหน้าที่ สั่งสอนพระ ลูกศิษย์ ลูกหาตลอดมา ส่วนการภาวนาปฎิบัติวิปัสสนากรรมฐาน อุบายของท่านไม่ยุ่งยากอะไรเลย เพียงแต่ให้รู้จัก ถอนใจออกจากตัว อันเป็นสิ่งยึดเหนี่ยวว่า ตัวกูของกู และ รู้จักทำใจให้เกิดความวิเวก แค่นี้พอ ถ้าท่านผู้ใด ปฎิบัติได้เพียงเท่านี้ ก็ถือว่าท่านได้สำเร็จ ไปขั้นหนึ่งแล้ว

ด้านพระเวทย์วิทยาคม
หลวงปู่สนิท มีความสนใจทางโหราศาสตร์ และทางไสยศาสตร์ จึงได้เสาะหาอาจารย์ เพื่อร่ำเรียน คัมภีร์เลขยันต์ คาถาอาคม สรรพวิทยาคุณต่างๆ และ แพทย์แผนโบราณ จนแตกฉาน ชำนิ ชำนาญ ในการแก้คุณไสย การถูกกระทำย่ำยีจากศัตรู รอบรู้การแก้ สรรพพิษ ยาเบื่อ ยาเมา ยาสั่ง ตลอดจนคนที่มีอาการผิดปกติ ทางประสาท ท่านก็เมตตารักษา โดยท่าน ไปขอร่ำเรียนจากครูบาอาจารย์ดังต่อไปนี้
1. พระอาจารย์เส็ง ซื่อสัตย์ วัดสันทรีย์ วิชาจระเข้
2. พระครูอุทัยธรรมธารี (หลวงพ่อตี่ สุริยวงศ์สวัสดี) วัดท้าวอู่ทอง จ.ปราจีนบุรี วิชาแพทยแผนโบราณ
3.หลวงพ่อทองดำ วัดโคกหม้อ จ.นครสวรรค์ เรียนวิชาวิทยาคม และ ตำรายาไทย การสูญฝี และ การรักษาโรคต่างๆ
4,หลวงพ่อดำ วัดกุฎิ หรือ วัดศรีมงคล ชื่อเดิม คือ วัดกฎิศรีธรรม จ.ปราจีนบุรี เจ้าตำหรับ การสร้างพระปิดตา ตะกั่วดำ พิมพ์ปักเป้า อันลือเลื่อง การป้องกันยาสั่ง และ คงกระพันชาตรี
และ หลวงปู่ยังได้ เก็บสะสมตำราพระเวทย์ ของ ครูบาอาจารย์ แต่ก่อนเก่าอีกมากมาย ซึ่ง ท่านก็ได้ ศึกษา สอบทาน และมาช่วยสงเคราะห์ แก่ญาติโยม ที่ต้องการที่พึ่งทางใจ ในยุค ที่บ้านเมือง เต็มไปด้วยชุมโจร และ การรักษาพยาบาล ที่ทางการเข้าไปดูแลประชาชน ไม่ทั่วถึง หลวงปู่ได้ใช้สรรพวิชาที่เรียนมา ช่วยดูแลให้เขาเหล่านั้น หายจากโรคภัยไข้เจ็บ กลับไปประกอบอาชีพได้ดังเดิม.......
............................................................................................................
ข้อมูลจากจากหนังสือ เปิดตำนาน สุดยอดวัตถุมงคล หลวงปู่สนิท เล่ม 1
http://watlumbualoy.com/news-detail_3238_12025

พระอาจารย์เส็ง ซื่อสัตย์ วัดสันทรีย์ ปรมาจารย์ สอนวิชาจระเข้โทนแก่ หลวงปู่สนิท วัดลำบัวลอย


เมื่อครั้งสมัยหนุ่มแน่นนั้น หลวงปู่สนิท ยสินธโร เดินทางไปปราจีนบุรี เสาะหาอาจารย์ชื่อดังที่สร้างและปลุกเสก "จระเข้โทน" ก็ได้พบกับ พระอาจารย์เส็ง วัดสันทรีย์ ซึ่งมีศักดิ์ เป็นหลวงลุง ของหลวงปู่สนิท เมื่อได้พบกันแล้ว หลวงปู่สนิทจึงขอฝากตัวร่ำเรียนวิชาจระเข้โทน จนสำเร็จแล้ว ซึ่งต่อมาในบั้นปลายชีวิต ของหลวงปู่เส็ง ได้สึกออกมาเป็นฆราวาส ประกอบวิชาแพทย์แผนโบราณ รักษาผู้ป่วยที่มาเจ็บไข้ไม่สบาย ในละแวกบ้านลำบัวลอย

หลวงปู่สนิทเคยเล่าให้ฟังว่า แรกๆท่านไม่เคยเชื่อเรื่องนี้เลย หลวงปู่เส็ง จึงพาท่านไปที่ริมแม่น้ำ และ หยิบจระเข้ออกจากย่ามมา 4 ตัว เป็นเนื้อไม้ทองหลาง เนื้อไม้คูณ จากนั้นหยิบมาบริกรรมพระคาถา สักพักและโยนลงน้ำ ทั้ง 4 ตัว สักพักเห็นเป็น จระเข้ใหญ่ๆ 4 ตัวลอยขึ้นเหนือน้ำ น่าเกรงขามมาก เพราะทุกตัวขยับเขยื้อนเหมือนมีชีวิตจริง สักพักหลวงลุงเส็ง เอามือตบที่ริมตลิ่งเบาๆ เพียงไม่นานจระเข้เหล่านั้นก็คลานเข้ามาใกล้ๆ แล้วก็กลายร่างเป็นจระเข้ ไม้ตามเดิม แต่คราวนั้น จระเข้ที่ว่ายกลับมาจริงๆ แค่ 2 ตัว ส่วนอีกสองตัวหายไปไม่กลับมา มองหาไปหามาก็ไม่เจอ หลวงลุงเส็งจึงบอกว่า จระเข้อาคมนี้จะอยู่ได้เพียง 7 วันหลังจากนั้นจะกลับกลายเป็นไม้ตามเดิม....

