ขันธ์ 5 เกี่ยวข้องกับหลักอริยสัจ 4 ในข้อใด

�ѹ�� 5 ������� �����ú�ҧ


        �ѹ�� 5 (ອ��ѹ��) ����ѡ�������ʹҾط�����ʹ���ͧ�Ѻ����ͧ�ͧ ��ء�� �����ѡ�����Ѩ 4 �����¶֧ �ͧ����ٻ������й��������� 5 ��������Դ�繵ѹ�����ͪ��Ե����� �����Ҩ�ٴ��������������� ��ǹ��Сͺ 5 ���ҧ�������ѹ���ǡ������Դ�繤�����ѵ�����ҹ���ͧ �ѹ�� 5 ��Сͺ�������ú�ҧ
        �ѹ�� 5 ��Сͺ���¡ͧ�ٻ���� ��й��������� 5 ��� �ٻ �Ƿ�� �ѭ�� �ѧ��� ����ԭ�ҳ �������ö�¡�͡�� 1 �ٻ ��� 4 ��� �ѧ���仹��
        1. �ٻ�ѹ�� ���¶֧ �ͧ�ٻ ��ǹ�������ҧ��� �ĵԡ��� �س���ѵԵ�ҧ� �ͧ��ҧ��� �����ǹ��Сͺ������ٻ����������
        2. �Ƿ�Ңѹ�� ���¶֧ �ͧ�Ƿ�� ��ǹ����繤�������֡�ء�� �آ ��� ���
        3. �ѭ�Ңѹ�� ���¶֧ �ͧ�ѭ�� ��ǹ����繡�è���觷�����Ѻ
        4. �ѧ��âѹ�� ���¶֧ �ͧ�ѧ��� ��ǹ����繡�äԴ��ا�� ������ö�¡�����觷������֡���ͨ�����
        5. �ԭ�ҳ�ѹ�� ���¶֧ �ͧ�ԭ�ҳ ���� �Ե �繡������駶֧��觵�ҧ � ��ҹ�ҧ�� �� ��١ ��� ��� ����        �ѹ�� 5 ���ٻ�ѹ��ШѴ���ٻ��������ǡѺ��ǹ����յ�ǵ� ��ǹ�Ƿ�Ңѹ�� �ѭ�Ңѹ�� �ѧ��âѹ�� ����ԭ�ҳ�ѹ��ШѴ�� 4 ����ѹ�� ����繻��ѵ����� 4 �������ǹ����繤����Դ��Ф�������֡����ͧ�ѹ�� 5 ����Ǣ�ͧ�Ѻ���Ե��Ш��ѹ���ҧ�Å?
        ��ѡ�������͹����ͧ ��ѹ�� 5� ��������͹�����ͧ�ѧ�������ѡ ������ͧ��繤����繨�ԧ�ͧ�ѧ�����ҹ������觷���ا�觢���� ����դ������§��С������Դ�ء���������ҧ�����Ҩ��繤�����ҡ �����ִ��蹶�����㹵��ͧ �ѧ���������ѧ����Դ����ҡ��������ѹ�٭����仵���������        �ѧ��鹢ѹ�� 5 �֧���¶֧ �ͧ�����������ٻ���� 5 ���ҧ���������Դ���Ե������¡��� �ѧ��â���Ң���� �»�Сͺ�����ٻ �Ƿ�� �ѭ�� �ѧ��� ����ԭ�ҳ �������ѹ�����繪��Ե ����ö�¡�͡������ǹ������ٻ�����ҧ��� �����ǹ����繹�������ǹ����繤����Դ��Ф�������֡���������Դ�ء�����ͧ


ขันธ์ 5 เกี่ยวข้องกับหลักอริยสัจ 4 ในข้อใด

���觢����� : ��紤������.net. �ѹ�� 5 ������� �����ú�ҧ. [�͹�Ź�] ���觷����: http://www.��紤������.net/�ѹ��-5/ [27 �.�. 2560].

