ทฤษฎีเหตุผลในการวิจารณ์ศิลปะของมอนโร ซี เบียร์ดสลีย์ มุ่งเน้นในด้านใดมากที่สุด

สุนทรียศาสตร์

สุนทรียศาสตร์หรือสุนทรียภาพ ( ) เป็นสาขาของปรัชญาที่เกี่ยวข้องกับธรรมชาติของความงามและรสชาติเช่นเดียวกับปรัชญาของศิลปะ (ของมัน ปรัชญาของตัวเองที่มาจากสุนทรียศาสตร์) [1]ได้ทำการตรวจสอบอัตนัยและค่า sensori อารมณ์หรือบางครั้งเรียกว่าคำตัดสินของความเชื่อมั่นและรสชาติ [2]

สุนทรียศาสตร์ครอบคลุมทั้งประสบการณ์และวิจารณญาณด้านสุนทรียภาพทั้งจากธรรมชาติและประดิษฐ์ โดยจะพิจารณาสิ่งที่เกิดขึ้นในใจของเราเมื่อเรามีส่วนร่วมกับวัตถุหรือสภาพแวดล้อมที่สวยงาม เช่น การดูทัศนศิลป์ ฟังเพลง อ่านบทกวี สัมผัสประสบการณ์การเล่น หรือสำรวจธรรมชาติ ปรัชญาของศิลปะโดยเฉพาะศึกษาวิธีที่ศิลปินจินตนาการ สร้างสรรค์ และแสดงผลงานศิลปะ ตลอดจนวิธีที่ผู้คนใช้ สนุก และวิพากษ์วิจารณ์ศิลปะ สุนทรียศาสตร์พิจารณาว่าเหตุใดผู้คนจึงชอบงานศิลปะบางชิ้นและไม่ชอบงานศิลปะอื่น ๆ รวมถึงวิธีที่ศิลปะสามารถส่งผลต่ออารมณ์หรือแม้แต่ความเชื่อของเรา [3]ทั้งความสวยงามและปรัชญาของศิลปะถามคำถามเช่น "อะไรคือศิลปะ ?" "คืออะไรการทำงานของศิลปะ ?," และ "สิ่งที่ทำให้ดีศิลปะ?"

นักวิชาการในสาขานี้กำหนดสุนทรียศาสตร์ว่าเป็น "ภาพสะท้อนที่สำคัญต่อศิลปะ วัฒนธรรม และธรรมชาติ " [4] [5]ในปัจจุบันภาษาอังกฤษคำว่า "ความงาม" ยังสามารถหมายถึงชุดของหลักการพื้นฐานการทำงานของศิลปะการเคลื่อนไหวโดยเฉพาะหรือทฤษฎีที่ (ใครพูดยกตัวอย่างเช่นของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาความงาม) [6] สุนทรียศาสตร์ในแง่นี้มีความหมายบางอย่างเช่นออร่าที่สิ่งที่สร้างมา และมีความเกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิดกับคำว่า "บรรยากาศ" ของสแลง

นิรุกติศาสตร์

คำว่าสุนทรียศาสตร์มาจากภาษากรีก αἰσθητικός ( aisthetikosหมายถึง "สุนทรียภาพ, อ่อนไหว, อ่อนไหว, เกี่ยวกับการรับรู้ด้วยความรู้สึก") ซึ่งได้มาจาก αἰσθάνομαι ( aisthanomaiหมายถึง "ฉันรับรู้ รู้สึก สัมผัส" และเกี่ยวข้องกับαἴσθησις ( aisthēsis , "sensation") [7]สุนทรียศาสตร์ในความหมายกลางนี้ได้รับการกล่าวว่าเริ่มต้นด้วยชุดบทความเกี่ยวกับ "The Pleasures of the Imagination" ซึ่งนักข่าว Joseph Addison เขียนไว้ในฉบับแรก ๆ ของนิตยสารThe Spectatorใน ค.ศ. 1712 [8]คำว่า "สุนทรียศาสตร์" ได้รับการกำหนดและบัญญัติให้มีความหมายใหม่โดยนักปรัชญาชาวเยอรมันอเล็กซานเดอร์เบาม์การ์เทนในวิทยานิพนธ์ของเขาMeditationes philosophicae de nonnullis ad บทกวี pertinentibus ("การพิจารณาเชิงปรัชญาของบางเรื่องที่เกี่ยวข้องกับบทกวี") ในปี ค.ศ. 1735; [9 ] Baumgarten เลือก "สุนทรียศาสตร์" เพราะเขาต้องการเน้นประสบการณ์ศิลปะเป็นเครื่องมือในการรู้ คำจำกัดความของ Baumgarten เกี่ยวกับสุนทรียศาสตร์ในชิ้นส่วนAesthetica (1750) เป็นบางครั้ง consi ได้กำหนดนิยามแรกของสุนทรียศาสตร์สมัยใหม่ [10]