ขอขอบคุณท่านเจ้าของบทความข้อมุลที่มาอย่างสูงครับ
พระผงประธานพรหลวงพ่อสนิท วัดลำบัวลอย ปี ๒๕๒๒
ให้บููชา250 บาทค่าจัดส่ง 30 บาทFLASH หรือ J EMS50บาทครับ

โรง พยาบาลธรรมศาสตร์เปิดเสาร์อาทิตย์ไหม
โรง พยาบาลธรรมศาสตร์เปิดเสาร์อาทิตย์ไหม

 

วัดพระพุทธบาทตากผ้า ต.มะกอก อ.ป่าซาง จ.ลำพูน

ข้อมูลจากเวบพระรัตนตรัย โพสท์โดย prt เมื่อ วันอังคาร 21 มิถุนายน 2005

โรง พยาบาลธรรมศาสตร์เปิดเสาร์อาทิตย์ไหม


โรง พยาบาลธรรมศาสตร์เปิดเสาร์อาทิตย์ไหม


นามเดิม : - พรหมา พิมสาร

กำเนิด : - วันอังคารที่ ๓๐ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๔๑ ขึ้น ๑๔ ค่ำ เดือน ๑๐ (เดือน ๑๒ เหนือ ปีจอ พ.ศ. ๒๔๔๑) ณ บ้านป่าแพ่ง อ.ป่าซาง จ.ลำพูน (ป่าซางปัจจุบัน)

บิดา - มารดา : - พ่อเป็ง พิมสาร และแม่บัวถา พิมสาร มีพี่น้องร่วมกัน ๑๓ คน ท่านเป็นคนที่ ๗ คือ

๑. พ่อน้อยเมือง พิมสาร

๒. เป็นเด็กหญิง

๓. แม่อุ้ย หล้าดวงดี

๔. พ่อหนานนวล พิมสาร

๕. พ่อหนานบุญ พิมสาร

๖. พระสุธรรมยานเถร (ครูบาอินทรจักรรักษา)

๗. พระสุพรหมยานเถร (ครูบาพรหมมา)

๘. พระครูสุนทรคัมภีรญาณ (ครูบาคัมภีระ วัดดอยน้อย)

๙. พ่อหนานแสง พิมสาร

๑๐. แม่ธิดา สุทธิพงศ์

๑๑. แม่นางหลวง ณ ลำพูน

๑๒. เด็กหญิงตุมมา พิมสาร (ถึงแก่กรรมตั้งแต่เด็ก)

๑๓. นางแสนหล้า สุภายอง

โรง พยาบาลธรรมศาสตร์เปิดเสาร์อาทิตย์ไหม

ครูบาอินทจักรรักษา วัดน้ำบ่อหลวง เชียงใหม่
บิดามารดาเป็นผู้มีฐานะพอมีอันจะกิน มีอาชีพทำนา ทำสวน ประกอบสัมมาอาชีวะ ไม่มีการยิงนกตกปลา ไม่เลี้ยงเป็ดเลี้ยงไก่ และไม่มีการเลี้ยงหมูขาย มีความขยันถี่ถ้วนในการงาน ปกครองลูกหลานโดยยุติธรรม ไม่มีอคติ หนักแน่นในการกุศล ไปนอนวัดรักษาศีลอุโบสถเป็นประจำทุกวันพระ

บิดาท่านได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุ ได้ถึงแก่กรรมในสมณเพศเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๘๔ อายุ ๙๐ ส่วนมารดาของท่านได้นุ่งขาวรักษาอุโบสถศีลทุกวันพระตลอดอายุ ได้ถึงแก่กรรมเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๗๗ อายุ ๗๐

เมื่อเด็กชายพรหมาวัยพอสมควรได้ช่วยพ่อแม่ทำงาน ทำนา ทำสวน เลี้ยงวัว เลี้ยงควาย งานประจำคือตักน้ำ ตำข้าว ปัดกวาดทำความสะอาดบ้านเรือนเป็นการตอบแทนบุญคุณของบิดามารดาเท่าที่พอจะทำได้ตามวิสัยของเด็ก

การศึกษา :

- ท่านครูบาพรหมมาได้เรียนหนังสืออักษรลานนาและไทยกลางที่บ้านจากพี่ชายที่ได้บวชเรียนแล้วได้สึกออกไป เพราะสมัยนั้นตามชนบทยังไม่มีโรงเรียนสอนกันอย่างปัจจุบันแม้แต่กระดาษจะเขียนก็หายาก ผู้สอนคือพี่ชายก็มีงานมาก ไม่ค่อยได้อยู่สอนเป็นประจำ จึงเป็นการยากแก่การเล่าเรียน อาศัยความตั้งใจและความอดทนเป็นกำลังจึงพออ่านออกเขียนได้

เหตุบรรพชา :

- อาศัยที่ได้ติดตามบิดามารดาไปวัดบ่อยๆ ได้เห็นพระภิกษุสามเณรอยู่ดีกินดี มีกิริยาเรียบร้อยก็เกิดความเลื่อมใส ยิ่งได้เห็นพระพี่ชายที่บวชอยู่หลายรูปพากันมาฉันข้าวที่บ้านยิ่งเพิ่มความเลื่อมใสยิ่งขึ้น

ต่อมาท่านก็จำได้ว่าปีนั้นเป็นปีชวด ปี พ.ศ. ๒๔๕๕ เป็นปีที่สงครามโลกครั้งที่ ๑ กำลังจะเกิด ปีนั้นดินฟ้าอากาศก็วิปริตผิดปกติ บ้านเรือนแห้งแล้ง ข้าวยากหมากแพง ผู้คนต่างถูกทุพภิกขภัยเบียดเบียนระส่ำระสาย ทั้งทางราชการก็เร่งรัดเกณฑ์ผู้คนไปเป็นทหารกันวุ่นวาย ท่านได้เห็นเหตุการณ์ดังนั้นก็รู้สึกไม่สบายใจ จึงน้อมใจไปในการบวชมากขึ้น ประกอบกับได้เห็นพวกเพื่อน ๆ ที่อยู่บ้านใกล้เรือนเคียงหนีไปบวชกันแทบทุกวัน จะเป็นการบวชหนีทหารหรือบวชผลาญข้าวสุก หรือบวชเพื่อความพ้นทุกข์อย่างไรไม่ทราบ