ขันธ์ 5 เกี่ยวข้องกับหลักอริยสัจ 4 ในข้อใด

ขันธ์ 5 เกี่ยวข้องกับหลักอริยสัจ 4 ในข้อใด

อายตนะ แม้ว่าชีวิตจะประกอบด้วยขันธ์ 5 ซึ่งแบ่งซอยออกไปเป็นหน่วยย่อยต่าง ๆ มากมาย แต่ในทางปฏิบัติ คือในการดำเนินชีวิต ทั่วไปมนุษย์ไม่ได้เกี่ยวข้องโดย ตรงกับส่วนประกอบเหล่านั้นโดยทั่วถึงแต่อย่างใด ส่วนประกอบหลายอย่างมีอยู่และทำหน้าที่ของมันเป็นโดยมนุษย์ไม่รู้จักหรือแม้รู้จักก็แทบไม่ได้นึกถึงเลย เช่น ในด้านรูปธรรม อวัยวะภายในร่างกายหลายอย่างทำหน้าที่ของมันอยู่โดยมนุษย์ผู้เป็นเจ้าของไม่รู้และไม่ได้ใส่ใจที่จะรู้ จนบางคราวมันเกิดความวิปริตหรือทำหน้าที่บกพร่องขึ้น มนุษย์จึงจะหันมาสนใจ แม้องค์ประกอบต่างในการะบวนการผ่ายจิตก็เป็นเช่นเดียวกัน การศึกษาวิเคราะห์องค์ประกอบต่าง ๆ และกระบวนการทำงานด้านจิตใจเราปล่อยให้เป็นภาระของนักศึกษาทางแพทยศาสตร์และชีววิทยา ส่วนการศึกษาวิเคราะห์องค์ประกอบและกระบวนการทำงานด้านจิตใจ เราปล่อยให้เป็นภาระของนักอภิธรรมและนักจิตวิทยา แต่สำหรับคนทั่วไป ความหมายของชีวิตอยู่ที่ชีวิตในทางปฏิบัติ หรือชีวิตที่ดำเนินอยู่เป็นประจำในแต่ละวัน ซึ่งได้แก่การติดต่อเกี่ยวข้องกับโลก สิ่งที่ให้ความหมายแก่ชีวิต คือการติดต่อเกี่ยวข้องกับโลกหรือพูดอีกอย่างหนึ่งว่า ชีวิตตามความหมายของมนุษย์คือชีวิตโดยความสัมพันธ์กับโลก ชีวิตในทางปฏิบัติหรือชีวิตโดยความสัมพันธ์กับโลกได้ ซึ่งเรียกว่า”ทวาร”(ประตู, ช่องทาง)หรืออายตนะ

       อายตนะ แปลว่า ที่ต่อ หรือแดน หมายถึงที่ต่อกันให้เกิดความรู้ แดนเชื่อมต่อให้เกิดความรู้หรือแหล่งที่มาของความรู้ แปลอย่างง่าย ๆ ว่า ทางรับรู้ แบ่งออกเป็น

  1.อายตนะภายใน หมายถึง ที่เชื่อมต่อให้เกิดความรู้ แดนต่อความรู้ฝ่ายภายใน ได้แก่ ตา(จักขุ) หู(โสตะ) จมูก (ฆานะ) ลิ้น (ชิวหา) กาย (กาย) ใจ (มโน) ทั้ง 6 นี้เรียกอีกอย่างว่า อินทรีย์ 6 เพราะเป็นใหญ่ในหน้าที่ของตนแต่ละอย่าง เช่น จักขุ เป็นเจ้าในการเห็น เป็นต้น