เธอคือเซ็กซ์ซิมโบล ผู้หญิงในฝัน ผลิตภัณฑ์งานศิลป์ และความยับเยินที่โดดเดี่ยว เมื่อเดือนมิถุนายนที่ผ่านมา มาริลีน มอนโร น่าจะอายุครบ 91 ปี เสียดายก็แต่ว่าดาราสาวฮอลลีวูดผู้นี้เสียชีวิตตั้งแต่อายุได้ 36 ปี ความตายของเธอได้กลายเป็นเรื่องเล่าขานมากมาย และชื่อของเธอยังกลายเป็นธุรกิจทำเงินมาตราบถึงทุกวันนี้

​ ช่วงปลายปีที่แล้ว สำนักประมูลจูเลียนในเมืองลอสแอนเจลิสได้นำสมบัติส่วนตัวของมาริลีน มอนโร ออกมาประมูล ไฮไลต์ของการแข่งขันราคาอยู่ที่ชุดเลื่อมประดับมุก ซึ่งเธอเคยสวมใส่ในปี 1962 ไปร่วมงานฉลองวันเกิดครบรอบ 45 ปีของประธานาธิบดี จอห์น เอฟ. เคนเนดี พร้อมทั้งยืนร้องเพลง ‘Happy Birthday, Mr. President’ อวยพรให้เขา พิพิธภัณฑ์ Ripley’s Believe It or Not ยอมควักกระเป๋าประมูลไปในราคา 5 ล้านดอลลาร์ และเป็นชุดราคาแพงที่สุดเท่าที่เคยมีการประมูล ตามสถิติใหม่ของกินเนสส์

​ นอกเหนือจากนั้นยังมีข้าวของเครื่องใช้อื่นๆ ของเธอ ไม่ว่าจะเป็นชุดค็อกเทล ชุดนอน นาฬิกาฝังเพชร กระเป๋าถือ ลิปสติก พู่กันแต่งหน้า หวี บุหรี่ สมุดบันทึก หรือแม้กระทั่งใบขับขี่ แทบทุกอย่างในความครอบครองของเธอดูมีราคาค่างวด

ทฤษฎีเหตุผลในการวิจารณ์ศิลปะของมอนโร ซี เบียร์ดสลีย์ มุ่งเน้นในด้านใดมากที่สุด

(ภาพซ้าย) ชุดปักเลื่อม (ภาพ: REUTERS) (ภาพขวา) มอนโรในคืนงานวันเกิดประธานาธิบดี จอห์น เอฟ. เคนเนดี

​ คำจำกัดความของ ‘เซ็กซ์บอมบ์’ น่าจะผุดขึ้นพร้อมกับมาริลีน มอนโร ในยุคทศวรรษ 1950 และแม้ว่าแฟชั่นและเทรนด์ได้เปลี่ยนไปตามยุคสมัยแล้ว ทว่าลุคของเธอยังคงติดตาและตรึงใจ ก่อนโลกจะก้าวสู่สหัสวรรษใหม่ นิตยสารแฟชั่นชั้นนำยังจัดอันดับให้เธอเป็นผู้หญิงที่น่าหลงใหลที่สุดแห่งศตวรรษที่ 20

มาริลีน มอนโร ชื่อเดิม นอร์มา จีน มอร์เทนสัน เสียชีวิตแต่วัยเยาว์และงดงาม ในตอนเช้าตรู่ของวันที่ 5 สิงหาคม 1962 ภายในบ้านพักที่เบรนต์วูด รัฐแคลิฟอร์เนีย นำมาซึ่งความใคร่รู้ว่าเธอปลิดชีพตัวเองหรือเป็นการฆาตกรรม

สิ่งที่ยืนยันได้คือแม่บ้านที่ชื่อ ยูนีซ เมอร์เรย์ พบศพมาริลีน วัย 36 ปี นอนเสียชีวิตอยู่ในห้องนอน สภาพเปลือยกาย โทรศัพท์ที่โต๊ะข้างเตียงถูกยกหูออก เวลาต่อมา แพทย์ชันสูตรพบยานอนหลับหลายชนิดจำนวนมากอยู่ในร่างกาย มีคำชี้แจงอย่างเป็นทางการง่ายๆ ว่าเป็นการฆ่าตัวตายโดยกินยานอนหลับเกินขนาด นักวิเคราะห์หลายคนตั้งข้อสงสัยจากสภาพแวดล้อมของสถานที่เกิดเหตุ ว่าทำไมพนักงานสอบสวนรีบสรุปสำนวนและปิดคดีอย่างรวดเร็ว เป็นเพราะความชุ่ยหรือเจตนา