บรรพชา :

- เมื่อวันจันทร์ที่ ๒๔ เมษายน พ.ศ. ๒๔๕๕ เวลา ๑๕.๐๐ น. อายุ ๑๕ ปี ท่านถือผ้าจีวรกับดอกไม้ธูปเทียนลงจากเรือนไปด้วยความอาลัยบิดามารดาเป็นที่สุด ขณะนั้นมีพี่ชายติดตามไปด้วย ครั้นไปถึงวัดป่าเหียง ตำบลแม่แรง อำเภอปากบ่วง (ป่าซางในปัจจุบัน) พระพี่ชายก็จัดการโกนหัวโกนคิ้วให้ แล้วบิดานำเด็กชายพรหมากราบขอบรรพชา ณ.วัดป่าเหียง ต.แม่แรง อ.ป่าซาง มีเจ้าอธิการแก้ว ขัตติโย เป็นพระอุปัชฌาย์

ครั้นพระอุปัชฌาย์มอบผ้ากาสาวพัสตร์ให้แล้ว ก็มีพระพี่ชายกับใครอีกท่านหนึ่งได้มาช่วยกันนุ่งห่มให้ ในขณะนั้นได้ก้มมองดูผ้ากาสาวพัสตร์อันเหลืองอร่าม อันเป็นธงชัยของพระอรหันต์ ก็เกิดความรู้สึกซาบซึ้ง นึกว่าเป็นบุญลาภอันประเสริฐ ที่ได้เกิดเป็นมนุษย์ พบพระพุทธศาสนา จะขอบวชอุทิศตนต่อพระพุทธศาสนาจนกว่าชีวิตจะหาไม่

เมื่อบวชแล้วพระอุปัชฌาย์ผู้เคร่งครัดในวินัยได้เมตตา แนะนำสั่งสอนศีลาจารวัตร พร้อมทั้งการปฏิบัติธรรม เมื่อเป็นสามเณรต้องท่องจำสวดมนต์ ๑๕ วาร ตั้งแต่ เยสันตา จนถึง มาติกามหาสมัย โดยเขียนใส่กระดานชนวนกว้าง ๑ คืบ ยาว ๑ ศอก กำหนดต้องท่องจำวันละ ๑ แป้น

ท่านว่าชั้นแรกรู้สึกหนักใจ เห็นตัวหนังสือเล็กขนาดอ่านจนไม่ถนัด นึกว่าเราจะจำได้หรือไม่หนอ แต่เมื่อตั้งใจท่องอย่างจริงจัง ก็ได้วันละ ๑ แป้นจริง ๆ แป้นนั้นท่านยังเก็บไว้เป็นอนุสรณ์

ขณะที่กำลังเรียนอยู่ได้พยายามหลีกเร้นหลบหนีหน้าคนอื่นเสมอ แม้เดินทางไปฉันข้าวยังบ้าน ก็พยายามไปคนเดียว เพื่อฉวยโอกาสสวดมนต์ไปตามทาง นอกจากนั้นสามเณรพรหมาได้เข้าโรงเรียนประชาบาล จนจบประถมศึกษาปีที่ ๓ ซึ่งเทียบกับประถมปีที่ ๔ สมัยนี้ เพราะเวลานั้นประถม ๔ ยังไม่มีสอนกัน

เมื่ออายุย่างเข้า ๑๗-๑๘ ก็ได้ศึกษานักธรรมตรีตามลำพัง เพราะเวลานั้นยังไม่มีโรงเรียนและครูสอน หนังสือเรียนก็หายาก มีเพียงนวโกวาทกับธรรมนิเทศและวินัยวินิจฉัย ๒-๓ เล่มเท่านั้น ครั้นรอบปีมา ทางจังหวัดก็จัดให้มีการสอบครั้งหนึ่ง เป็นการสอบเฉพาะจังหวัด เพราะทางคณะสงฆ์ยังไม่ได้เปิดสนามสอบอย่างสมัยนี้ ใครสอบได้ก็ออกประกาศนียบัตรรับรองให้ ทำกันอย่างนี้เป็นเวลา ๒ ปี

ต่อมาประมาณปี พ.ศ. ๒๔๕๙ จึงมีสำนักเรียนและครูสอนเป็นหลักแหล่ง โดนคณะสงฆ์ได้จัดตั้งสำนักเรียนที่วัดฉางข้าวน้อยเหนือ ซึ่งเป็นวัดเจ้าคณะอำเภอสมัยนั้น ท่านกับสามเณรมอน อินกองงาม ได้พากันเดินไปศึกษาตลอดพรรษา ซึ่งมีระยะทางไกลประมาณ ๓ กิโลเมตร ต้องเดินผ่านทุ่งนาการไปมาลำบากมาก ครั้นออกพรรษาแล้วก็ได้ย้ายไปอยู่วัดฉางข้าวน้อย เพื่อการศึกษาทั้งนักธรรมและวิชาสามัญ

อุปสมบท :

โรง พยาบาลธรรมศาสตร์เปิดเสาร์อาทิตย์ไหม

ท่านอธิการแก้ว ขัตติโย

วัดป่าเหียง

- อุปสมบทเมื่ออายุได้ ๒๐ ปี ณ พัทธสีมาวัดป่าเหียง อ.ป่าซาง จ.ลำพูน เมื่อวันที่ ๑๖ ม.ค. ๒๔๖๑ เจ้าอธิการแก้ว ขัตติโย (ครูบาขัตติยะ) เป็นพระอุปัชฌาย์ พระอาจารย์ฮอน โพธิโก เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระอาจารย์สม สุวินโท เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้รับฉายาว่า "พรหมจักโก"