   2. อายตนะภายนอก หมายถึง ที่เชื่อมต่อให้เกิดความรู้ แดนต่อความรู้ฝ่ายภายนอก ได้แก่ รูป (รูปะ) คือสิ่งที่เห็น เสียง (สัททะ)
กลิ่น (คันสะ) รส (รสะ) สัมผัสทางกาย (โผฏฐัพพะ) อารมณ์ที่เกิดกับใจ สิ่งที่ใจนึกคิด(ธรรมารมณ์) ทั้ง 6 นี้ เรียกทั่วไปว่า อารมณ์ 6 คือ เป็นสิ่งสำหรับให้ใจยึดหน่วงเมื่ออายตนะภายใน ซึ่งเป็นแดนรับรู้ กระทบกับอารมณ์(อายตนะภายนอก)ซึ่งเป็นสิ่งที่ถูกรู้ก็จะเกิดความรู้จำเพาะด้านของอายตนะแต่ละอย่าง ๆ ขึ้น เช่น ตากระทบรูป เกิดความรู้เรียกว่า เห็น หูกระทบเสียง เกิดความรู้ เรียกว่า ได้ยิน เป็นต้น ความรู้จำเพาะแต่ละด้านนี้เรียกว่า “วิญญาณ” แปลว่า ความรู้แจ้ง คือรู้อารมณ์ ดังนั้น จึงมีวิญญาณ 6 อย่าง เท่ากับอายตนะและอารมณ์ 6 คู่ คือ วิญญาณทางตา ได้แก่เห็นวิญญาณทางหู ได้แก่ ได้ยิน วิญญาณทางจมูก ได้แก่ ได้กลิ่น วิญญาณทางลิ้น ได้แก่ รู้รส วิญญาณทางกาย ได้แก่ รู้สิ่งที่ต้องกาย วิญญาณทางใจ ได้แก่ รู้อารมณ์ทางใจ หรือรู้เรื่องในใจ


  ความสัมพันธ์ระหว่าง อายตนะ 6 อารมณ์ 6 และวิญญาณ 6
 
ดังนี้

  อายตะ 6 อารมณ์ 6 วิญญาณ 6

 1. จักขุ – ตา
 เป็นแดนรับรู้ รูปะ - รูป เกิดความรู้ คือ จักขุวิญญาณ – เห็น
 2. โสตะ – หู เป็นแดนรับรู้-สัททะ - เสียง เกิดความรู้ คือ โสตวิญญาณ – ได้ยิน
 3. ฆานะ -จมูก เป็นแดนรับรู้ คันธะ - กลิ่น เกิดความรู้ คือ ฆานวิญญาณ – ได้กลิ่น
 4. ชิวหา - ลิ้น เป็นแดนรับรู้ รส - รส เกิดความรู้ คือ ชิวหาวิญญาณ - รู้รส
 5. กาย - กาย เป็นแดนรับรู้ โผฏฐัพพะ - สิ่งต้องกาย เกิดความรู้ คือ กายวิญญาณ – รู้สิ่งต้องกาย
 6. มโน - ใจ เป็นแดนรับรู้ ธรรมารมณ์ - เรื่องในใจ เกิดความรู้ คือมโนวิญญาณ – รู้เรื่องในใจ

  1.3.1  สมุทัย :หลักกรรม : สมบัติ 4

  สมบัติ 4

        สมบัติ หมายถึง ข้อดี ความเพียบพร้อม ความสมบูรณ์แห่งองค์ประกอบต่าง ๆ ซึ่งอำนวยแก่การให้ผลของกรรมดี และไม่เปิดช่องให้กรรมชั่วแสดงผล หรือส่วนประกอบอำนวยช่วยเสริมกรรมดี ประกอบด้วย