​ การที่ดาราสาวฮอลลีวูดผมบลอนด์เสียชีวิตด้วยยานอนหลับนั้นไม่มีใครเคลือบแคลงใจ เพียงแต่มันมาถึงจุดนั้นได้อย่างไร เป็นคำถามที่ค้างคาใจทั้งผู้เชี่ยวชาญและแฟนคลับมาตลอด 4 ทศวรรษหลังจากมาริลีนเสียชีวิต

ทฤษฎีเหตุผลในการวิจารณ์ศิลปะของมอนโร ซี เบียร์ดสลีย์ มุ่งเน้นในด้านใดมากที่สุด

มอนโรและอาร์เธอร์ มิลเลอร์

​ มาริลีน มอนโร ผลิตภัณฑ์งานศิลป์ของฮอลลีวูดที่งดงามและร่าเริง แต่ในความเป็นจริง เธอมีปัญหาทางจิต มักใช้เครื่องดื่มแอลกอฮอล์หรือยานอนหลับดับความรู้สึกกดดัน ชีวิตส่วนตัวของนอร์มา จีน ตัวจริงแตกต่างจากมาริลีนซึ่งเป็นผู้หญิงบนจอในฝันของผู้ชาย เธอล้มเหลวในชีวิตคู่กับผู้ชาย 3 คน และบ่อยครั้งเธอมักไปพัวพันกับผู้ชายที่ประสบความสำเร็จ มีอำนาจ และแต่งงานแล้วแทบทั้งนั้น

มีหลายทฤษฎีที่เชื่อมโยงกับการตายของมาริลีน มอนโร ตั้งแต่ประธานาธิบดี จอห์น เอฟ. เคนเนดี ที่เล่าลือกันว่าเป็นคนสั่งให้ซีไอเอจัดการกับเธอ เนื่องจากสัมพันธ์รักระหว่างเขากับมอนโรจะเป็นภัยต่อตำแหน่งทางการเมืองของตนเอง รวมถึงโรเบิร์ต เคนเนดี-น้องชาย ก็เคยมีความสัมพันธ์ลับๆ กับดาราสาว ในปี 1986 หนังสารคดีของ BBC เคยเปิดประเด็นเป็นครั้งแรกว่าโรเบิร์ตและปีเตอร์ ลอว์ฟอร์ด-พี่เขย น่าจะไปพบมอนโรในวันและคืนที่เธอเสียชีวิต เพียงแต่ไม่มีหลักฐานใดๆ โยงถึงพวกเขา อีกทั้งหลักฐานบางอย่างก็สูญหายไปแล้ว

​ อีกทฤษฎีหนึ่งกล่าวถึงความเกี่ยวข้องของมาเฟียกับซูเปอร์สตาร์ชื่อ แซม เจียนคานา หัวหน้าแก๊งมาเฟีย เคยวางแผนส่งนักฆ่าไปสังหารมอนโร เพื่อจะเชื่อมโยงคดีฆาตกรรมไปถึงโรเบิร์ต เคนเนดี เป็นการล้างแค้นเคนเนดี ซึ่งขณะนั้นดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม และเป็นอุปสรรคในธุรกิจผิดกฎหมายของกลุ่มมาเฟีย

​ หรือบางคนตั้งข้อสังเกตถึงแม่บ้านซึ่งเป็นคนพบศพ รวมทั้งจิตแพทย์ที่จ่ายยานอนหลับในปริมาณมากเกินไป เพียงแต่ข้อสงสัยต่างๆ เหล่านี้ขาดแรงจูงใจมาสนับสนุน

ทฤษฎีเหตุผลในการวิจารณ์ศิลปะของมอนโร ซี เบียร์ดสลีย์ มุ่งเน้นในด้านใดมากที่สุด

​ ส่วนที่ขัดแย้งกับทฤษฎีฆ่าตัวตายโดยตรง เสนอแง่มุมที่ว่ามอนโรยังทำงานภายใต้สัญญากับค่ายฟ็อกซ์ และในวันจันทร์ถัดมา เธอยังมีคิวถ่าย นอกจากนั้น นิตยสาร Life และ Paris Match ยังนำเสนอมอนโรเป็นภาพปกกับความสำเร็จด้านรายได้จากหนังเรื่องล่าสุด อีกทั้งตัวเธอเองยังเขียนเล่าถึงช่วงเวลาที่มีความสุขที่สุดในชีวิต…ก่อนหน้าวันตายเพียงหนึ่งวัน