เมื่อเป็นพระภิกษุท่านได้หมั่นเล่าเรียนศึกษาปฏิบัติ จนปี พ.ศ.๒๔๖๒ ทางการคณะสงฆ์ได้ทำการเปิดสอบนักธรรมสนามหลวงขึ้น ท่านก็ได้เข้าสอบนักธรรมสนามหลวง มีนักเรียนใน ๗ จังหวัดภาคพายัพ จำนวน ๑๐๐ รูป ได้มาสอบรวมแห่งเดียว จังหวัดลำพูนมีเข้าสอบ ๑๑ รูป ทำการสอบ ณ วัดเชตุพน จ.เชียงใหม่ พระมหานายกเป็นผู้นำข้อสอบมาเปิดสนามสอบ ในสมัยนั้นข้อสอบวิชาละ ๒๑ ข้อ ผลการสอบออกมามีผู้สอบได้ ๒ รูป คือครูบาพรหมา พรหมจักโก และพระทองคำ วัดเชตุพน นอกนั้นไม่ผ่าน สอบตกหมด นับว่าเป็นพระรูปแรกของจังหวัดลำพูนที่สอบได้

ท่านพระมหานายก (พระมหานายกคือ พระปลัดขวาของ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส) พร้อมคณะผู้นำข้อสอบมีความสนใจ ได้ติดตามมาถึงวัดป่าเหียง ซึ่งเป็นวัดเดิมของท่านพระภิกษุพรหมา ท่านพระมหานายกได้มาขอต่อพระอุปัชฌาย์และพ่อแม่พี่น้อง เพื่อจะรับไปศึกษาต่อที่กรุงเทพฯ แต่พระอุปัชฌาย์และพ่อแม่พี่น้อง ต่างก็เป็นห่วงเป็นใย ไม่อนุมัติให้ไป โดยอ้างเหตุผลไปต่างๆ นานา มีตอนหนึ่งพระอุปัชฌาย์ได้หันมากล่าวแก่ท่านครูบาพรหมาว่า "ถ้ารักตัวก็จงตั้งใจปฏิบัติธรรม" ท่านครูบาระลึกถึงคำพระอุปัชฌาย์ เรื่องก็ยุติลงไป

แต่ท่านก็รู้สึกเห็นใจ และขอบพระคุณพระมหานายกเป็นอย่างยิ่ง ที่ได้กรุณามาขอถึงที่อยู่ด้วยความหวังดี แต่ท่านก็รู้สึกน้อยเนื้อต่ำใจในตนเองที่มีบุญไม่ถึง จึงมีอุปสรรค ทำให้ไม่ได้ไปศึกษาต่อ ให้มีความรู้ทางธรรมเท่าที่ควร

ต่อนั้นมาท่านก็ได้ระลึกถึงคำพูดของพระอุปัชฌาย์ที่ว่า "ถ้ารักตัวก็จงตั้งใจปฏิบัติธรรม" นั้นยังก้องอยู่ในหู ท่านจึงได้พยายามศึกษาหาความรู้ทางด้านการปฏิบัติธรรม จากครูบาต่างๆ หลายๆ องค์ อาทิ ท่านพระครูพิทักษ์พลธรรม (ครูบาหวัน มหาวโน) และพระครูภาวนาภิรัต (ครูบาอินทจักโก) ซึ่งเป็นพระพี่ชายที่อยู่สำนักเดียวกัน ยิ่งกว่านั้นยังได้เดินทางไปศึกษาหาความรู้ ในข้อวัตรปฏิบัติธรรม จากครูบาอาจารย์อีกหลายท่านคือ ท่านครูบาแสน ญาณวุฑฒิ วัดหนองเงือก ท่านครูบาบุญมา ปารมี วัดกอม่วง และท่านครูบาอนุ ธัมมวุฑฒิ วัดพานิช เป็นต้น เพื่อนำมาประกอบการพิจารณาหาทางปฏิบัติที่ถูกต้อง พร้อมกับเวลานั้น ก็รู้สึกสังเวชในชีวิตของตน เนื่องด้วยชีวิตเป็นของไม่แน่นอน ความตายเป็นของแน่นอน ก่อนที่ยังไม่ถึงแก่ความตายนี้ ขอให้ได้บำเพ็ญสมณธรรมไว้ให้เต็มความสามารถ จะเป็นที่อุ่นใจและพอใจในชีวิต จึงได้น้อมจิตไปในทางปฏิบัติธรรม

ออกอยู่ป่าถือธุดงค์

อาศัยความตั้งใจ และความนึกคิดเป็นแรมปี ลุถึงอายุ ๒๔ พรรษาที่ ๔ วันอังคารที่ ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๖๔ เดือนเพ็ญ ๘ (เดือน ๑๐ทางเหนือ) ซึ่งเป็นวันเข้าพรรษา ครูบาพรหมาได้ตัดสนใจกราบลาพระอุปัชฌาย์ โยมพ่อ โยมแม่ พร้อมทั้งญาติพี่น้อง เพื่อออกไปอยู่ป่าบำเพ็ญสมณธรรม เมื่อเดินทางออกจากวัด ท่านได้มุ่งตรงสู่ดอยน้อย ซึ่งตั้งอยู่ฝากแม่น้ำปิง เขต อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่ ระยะทางประมาณ ๑๒ กิโลเมตร มีสามเณรอุ่นเรือน (ต่อมาเป็นพระอธิการอุ่นเรือน โพธิโก วัดบ้านหวาย) ติดตามไปด้วย วันต่อมาก็มีท่านพระครูพิทักษ์พลธรรม (ครูบาหวัน วัดป่าเหียง) ได้กรุณาติดตามไปอีกท่าหนึ่ง โดยได้พักจำพรรษาอยู่ในศาลาเก่าคนละหลัง บำเพ็ญสมณธรรมได้รับความอุปถัมภ์จากญาติโยมที่อยู่แถวนั้นเป็นอย่างดี

พอออกพรรษาท่านครูบาพร้อมคณะที่ติดตาม ได้พากันเดินทางกลับมาคารวะพระอุปัชฌาย์ พักอยู่ ๓ คืนก็ได้กราบลาท่านพระอุปัชฌาย์เพื่อเดินทางสู่ป่า พอได้เวลาประมาณตี ๓ ก็ถือเอาบาตร จีวรกับหนังสือ ๒-๓ เล่ม พร้อมทั้งกาน้ำและผ้ากรองน้ำและออกเดินทางเข้าสู่ป่า เพื่อแสวงหา ความสงบ บำเพ็ญสมณธรรมให้เต็มความสามารถ น้อมจิตไปในทางปฏิบัติ