  1. คติสมบัต หมายถึง สมบัติแห่งคติ หรือถึงพร้อมด้วยคติ ในช่วงยาว หมายถึง เกิดในกำเนิดอันอำนวย หรือที่เกิดอันเจริญในช่วงสั้น หมายถึง ที่อยู่ ที่ไป ทางดำเนินดีหรือทำสิ่งที่ถูกต้อง คือในกรณีนั้น ๆ สภาพแวดล้อมนั้น ๆ ถิ่นที่อยู่นั้น ๆ ตลอดถึงแนวทางดำเนินชีวิตขณะนั้น เอื้ออำนายแก่การกระทำความดี หรือการเจริญงอกงามของความดี ทำให้ความดีปรากฏโดยง่าย  2. อุปธิสมบัติ หมายถึง สมบัติแห่งร่างกาย ถึงพร้อมด้วยรูปกาย มีรูปกายที่ดีพร้อม ในช่วงยาว หมายถึง มีการสง่า สวยงามบุคลิกภาพดี ในช่วงสั้น หมายถึง มีร่างกายแข็งแรง มีสุขภาพดี

  3. กายสมบัติ หมายถึง สมบัติแห่งกาล ถึงพร้อมด้วยกาล ในช่วงยาวหมายถึง เกิดอยู่ในสมัยที่โลกมีความเจริญ หรือบ้านเมืองสงบสุข มีการปกครองที่ดี คนในสังคมอยู่ในศีลธรรม สามัคคีกัน ยกย่องคนดี ไม่ส่งเสริมคนชั่ว ในช่วงสั้น หมายถึง ทำถูกกาลเวลา

  4. ปโยคสมบัติ หมายถึง สมบัติแห่งการประกอบ ถึงพร้อมด้วยการประกอบความเพียร ในช่วงยาวหมายถึง ฝักใฝ่ในทางที่ถูก นำความเพียรไปใช้ขวานขวายประกอบการที่ถูกต้องดีงาม มีปกติประกอบกิจการงานที่ถูกต้อง ทำแต่ความดีงามอยู่แล้ว ในช่วงสั้น หมายถึง เมื่อทำกรรมดี ก็ทำให้ถึงขนาด ทำจริงจัง ให้ครบถ้วนตามหลักเกณฑ์ ใช้วิธีการที่เหมาะกับเรื่อง หรือทำความดีต่อเนื่องมาเป็นพื้นแล้ว กรรมดีที่ทำเสริมเข้าไปอีก จึงเห็นผลได้ง่าย

  1.3.2 สมุทัย : หลักกรรม : วิบัติ 4

   วิบัติ 4

        วิบัติ หมายถึง ข้อเสีย,จุดอ่อน,ความบกพร่องแห่งองค์ประกอบต่าง ๆ ซึ่งไม่อำนวยแก่การให้ผลดีของกรรมดี แต่เปิดช่องให้กรรมชั่วแสดงผล หรือส่วนประกอบบกพร่อง เปิดช่องให้กรรมชั่ว ประกอบด้วย

  1. คติวิบัติ หมายถึง วิบัติแห่งคติ,คติเสีย ในช่วงยาวหมายถึง เกิดในกำเนินต่ำทราม หรือเกิดในที่ไร้ความเจริญ ในช่วงสั้น หมายถึง ที่อยู่ ที่ไป ทางดำเนินชีวิตไม่ดี หรือทำไม่ถูกเรื่อง ไม่ถูกที่ คือ ในกรณีนั้น ๆ สภาพแวดล้อมนั้น ๆ ถิ่นนั้น ๆ ตลอดถึงแนวทางดำเนินชีวิตขณะนั้นไม่เอื้ออำนวยแก่การกระทำความดีหรือการเจริญงอกงามของความดี แต่กลับเปิดทางให้แก่ความชั่วและผลร้าย

  2. อุปธิวิบัต หมายถึง วิบัติแห่งร่างกาย ,รูปกายเสีย ในช่วงยาว หมายถึง ร่างกายพิการ ไม่งดงาม บุคลิกภาพไม่ดี ในช่วงสั้น หมายถึง สุขภาพไม่ดี เจ็บป่วย มีโรคเบียดเบียน