ความตายขณะยังสาวและสวย จุดประกายให้ใครๆ ขบคิดหาสาเหตุไปต่างๆ นานา คล้ายคลึงกับกรณีการเสียชีวิตของเลดี้ไดอานา ที่แม้เวลาจะผ่านมานานหลายปี แต่ก็ยังมีการสืบค้นหาสาเหตุ ทั้งข้อสันนิษฐานและประจักษ์พยานผุดโผล่ขึ้นมาเป็นระยะ ไม่ว่าใกล้เคียง บิดเบือน หรือคลุมเครือ

​ ความจริงเกี่ยวกับโมงยามสุดท้ายของมาริลีน มอนโร ยังปิดซ่อนเป็นความลับอยู่ตราบถึงทุกวันนี้

Cover Photo: REUTERS/Stefan Wermuth

FACT BOX:

  • ‘มาริลีน’ เป็นชื่อที่เบน ลีออง แมวมองของทเวนตีธ์ เซ็นจูรี ฟ็อกซ์ ตั้งให้ ตามชื่อของสาวนักเต้น ‘มาริลีน มิลเลอร์’ ส่วนนามสกุล เธอเป็นคนเลือกเอง จากชื่อแรกเกิดของแม่ (แกลดีส์ เพิร์ล เบเกอร์)
  • มาริลีน มอนโร แต่งงานครั้งแรกในปี 1942 ขณะอายุเพียง 16 ปี กับเจมส์ ‘จิม’ โดเฮอร์ตี้ เพื่อนชายข้างบ้านวัยแก่กว่า 5 ปี หลังจากนั้นไม่นาน เขาก็ถูกเกณฑ์เข้าเป็นกองกำลังในกองทัพเรือ ทั้งสองหย่ากันในปี 1946 ระหว่างที่มอนโรเริ่มเข้าวงการ สามีคนที่สอง โจ ดิมักจิโอ-นักเบสบอล ที่มอนโรรู้จักจากการ ‘นัดบอด’ เธอเข้าพิธีแต่งงานตามประเพณีของคาทอลิกในเดือนมกราคม 1954 และหย่าจากกันใน 9 เดือนถัดมา (หลังจากมอนโรเสียชีวิต ดิมักจิโอนำดอกกุหลาบไปวางที่หลุมศพเธอสัปดาห์ละ 3 ครั้งเป็นเวลานานถึง 20 ปี) สามีคนที่ 3 อาร์เธอร์ มิลเลอร์ ทำให้เธอต้องเปลี่ยนความเชื่อเข้าศาสนายิว ทั้งสองแต่งงานกันในปี 1956 และเป็นครั้งแรกที่มอนโรมีความสุขกับการมีครอบครัว พวกเขาปรารถนาจะมีลูกด้วยกัน มอนโรนึกเห็นภาพตัวเองผละออกจากวงการ มาทำหน้าที่เป็นแม่บ้านให้เขา แต่ชีวิตคู่ส่อเค้าจะไปไม่รอด หลังจากเธอแท้งลูกถึง 3 ครั้ง มิลเลอร์เริ่มแคลงใจกับปัญหาการติดยานอนหลับของเธอ ในขณะที่เธอแอบไปอ่านสมุดบันทึกของเขา ได้รับรู้ว่าเขาเหลือเพียงความรู้สึกสงสารเธอ หลังจากเกิดปากเสียงกันบ่อยครั้ง ทั้งคู่ตัดสินใจหย่าจากกันตอนต้นปี 1961
  • ปี 1949 มอนโรเป็นนางแบบเปลื้องผ้าให้กับทอม เคลลีย์ แต่ภาพเรือนร่างเปลือยบนผ้ากำมะหยี่สีแดงกลับมากลายเป็นข่าวอื้อฉาวในเดือนมีนาคม 1952 เมื่อมันถูกนำมาตีพิมพ์เป็นภาพปฏิทิน เธอให้เหตุผลในการถ่ายแบบครั้งนั้นว่า “ฉันต้องหาเงินมาจ่ายค่าเช่า!” ปฏิทินเล่มดังกล่าวขายดีถล่มทลาย แต่ความจริงเธอได้รับเงินค่าตอบแทนสำหรับการถ่ายแบบภาพนั้นเพียง 50 ดอลลาร์ ปี 1953 ภาพเดียวกันนี้ถูกนำไปใช้เป็นภาพปกของนิตยสาร Playboy ฉบับแรก
  • นอร์มา จีน มอร์เทนสัน เปลี่ยนชื่อเป็น มาริลีน มอนโร ตามกฎหมายในปี 1955
  • หนังเรื่องสุดท้ายที่มาริลีน มอนโร แสดงและถ่ายทำไม่แล้วเสร็จคือ Something’s Got to Give เธอเข้ากองถ่ายเพียง 17 วัน จากคิวถ่ายทั้งหมด 30 วัน
  • ระหว่างโดดคิวถ่ายหนังเรื่องสุดท้าย มอนโรกลับไปปรากฏตัวในงานฉลองวันเกิดของประธานาธิบดี จอห์น เอฟ. เคนเนดี ที่แมดิสัน สแควร์ การ์เดน ในชุดเลื่อมผ้าสีเนื้อประดับมุข ซึ่งออกแบบตัดเย็บโดยฌอง ลูอีส
  • เมื่อครั้งยังมีชีวิตอยู่ มาริลีน มอนโร แทบไม่เคยได้รับการยอมรับหรือยกย่องด้านการแสดงจากสถาบันไหนเลย แต่หลังจากเธอเสียชีวิตไปแล้ว ในปี 1999 American Film Institute ยกย่องเธอเป็นดาราหญิงอเมริกันที่ยิ่งใหญ่อันดับที่ 6
  • จวบถึงวันที่เสียชีวิต มอนโรมีทรัพย์สินเหลืออยู่ราว 1 ล้านดอลลาร์