ภัยธรรมชาติ

การอยู่ป่าปีแรกรู้สึกว่าลำบากมาก เนื่องจากเวลานั้นในจังหวัดภาคเหนือ ยังไม่ปรากฏว่าจะมีพระรูปไหนออกอยู่ป่ามาก่อน จึงทำให้ประชาชนเกิดความสนใจแล้วพากันมาดู ถามนั่น ถามนี่ บางพวกก็พากันมานั่งจ้องมองดูเป็นเวลานานตั้งครึ่งวัน ทำให้เกิดความรำคาญไม่สงบ จึงต้องมีการโยกย้ายมาเพื่อหลีกเร้นหลบหน้าผู้คนอยู่เสมอ บางครั้งก็มีเพื่อนสหธรรมิกได้ติดตามไปหลายรูป

โรง พยาบาลธรรมศาสตร์เปิดเสาร์อาทิตย์ไหม

หลวงพ่อ (องค์ขวาสุด) ถ่ายเมื่ออายุ ๒๖ พรรษา ๖

พ.ศ. ๒๔๖๖ ระหว่างการเดินธุดงค์

ในตอนแรกก็มีพระน้องชายกับโยมบิดาซึ่งได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุแล้ว ได้ติดตามไปด้วย ในตอนหลังบางครั้งก็มีครูบาอาจารย์หลายๆ ท่าน อาทิ ท่านครูบาคำ คันธิโย วัดดงหลวงสิบลี้ เป็นต้น ได้กรุณาให้ความอบอุ่นไปอยู่ด้วย บางครั้งก็ได้ติดตามท่านครูบาภาวนาภิรัต (พี่ชาย) วัดวนารามน้ำบ่อหลวงไปเป็นครั้งเป็นคราว ตอนกลางคืนจะได้ยินเสียงร้องของสัตว์ เช่น เสือ นกปู่ต๊ก (นกถึดทือ) เป็นต้น พอถึงฤดูใบไม้ร่วงก็ร้อนจนเกือบจะไม่มีที่จะกำบัง มีครั้งหนึ่งฝนตกพื้นดินชื้นแฉะนอนไม่ได้ ก็ขึ้นไปนอนตามขอนไม้ แต่แล้วพอตื่นขึ้นก็ปรากฏว่าลงไปนอนอยู่ตามพื้นดินกันหมด บางครั้งต้องนอนในน้ำเหมือนควายนอนปลัก

มีครั้งหนึ่งท่านครูบาพรหมาพร้อมด้วยคณะได้ไปอาศัยอยู่ป่า ไกลจากหมู่บ้านห้วยปันจ้อย อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน ประมาณ ๒ กิโลเมตร ก็เกิดมีฝนห่าใหญ่หลั่งไหลตกลงมา พระทุกรูปไม่มีกลดไม่มีร่ม ต่างก็พากันลุกขึ้นไหว้พระ เอาผ้าคลุมศีรษะนั่งภาวนาอยู่ ในที่สุดก็นอนลง ทันใดนั้นก็มีน้ำป่าไหลหลากลงมา ทั้งฝนก็กระหน่ำตกไม่ขาดสาย พวกท่านก็ปล่อยเลยตามเลย นอนกันอยู่อย่างงั้น ก็เพราะต่างก็ง่วงเต็มแก่ พอตื่นขึ้นมาก็เป็นเวลาสว่าง ท่านครูบาพรหมาได้เหลือบตามองดูจีวรที่ห่มอันเปียกชุ่มว่ามันเป็นอย่างไร ปรากฏว่าเป็นดินทรายไปหมด ยกเกือบไม่ขึ้น น่าสังเวชใจในชีวิตของตนเป็นกำลัง นึกปลอบในตนเองว่าช่างมันเถอะ อะไรๆ ล้วนแต่อนิจจัง ทุกขัง อนัตตาทั้งนั้น

พอถึงเวลาภิกขาจารก็มีพวกศรัทธาชาวบ้านมากันมากหลายเพื่อตักบาตร พวกท่านก็เอาจีวรที่เปียกแฉะเป็นดินเป็นทรายนั่นแหละห่มคลุมไปบิณฑบาต ขณะนั้นมีคนแก่คนหนึ่งชื่อ พ่อพญาอักขระราชสาราจารย์ พอแกมองเห็นสภาพของพระธุดงค์เปียกม่อลอกเช่นนั้น แกก็ร้องไห้โฮออกมาด้วยความสงสารสภาพของพระธุดงค์ พลอยทำให้คนอื่นพลอยหลั่งน้ำตาลงด้วยเป็นแถว

ครูบาท่านออกธุดงค์ ไปตามป่าเขาเกือบทุกจังหวัดในภาคเหนือ เดินทางเข้าไปเขตพม่า และจำพรรษาอยู่ในเขตพม่าเป็นเวลานาน ๕ ปี หรือตามหมู่บ้านกระเหรี่ยงชาวเขา จนท่านครูบาสามารถพูดภาษากระเหรี่ยงได้เป็นอย่างดี

เมื่อคราวจำพรรษาอยู่ในที่ต่างๆ ท่านถือธุดงค์วัตร อยู่ป่าเป็นวัตร ออกบิณฑบาตเป็นกิจวัตร ฉันภัตตาหารวันละ ๑ มื้อ นุ่งห่มผ้าบังสุกุลเป็นวัตร ภายหลังจากที่ท่านครูบาพรหมาได้ออกจาริกธุดงค์ไปตามป่า ตามนิคมต่างๆ หลายแห่งเป็นเวลา ๒๐ พรรษา ท่านได้ต่อสู้ฟันฝ่าอุปสรรคได้รับความสุข ความทุกข์ ความลำบาก บางครั้งไม่ได้ฉันภัตตาหาร ๑-๒ วัน ท่านเพียรพยายามอดทนด้วยวัตรปฏิบัติอันเคร่งครัดที่สุด

http://www.dharma-gateway.com/monk/monk_biography/kb-bhroma/kb-bhroma_hist.htm อ่านเพิ่มเติมได้ในเวปนี้ครับ