  3. กาลวิบัติ หมายถึง วิบัติแห่งกาล กาลเสีย ในช่วงยาวหมายถึง เกิดในสมัยที่โลกไม่มีความเจริญ หรือบ้านเมืองมีแต่ภัยพิบัติ ผู้ปกครองไม่ดี สังคมเสื่อมจากศีลธรรม มีการกดขี่เบียดเบียนกันมาก ยกย่องคนชั่วเป็นใหญ่ บีบคั้นคนดี เป็นต้น ในช่วงสั้นหมายถึง ทำผิดกาลเวลา

  4. ปโยควิบัติ หมายถึง วิบัติแห่งการประกอบกิจการเสีย ในช่วงยาวหมายถึง ฝักใฝ่ในทางที่ผิด ประกอบกิจการงานที่ผิด หรือมีปกติชอบกระทำแต่ความชั่ว ในช่วง สั้น หมายถึง เมื่อกระทำกรรมดี ก็ไม่ทำให้ถึงขนาด ไม่ครบถ้วนตามหลักเกณฑ์ ทำจับจดใช้วิธีการไม่เหมาะกับเรื่อง หรือเมื่อประกอบคาวมดีต่อเนื่องมา แต่กลับทำความชั่วหักล้างความดี เป็นต้น

         วิบัติ 4 นี้ เป็นสิ่งที่จะต้องนำมาประกอบการพิจารณาในเรื่องการให้ผลของกรรม เพราะการปรากฏของวิบากกรรม นอกจากอาศัยเหตุหรือกรรมแล้ว ยังต้อง อาศัยฐานคือ คติ อุปธิ กาละ และปโยคะ เป็นปัจจัยประกอบด้วย

  1.3.3 สมุทัย : หลักกรรม : อกุศลกรรมบถ 10 

   อกุศลกรรมบถ หมายถึง ทางแห่งอกุศล ,ทางทำความชั่ว กรรมชั่วอันเป็นทางนำไปสู่ความเสื่อม ความทุกข์ หรือทุกคติเป็นสภาพที่ทำให้จิตเสียคุณภาพและเสื่อมสมรรถภาพ ดัง  นั้น ส่วนที่เป็นอกุศลกรรมบถ เป็นสิ่งที่ควรละเสีย ประกอบด้วย กายกรรม 3  หมายถึง การกระทำชั่วทางกาย ได้แก่ 

  1. ปาณาติบาต           หมายถึง การฆ่ก. าสัตว์ตัดชีวิต การทำร้ายหรือเบียดเบียนบุคคลอื่น
  2. อทินนาทาน           หมายถึง การขโมย การลักทรัพย์ การถือเอาของที่เขามิได้ให้ ไม่ได้อนุญาต
  3. กาเมสุมิจฉาจาร      หมายถึง ความประพฤติผิดในกาม การล่วงละเมิดทางเพศต่อบุคคลอื่น


  ข. วิจีกรรม 4 
 หมายถึง การกระทำชั่วทางวาจา ได้แก่

  4. มุสาวาท              หมายถึง การพูดเท็จ การพูดโกหก
  5 ปิสุณาวาจา            หมายถึง การพูดส่อเสียด เหยียดหยามดูแคลนคนอื่น
  6. ผรุสวาจา             หมายถึง การพูดคำหยาบ
  7. สัมผัปปลาปะ         หมายถึง การพูดเพ้อเจ้อ พูดโอ้อวด พูดไม่มีสาระ

  ค. มโนกรรม 3 หมายถึง การกระทำชั่วทางใจ ได้แก่

   8. อภิชฌา               หมายถึง คิดอยากได้ของผู้อื่น
   9. พยาบาท              หมายถึง การคิดร้ายผู้อื่น การแค้นใจต่อผู้อื่น
  10. มิจฉาทิฏฐิ          หมายถึง ความเห็นผิดจากทำนองคลองธรรม ความเห็นผิดเป็นชอบ ดังสำนวนที่ว่า เห็นกงจักรเป็นดอกบัว