Tags: Marilyn Monroe, John F. Kennedy, มาริลีน มอนโร, จอห์น เอฟ. เคนเนดี, นอร์มา จีน มอร์เทนสัน

Author

  • ทฤษฎีเหตุผลในการวิจารณ์ศิลปะของมอนโร ซี เบียร์ดสลีย์ มุ่งเน้นในด้านใดมากที่สุด

ทฤษฎีเหตุผลในการวิจารณ์ศิลปะของมอนโร ซี เบียร์ดสลีย์ มุ่งเน้นในด้านใด

เหตุผลในการวิเคราะห์งานของมอนโร เบียร์สลีย์ มี ๔ ข้อ เหตุผลในการสร้างสรรค์ผลงาน เป็นเหตุผลที่เกิดขึ้นก่อนการสร้างสรรค์งานศิลปะ เป็นต้นเหตุของการเกิดขึ้นของผลงาน เช่น ความตั้งใจ ความมุ่งมั่น ความจริงใจของผู้สร้างสรรค์งานศิลปะชิ้นใดชิ้นหนึ่ง การวิเคราะห์ความเข้าใจเป็นสิ่งที่ยากหากดูแต่

จุดมุ่งหมายที่สำคัญของการวิจารณ์ศิลปะคืออะไร

1. เพื่อให้ผู้รู้ ครู อาจารย์ และนักวิจารณ์ศิลปะถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจ และ ประสบการณ์ของตนเกี่ยวกับศิลปะให้กับผู้ที่สนใจ 2. เพื่อให้ผู้ที่สนใจงานศิลปะได้รับความรู้ หรือเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจ และประสบการณ์ 3. เพื่อชื่นชมผลงานและให้คำแนะนำแก่ศิลปิน ซึ่งจะนำไปสู่การปรับปรุงผลงานให้ได้มาตรฐานและมีคุณภาพ

ทฤษฎีการวิจารณ์อย่างสุนทรีย์ ของ ราล์ฟ สมิธ ประกอบด้วยอะไรบ้าง

ราล์ฟ สมิธ อธิบาย การระบุคุณสมบัติทางสุนทรีย์ไว้ 3 ประการ คือ (1.) คุณสมบัติต่างๆ ที่เห็นได้อย่างชัดเจน อย่างมีสุนทรียะที่ลึกซึ้ง ชัดเจน ละเอียด (2.) คุณสมบัติที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับประเด็นของสุนทรียภาพ อารมณ์ ความรู้สึกที่ต้องอธิบายอย่างชัดเจน (3.) การระบุคุณสมบัติสุนทรีย์อีกประเภทหนึ่ง ซึ่งมีความเหมาะสมมากที่สุด คือ ...

การวิจารณ์ผลงานศิลปะมีความสำคัญต่อวงการศิลปะอย่างไร

ประโยชน์ ของการวิจารณ์งานทัศนศิลป์ 1. มีโอกาสแสดงแนวความคิดสร้างสรรค์ของตนเอง 2. รับทราบแนวความคิดของผู้อื่นเพื่อนาไปปรับปรุง แก้ไขและพัฒนาให้ผลงานของตนเองดีขึ้น 3. เกิดพลังที่จะสร้างผลงานศิลปะต่อไป