ขอขอบคุณท่านเจ้าของบทความข้อมุลที่มาอย่างสูงครับ
พระผงเกษาครุบาพรหมา
เกศาครูบาพรหมา วัดพระพุทธบาทตากผ้า รุ่น ๗ มหานคร\n\nพระเกศาครูบาพรหมา วัดพระพุทธบาทตากผ้า อริยสงฆ์เหยียบศิลาเป็นรอย *** มีมวลสารและพิธีกรรมดียิ่ง พระชุดนี้จึงได้รับความนิยมจากท้องถิ่นเเละเรียกพระชุดนี้ว่า พระเนื้อว่าน 7 นคร องค์ประกอบในการจัดสร้าง -เกศาท่านครูบาพรหมา -ผงธูปจากวัดที่เก่าแก่และศักดิ์สิทธิ์ ๗๐ จังหวัด อาทิ วัดพระธาตุดอยสุเทพ, วัดพระแก้ว, วัดพระธาตุพนม, วัดพระปฐมเจดีย์ ฯลฯ -ครั่ง -ชัน -แผ่นทองคำเปลว -ว่านเสน่ห์จันทร์ขาว -ว่านพญานางกวัก -ว่านสามพันตำลึง -ว่านนาคบ่วงบาศ -ว่านมหานิลดำ -ว่านทรหด -ว่านงาช้าง -ว่านหางช้าง -ดอกบัวสัตตบงกช -ดอกมะลิ -ดอกหอมไกล -ดอกราตรี -ดอกแก้ว -ดอกจำปา -ดอกจำปี -ดอกบุญนาค -ดอกสารภี -ส้มป่อย -ดิน ๗ มหานคร


ให้บููชา300 บาทค่าจัดส่ง 30 บาทFLASH หรือ J EMS50บาทครับ

โรง พยาบาลธรรมศาสตร์เปิดเสาร์อาทิตย์ไหม
โรง พยาบาลธรรมศาสตร์เปิดเสาร์อาทิตย์ไหม

 

โรง พยาบาลธรรมศาสตร์เปิดเสาร์อาทิตย์ไหม


หลวงปู่ครูบาสิทธิ อภิวัณโณ เจ้าอาวาสวัดปางต้นเดื่อ ต.แม่อาย อ.แม่อาย จ.เชียงใหม่ นักบุญแห่งขุนเขาดอยลาง ผู้ปลุกศรัทธาอยู่ท่ามกลางกองกำลังชนเผ่า สุดยอดคณาจารย์อายุยืนแห่งดินแดนล้านนา หรือพระครูมงคลรัตน์ อายุ 92 ปี (69 พรรษา ) เป็นศิษย์พุทธาคมครูบาสิงห์แก้ว ครูบาอุ่นเรือน พ่อหนานวงศ์ เป็นพระนักปฏิบัติ นักพัฒนา ผู้เจริญรอยตามครูบาศรีวิชัย นักบุญแห่งล้านนา นามเดิมชื่อ "สิทธิ เมืองใจ" เกิดวันที่ 10 มิ.ย. 2465 ณ บ้านแม่ฮ่าง ต.แม่สาว อ.แม่อาย จ.เชียงใหม่ เป็นบุตรคนโตของพ่อบุญมา และแม่ป้อ เมืองใจ ในจำนวนพี่น้องทั้งหมด 5 คน หลังจากที่หลวงปู่เกิดได้ไม่นานพ่อแม่ก็ย้ายมาอยู่ที่บ้านปานกลาง เมื่ออายุ 16 ปี ได้บรรพชาเป็นสามเณร ณ วัดปางกลาง (ก่อนถึงวัดปางนอก ปัจจุบันไม่มีแล้ว) ต.มะลิกา อ.แม่อาย จ.เชียงใหม่ตรงกับวันอังคาร ที่ 5 เม.ย. พ.ศ.2481 ขึ้น 5 ค่ำ เดือน 7 เหนือ โดยมีครูบาแก้ว กาวิชโย วัดมงคลสถาน เป็นพระอุปัชฌาย์ อายุ 21 ปี ได้อุปสมบท ณ วัดชัยสถาน (สันโค้ง) ต.มะลิกา อ.แม่อาย จ.เชียงใหม่ ตรงกับวันเสาร์ ที่ 13 มิ.ย. 2485 ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 9 เหนือ โดยมีครูบาก๋องคำ วัดมาตุการาม เป็นพระอุปัชฌาย์ ครูบาอุ่นเรือน ธีรไปัญโญ เป็นพระวาจาจารย์ พระคัมภีร์ ธมมวโร เป็นพระอนุสาวนาจารย์ จากนั้นได้ไปศึกษาพระปริยัติธรรม ณ วัดแม่อายหลวง จนสอบได้ นักธรรมตรี โท โดยมีครูบาสิงห์แก้ว เป็นครูสอน พร้อมกันนี้ก็ได้ศึกษาอักขระและเวทย์มนต์ล้านนาจากพระอธิการวงศ์ เจ้าอาวาสวัดจองกลาง ควบคู่ไปด้วย อีกทั้งยังใช้เวลาว่างศึกษาค้นคว้าพระเวทย์จากปั๊บสาต่างๆอีกจำนวนมาก หลังจากนั้นในปี ๒๔๙๓ ท่านได้ถูกส่งไปรักษาการเจ้าอาวาสวัดห้วยม่วงเป็นเวลา 3 ปี พ.ศ.2495ไปจำพรรษา ณ วัดปางแดง ต.บ้านหลวง อ.แม่อาย 1 พรรษา หลังจากนั้นในปี พ.ศ.2497 จึงถูกส่งไปดูแลวัดถ้ำตับเต่าเนื่องจาก ครูบาธรรมชัย (ศิษย์ครูบา ศรีวิชัย) เจ้าอาวาสในสมัยนั้นถูกอาราธนาไปพัฒนาวัดทุ่งหลวง อ.แม่แตง ปัจจุบัน อายุ 92 ปี ตั้งสัจปณิธานว่า "ตราบเท่าที่ยังมีชีวิตอยู่ก็จะอยู่ค้ำชูดูแลพระพุทธศาสนาและเป็นที่พึ่งให้ กับศรัทธาชาวบ้านให้ดีที่สุดเท่าที่จะทำได้"