  1.3.4 สมุทัย : หลักกรรม : อบายมุข 6

  อบายมุข 6 อบายมุข หมายถึง ช่องทางแห่งความเสื่อม ,ทางแห่งความพินาศ,หรือเหตุให้เกิดความย่อยยับแห่งโภคทรัพย์ เป็นสิ่งที่ควรละเว้น ประกอบด้วย

  1. ติดสุราและของมึนเมา มีโทษ 6 ประการคือ

  1.1 เสียทรัพย์ คือทรัพย์หมดไป ๆ เห็นชัด 
  1.2 ก่อการทะเลาะวิวาท
  1.3 ทำลายสุขภาพ
  1.4 เสื่อมเสียเกียรติยศชื่อเสียง
  1.5 ไม่รู้จักอาย
  1.6 บั่นทอนกำลังปัญญา

  2. ชอบเที่ยวกลางคืน มีโทษ 6 ประการคือ

  2.1 เป็นการไม่รักษาตัว
  2.2 เป็นการไม่รักษาลูกเมีย
  2.3 เป็นการไม่รักษาทรัพย์สมบัติ
  2.4 เป็นที่ระแวงสงสัย เป็นผู้ต้องสงสัย
  2.5 เป็นเป้าให้เขาใส่ความหรือเป็นที่เล่าลือของบุคคลอื่น
  2.6 นำเรื่องเดือดร้อนมาให้ตนเองและครอบครัว

 3. ชอบดูการละเล่น มีโทษคือทำให้การงานเสื่อมเสีย เพราะใจกังวลคอยคิดแต่การละเล่น และเสียเวลาเมื่อไปดูสิ่งนั้น ๆ 6 ประการคือ

ขันธ์ 5 เกี่ยวข้องกับหลักอริยสัจ 4 ในข้อใด


  3.1 เต้นรำที่ไหนไปที่นั่น
  3.2 ขับร้องที่ไหนไปที่นั่น
  3.3 ดีดสีตีเป่า(ดนตรี) ที่ไหนไปที่นั่น
  3.4 เสภาที่ไหนไปที่นั่น
  3.5 เพลงที่ไหนไปที่นั่น
  3.6 เถิดเทิงที่ไหน ไปที่นั่น

 4. ติดการพนัน

 เป็นนักพนัน เป็นคนที่ชอบเล่นการพนัน มีโทษ 6 ประการคือ

  4.1 เมื่อชนะย่อมก่อเวร
  4.2 เมื่อแพ้ก็เสียดายทรัพย์สินที่เสียไป
  4.3 เสียทรัพย์ ทรัพย์หมดไป ๆ เห็นได้ชัด
  4.4 เข้าที่ประชุม เขาไม่เชื่อถ้อยคำ
  4.5 เป็นที่หมิ่นประมาทของเพื่อนฝูง
  4.6 ไม่เป็นที่พึงประสงค์ของผู้ที่จะหาคู่ครองให้ลูกของเขา เพราะเห็นว่าจะเลี้ยงลูกเมียไม่ไหว


ขันธ์ 5 เกี่ยวข้องกับหลักอริยสัจ 4 ในข้อใด

  5. คบคนชั่ว ทำให้เกิดโทษ โดยนำให้กลายไปเป็นคนชั่วอย่างคนที่ตนคบทั้ง 6 ประเภท คือ

  5.1 นักการพนัน
  5.2 นักเลงผู้หญิง
  5.3 นักเลงเหล้าและสิ่งเสพติดต่าง ๆ
  5.4 นักลวงของปลอม
  5.5 นักหลอกลวง
  5.6 นักเลงหัวไม้

  6. เกียจคร้านทำการงาน มีโทษ โดยทำให้ยกเหตุต่าง ๆ เป็นข้ออ้าง ผลัดวันประกันพรุ่ง ไม่ทำการงานโภคทรัพย์ใหม่ก็ไม่เกิดโภคทรัพย์เก่าที่มีอยู่ก็หมดไป คืออ้างไปทั้ง 6 กรณีว่า