ทั้งนี้ วัตถุมงคลของหลวงปู่ครูบาสิทธิส่วนใหญ่จะเป็นพวกเครื่องรางของขลังอย่าง ตะกรุด ผ้ายันต์ ลูกอม ซึ่งมีประสบการณ์เข้มขลัง เนื่องจากหลวงปู่อยู่ในดินแดนสู้รบที่อำนาจรัฐเข้าไม่ถึง ประสบการณ์ส่วนมากจึงได้ยินมาแต่เรื่องคงกระพันเป็นส่วนใหญ่ แต่เรื่องเมตตา ค้าขาย ก็ไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากัน พ่อค้า แม่ค้าต่างมั่นใจในผ้ายันต์ของท่านว่าสามารถเรียกลูกค้าได้ดีนักแล ด้วยพุทธคุณและประสบการณ์มากมายทำให้เป็นที่ศรัทธาของคน 4 อำเภอ คือ แม่อาย ฝาง เชียงดาว ไชยปราการ เป็นปฐมบทก่อนที่จะเลื่องลือไปทั่ว จ.เชียงใหม่ และหัวเมืองภาคเหนือในที่สุด
ขอขอบคุณท่านเจ้าของบทความข้อมูลที่มาอย่างสูงครับ

เหรียญ๗รอบครุบาสิทธิ ปางต้นเดื่อ ให้บูชา300บาทค่าจัดส่ง 30 บาทFLASH หรือ J EMS50บาทครับ

โรง พยาบาลธรรมศาสตร์เปิดเสาร์อาทิตย์ไหม
โรง พยาบาลธรรมศาสตร์เปิดเสาร์อาทิตย์ไหม

โรง พยาบาลธรรมศาสตร์เปิดเสาร์อาทิตย์ไหม

 

โรง พยาบาลธรรมศาสตร์เปิดเสาร์อาทิตย์ไหม

เกร็ดธรรมจากประวัติ!!!!ผู้มีภูมิทิพย์ภูมิธรรม!!!!
(((หลวงปู่จำเนียร สำนักสงฆ์ต้นเลียบ สงขลา)))
พระอริยะโพธิสัตว์ธรรมผู้ทรงญาณวิเศษหลวงพ่อทวด
....คำสอนจากวาจาตาหลวง(หลวงปู่จำเนียร)
(((.... ขอให้ลูกยึดถือศีลธรรมให้เคร่งทำฌาณให้ได้ลูกจะพบเห็นสมเด็จเจ้าผู้ศักดิ์สิทธิ์...)))
พระหลวงพ่อทวด เหยียบน้ำทะเลจืด นอกจากรุ่นต่างๆ ที่สร้างขึ้นโดย พระอาจารย์ทิม อดีตเจ้าอาวาสวัดช้างให้ จ.ปัตตานี ที่มีความศักดิ์สิทธิ์จนเลื่องลือไปทั่วทั้งในและต่างประเทศแล้ว ก็ยังมีพระหลวงพ่อทวด อีกหลายรุ่นหลายสำนักที่ได้รับความศรัทธาเลื่อมใสจากพุทธศาสนิกชนและนักสะสมพระหลวงพ่อทวดโดยทั่วไป และหนึ่งในนั้นก็คือ พระหลวงพ่อทวด สำนักสงฆ์ต้นเลียบ อ.สทิงพระ จ.สงขลา อันเป็นสถานที่ฝังรกของหลวงพ่อทวด ถือได้ว่าเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ที่มีความผูกพันกับหลวงพ่อทวดมาแต่ดั้งเดิม ซึ่งทุกวันนี้มีชาวบ้านไปกราบไหว้สถานที่แห่งนี้เป็นประจำ

พระหลวงพ่อทวด สำนักสงฆ์วัดต้นเลียบ เป็นพระเนื้อผงผสมว่าน สร้างเมื่อปี ๒๕๓๘ ปลุกเสกโดย หลวงปู่จำเนียร โชติธัมโม ซึ่งชาวบ้านให้ความเคารพศรัทธาเลื่อมใสท่านมาก ด้วยความที่ท่านเป็นพระบริสุทธิสงฆ์ผู้ที่เมตตามหานิยม มีวาจาสิทธิ์ ให้ความสงเคราะห์อนุเคราะห์ผู้ที่ไปกราบไหว้ท่านตลอดมา
ตามประวัติท่านได้ศึกษาศาสตร์วิชาอาคมหลายแขนงจากสำนักเขาอ้อ จ.พัทลุง พระเครื่องทุกรุ่นจึงมีความขลังความศักดิ์สิทธิ์ มีพุทธคุณในทุกด้าน
นอกจากนี้ ท่านยังเป็นผู้รู้ด้วยญาณวิเศษถึงวันมรณภาพของตัวเอง โดยบอกกล่าวกับลูกศิษย์ใกล้ชิดว่า ก่อนวันเข้าพรรษา 7 วัน ท่านจะละสังขารแล้ว และเมื่อถึงวันอาทิตย์ที่ 21 กรกฎาคม 2539 เวลา 21.20 น. ท่านก็ได้จากไปอย่างสงบ ตรงกับที่บอกกล่าวไว้ล่วงหน้าทุกประการ
####ประวัติหลวงปู่จำเนียร โชติธัมโม
เจ้าสำนักสงฆ์ ผู้ที่มีสังขารเป็นหิน
เกจิอาจารย์สายเขาอ้อ ผู้มีญาณวิเศษสามารถรู้วันมรณภาพของตัวเอง
หลวงปู่จำเนียร โชติธัมโม มีนามเดิมว่า นายจำเนียรเรืองศรี เกิดเมื่อเดือน 4 ปีเถาะ พ.ศ.2440 ที่บ้านพังไทร ตำบลดีหลวง อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ท่านเกิดเบื่อหน่ายชีวิตฆราวาส ซึ่งท่านเห็นว่ามีแต่ความวุ่นวายสับสนจึงตัดสินใจเดินมุ่งสู่ร่มกาสวพัสตร์ เมื่อตอนอายุ 60 ปี หลังจากอุปสมบทแล้ว หลวงปู่จำเนียรได้ศึกษาปฏิบัติกรรมฐาน เจริญกสิณเวทวิทยาคม จากสำนักเขาอ้อ (เป็นศิษย์อาจารย์เดียวกันกับ พล.ต.ต.ขุนพันธ์ รักษ์ราชเดช) กับท่านอาจารย์ยู วัดปากพล จังหวัดพัทลุง และอาจารย์ทวดขาว ฆราวาสจอมขมังเวท จังหวัดพัทลุง จนมีความเชี่ยวชาญทางด้านวิทยาคมจนเป็นเลิศ ร่ำเรียนวิชาอยู่ยงคงกระพัน วิชากำบังตัววิชาปลาไหลใครจับท่านไม่ได้
หลังจากที่อุปสมบทแล้ว ท่านได้ไปจำพรรษาอยู่ที่วัดพะโคะ ในขณะที่ท่านนั่งเจริญสมาธิภาวนา ปรากฏดวงวิญญาณขององค์หลวงปู่ทวดมาปรากฏต่อหน้าท่าน และได้ชี้มาที่ตัวท่านบอกให้ไปช่วยดูแลต้นเลียบ อันเป็นสถานที่ฝังรกขององค์หลวงปู่ทวด ซึ่งในขณะนั้นยังไม่มีผู้ใดดูแล มีสภาพที่รกร้าง
เมื่อหลวงปู่จำเนียร มาจำพรรษาที่ต้นเลียบแห่งนี้แล้ว ก็ได้รวบรวมชาวบ้านในละแวกใกล้เคียงมาช่วยกันพัฒนา เพื่อให้เหมาะเป็นสถานที่เจริญธรรม วิปัสสนากรรมฐาน
ใครมีเรื่องเดือดร้อน ถูกคุณไสย หรือถูกผีเข้า ท่านจะช่วยรักษาประพรมน้ำมนต์ให้และใช้ไม้เท้าคดคู่กายของท่านชี้ไปที่หน้าผาก กลับหายเป็นปกติทุกรายไป อีกอย่างท่านสามารถดูดวง ผูกชะตาได้แม่นยำนัก ท่านจะมีลูกศิษย์ลูกหามากมาย ไม่ว่าไทยหรือเทศ โดยเฉพาะลูกศิษย์ทางมาเลเซีย สิงคโปร์ นั้นมีมากมายนัก
หลวงปู่จำเนียร เป็นพระที่ถึงพร้อมด้วยความดี เป็นพระที่สมถะ สามารถกราบไหว้ได้อย่างสนิทใจ ไม่สะสมสิ่งใด มุ่งปฏิบัติธรรม วิปัสสนากรรมฐาน ชาวบ้านเชื่อกันว่าท่านเป็นผู้ที่มีเมตตามหานิยม มีวาจาสิทธิ์ ท่านสามารถหยั่งรู้ได้ถึงวันมรณภาพของตัวเอง โดยท่านได้บอกกล่าวกับลูกศิษย์ใกล้ชิดว่า ก่อนจะถึงวันเข้าพรรษา 7 วัน ท่านจะละสังขารแล้ว และท่านระบุไว้ในพินัยกรรมว่าร่างของท่านจะไม่เน่าเปื่อย จะแห้งไปเอง ปรากฏว่าเมื่อเวลาผ่านไปก็เป็นจริงอย่างที่ท่านพูดเอาไว้ แต่ก็ยังทิ้งร่องรอยการปฏิบัติและคุณงามความดีไว้ให้คนรุ่นหลังได้เจริญรอยตาม และยึดเป็นเยี่ยงอย่าง รวมอายุได้ 99 ปี 40 พรรษา
ซึ่งปัจจุบันนี้ สรีระสังขารของท่าน ทางคณะศิษยานุศิษย์ได้เก็บไว้ในโลงแก้ว ณ สำนักสงฆ์ต้นเลียบ เพื่อให้สาธุชนได้เข้ากราบไหว้ เพื่อขอพรบารมี ถึงแม้ว่าท่านจะมรณภาพไปแล้ว แต่ปาฏิหาริย์ที่ท่านได้ปลุกเสกและสร้างวัตถุมงคลของสำนักสงฆ์ต้นเลียบ ก็ยังคงเป็นที่ยึดเหนี่ยว แสวงหาของนักสะสมพระเครื่องหลวงพ่อทวด


ขอขอบคุณท่านเจ้าของบทความข้อมูลที่มาอย่างสูงครับ

พระผงเนื้อว่านหลวงปู่มวดพิมพ์เตารีดหลังท่านพ่อเนียน ต้นเลียบ ออกที่ปทุมธา่นี ให้บูชา 100 บาทค่าจัดส่ง 30 บาทFLASH หรือ J EMS50บาทครับ

โรง พยาบาลธรรมศาสตร์เปิดเสาร์อาทิตย์ไหม
โรง พยาบาลธรรมศาสตร์เปิดเสาร์อาทิตย์ไหม
โรง พยาบาลธรรมศาสตร์เปิดเสาร์อาทิตย์ไหม

 

โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เปิดวันไหนบ้าง

ผู้ป่วยใหม่และผู้ป่วยเก่า (ไม่มีนัด/มาไม่ตรงวันนัดรพ.ธรรมศาสตร์ฯ ทุกสิทธิการรักษา) เปิดให้บริการ วันจันทร์ - วันศุกร์ (เฉพาะวันราชการ) เวลา 07.00 - 16.00 น.

โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ เปิดกี่โมง

เปิดให้บริการทุกวัน เวลา 06.00 - 20.00 น. 7-11 ให้บริการ 2 จุด จุดแรก : ด้านข้างโรงอาหารสุขศาสตร์ 3. จุดสอง : อาคารกิตติวัฒนา

คลินิกพิเศษ ธรรมศาสตร์ เปิดกี่โมง

วันจันทร์-ศุกร์ (เฉพาะวันราชการ) เวลาเปิด-ปิด รับเบอร์คิว 15.00 - 19.00 น. ** ขอปิดรับก่อนเวลา ถ้าคิวเต็ม ** ( เริ่มเรียกคิว เวลา 15.00 น. )

ทันตกรรม ธรรมศาสตร์ เปิดวันไหน

29 เม.ย. 2564󰞋󰟠 คลินิกทันตกรรมนักศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้เลื่อนเปิดทำการเป็นวันจันทร์ที่ 17 พฤษภาคม 2564.