  6.1 มักอ้างว่า หนาวนัก แล้วไม่ทำงาน
  6.2 มักอ้างว่า ร้อนนัก แล้วไม่ทำงาน
  6.3 มักอ้างว่า เย็นแล้ว แล้วไม่ทำงาน
  6.4 มักอ้างว่า ยังเช้าอยู่ แล้วไม่ทำงาน
  6.5 มักอ้างว่า หิว กระหายน้ำ แล้วไม่ทำงาน 
  6.6 มักอ้างว่า อิ่มนัก แล้วไม่ทำงาน

           บุคคลในสังคมใดมัวเมามั่วสุมอยู่ในอบายมุขดังกล่าวข้างต้นสังคมนั้นจะพบแต่ความเสื่อมความพินาศหายนะโดยไม่ต้องสงสัยหากคนในสังคมต้องการให้ตนเอง ครอบครัวและสังคมมีความเจริญรุ่งเรือง มีความสุข ก็จำต้องละเว้นอบายมุข ทั้ง 6 เหล่านั้นเสีย
ตั้งหน้าทำมาหากินโดยสุจริต ด้วยความขยันหมั่นเพียรให้การช่วยเหลือเกื้อกูลกัน สังคมก็จะมีแต่ความสุข ความเจริญอย่างแน่นอน

 

ขันธ์ 5 ประกอบไปด้วยอะไรบ้าง

ขันธ์ 5 ประกอบด้วยกองรูปธรรม และนามธรรมทั้ง 5 คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ ซึ่งสามารถแยกออกเป็น 1 รูป และ 4 นาม ดังต่อไปนี้ 1. รูปขันธ์ หมายถึง กองรูป ส่วนที่เป็นร่างกาย พฤติกรรม คุณสมบัติต่างๆ ของร่างกาย และส่วนประกอบที่เป็นรูปธรรมทั้งหมด

สัญญาในขันธ์ 5 หมายถึงข้อใด

สัญญา (ภาษาสันสกฤต: สํชญา) แปลว่า จำความได้, ความหมายรู้ได้ คือระบบความจำที่สามารถจำคน สัตว์ สิ่งของและเหตูการณ์ต่างๆ ได้ เช่น จำสิ่งที่เห็น จำเสียง จำกลิ่น จำรส จำชื่อคน จำหนังสือ จำเรื่องในอดีตได้ว่าเป็นสีเขียว ไพเราะ หอม หวานเป็นต้น เรียกภาวะที่มีความจำคลาดเคลื่อน จำผิดๆ ถูกๆ หรือมีสติฟั่นเฟือนเหมือนคนบ้าว่า ...

ธาตุ 4 ขันธ์ 5 มีอะไรบ้าง

I นี่คือ ขันธ์ 5 เป็นเรื่องของกาย คือ ธาตุ 4 ที่คุณพ่อคุณแม่ให้ และก็เป็นเรื่องของเราคือจิตที่ ประกอบด้วยเวทนา คือ ความรู้สึก สัญญาคือ ความจำ สังขาร คือ บุญกับบาปที่เข้ามาปรุงแต่งจิตให้คิดดี บ้าง คิดชั่วบ้าง และก็วิญญาณ วิญญาณที่มีอยู่ 2 ประการคือ วิญญาณที่มารับรู้อารมณ์ ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย แล้วก็วิญญาณ ที่เป็น ...

วิญญาณในขันธ์ 5 หมายถึงข้อใด

วิญญาณ คือ สิ่งที่ต่อตรงมาจากรูป อวัยวะ เป็นเหมือนทวารของสิ่งที่อยู่ภายนอกที่จะเข้ามาอยู่ในดวงจิตของเราทั้ง 5 ด้าน ได้แก่ การรับรู้ รูป รส กลิ่น เสียง และสัมผัส