ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นได้ กำหนด ให้ ชนชั้น ใด มีศักดินาต่ำ ที่สุด

ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นได้ กำหนด ให้ ชนชั้น ใด มีศักดินาต่ำ ที่สุด


สังคมของไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ มีการแบ่งชนชั้นออกเป็น 4 ประเภทคือ


1.เจ้านาย
2.ขุนนาง หรือ ข้าราชการ
3.ไพร่ หรือ สามัญชน
4.ทาส


1. เจ้านาย คือผู้ที่สืบเชื้อสายมาจากพระมหากษัตริย์ แต่มิได้หมายความว่าผู้ที่สืบเชื้อสายมาจากพระมหากษัตริย์ทุกคนจะเป็นเจ้านายหมด ลูกหลานของพระมหากษัตริย์จะถูกลดสกุลยศตามลำดับ และ ภายใน 5 ชั่วคน ลูกหลานของเจ้านายก็จะกลายเป็นสามัญชน ราชสกุลยศจะมีเพียง 5 ชั้นคือ เจ้าฟ้า เป็นชั้นสูงสุด เจ้าฟ้าคือ พระโอรส ธิดาของพระมหากษัตริย์อันประสูติจากอัครมเหษี
พระองค์เจ้า คือ พระโอรส ธิดาของพระมหากษัตริย์อันประสูติแด่พระสนม หรือเป็นพระโอรส ธิดาของเจ้าฟ้า


หม่อมเจ้า คือ พระโอรส ธิดา ของพระองค์เจ้า
หม่อมราชวงศ์ คือ บุตรธิดาของหม่อมเจ้า
หม่อมหลวง คือ บุตรธิดาของหม่อมราชวงศ์
พอถึงชั้นหม่อมราชวงศ์และหม่อมหลวง ก็ถือว่าเป็นสามัญชนแล้วมิได้มีสิทธิพิเศษเช่นเจ้านายชั้นสูงแต่อย่างใด
เพื่อเฉลิมพระเกียรติและตอบแทนเจ้านายที่ได้ทำความดีความชอบในราชการ พระมหากษัตริย์ จะทรงแต่งตั้งเจ้านายนั้น ๆ ให้ทรงกรม ซึ่งมีลำดับขั้นเหมือนกับยศของขุนนางดังนี้


ชั้นสูงสุดคือ กรมพระยา กรมพระ กรมหลวง กรมขุน กรมหมื่น ตามลำดับ
เจ้านายชั้นเจ้าฟ้า ถ้าได้ทรงกรมจะเริ่มตั้งแต่ กรมขุน ขึ้นไป ตั้งแต่พระองค์เจ้าลงมาเมื่อได้ทรงกรม จะต้องเริ่มตั้งแต่ กรมหมื่น
สิทธิพิเศษของเจ้านายคือ เมื่อเกิดมีคดี ศาลอื่น ๆ จะตัดสินไม่ได้นอกจากศาลกรมวัง และจะขายเจ้านายลงเป็นทาสไม่ได้ เจ้านายจะไม่ถูกเกณฑ์แรงงานด้วยประการใด ๆ
2. ขุนนาง หรือ ข้าราชการ ยศของขุนนางเรียงลำดับจากขั้นสูงสุดลงไปดังนี้

ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นได้ กำหนด ให้ ชนชั้น ใด มีศักดินาต่ำ ที่สุด


สมเด็จเจ้าพระยา
เจ้าพระยา
พระยา
พระ
หลวง
ขุน
หมื่น
พัน
ทนาย

ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นได้ กำหนด ให้ ชนชั้น ใด มีศักดินาต่ำ ที่สุด

ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นได้ กำหนด ให้ ชนชั้น ใด มีศักดินาต่ำ ที่สุด

ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นได้ กำหนด ให้ ชนชั้น ใด มีศักดินาต่ำ ที่สุด

ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นได้ กำหนด ให้ ชนชั้น ใด มีศักดินาต่ำ ที่สุด

ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นได้ กำหนด ให้ ชนชั้น ใด มีศักดินาต่ำ ที่สุด

ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นได้ กำหนด ให้ ชนชั้น ใด มีศักดินาต่ำ ที่สุด


พระมหากษัตริย์จะพระราชทานยศและเลื่อนยศ ให้ตามความดีความชอบ นอกจากยศแล้วพระมหากษัตริย์ยังพระราชทานราชทินนามต่อท้ายยศให้ขุนนางด้วย ราชทินนามจะเป็นเครื่องบอกหน้าที่ที่ได้ เช่น เจ้าพระยามหาเสนา พระยาจ่าแสนยากร มักจะเป็นขุนนางฝ่ายทหาร เจ้าพระยาจักรี พระยาธรรมา พระยาพลเทพ พระยาพระคลัง เป็นขุนนางฝ่ายพลเรือน สิทธิพิเศษของขุนนางคือไม่โดยเกณฑ์แรงงานและสิทธินี้ครอบคลุมไปถึงผู้เป็นลูกด้วย ขุนนางที่มีศักดินาตั้งแต่ 400 ไร่ขึ้นไป มีสิทธิแต่งตั้งทนายว่าความให้ในศาล ได้เข้าเฝ้า และมีสิทธิ์มีไพร่อยู่ในสังกัดได้

ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นได้ กำหนด ให้ ชนชั้น ใด มีศักดินาต่ำ ที่สุด

ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นได้ กำหนด ให้ ชนชั้น ใด มีศักดินาต่ำ ที่สุด

ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นได้ กำหนด ให้ ชนชั้น ใด มีศักดินาต่ำ ที่สุด

ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นได้ กำหนด ให้ ชนชั้น ใด มีศักดินาต่ำ ที่สุด


3. ไพร่ หรือสามัญชน หมายถึง ผู้ชายที่มีอายุ 18 – 60 ปี ชายฉกรรจ์ที่เป็นสามัญชนจะต้องสักเลก เพื่อสังกัดเจ้านายหรือขุนนางคนใดคนหนึ่งซึ่งเรียกว่า มูลนาย หากผู้ใดขัดขืน มิยอมสังกัดมูลนาย หรือไปรายงานตัวเป็นไพร่ จะมีโทษและจะไม่ได้รับการคุ้มครองจากกฎหมาย เช่นไม่มีสิทธิ์ในการถือครองที่ดินทำกิน จะฟ้องร้องใครไม่ได้ ไพร่มี 3 ประเภทดังนี้

3.1 ไพร่สม คือ ชายที่มีอายุ 18 – 20 ปี สังกัดมูลนายที่เป็นเจ้านายและขุนนางเพื่อให้ฝึกหัดใช้งาน
3.2 ไพร่หลวง คือ ชายที่มีอายุ 20 – 60 ปี มีหน้าที่รับราชการแผ่นดิน ตามการเกณฑแรงงานตามสมัยแต่ถ้ามีลูกเข้าเกณฑ์แรงงานแทนตนถึง 3 คน ก็จะไม่ต้องถูกเกณฑ์แรงงานให้ปลดออกจากราชการได้ก่อนอายุ 60 ปี
3.3 ไพร่ส่วย คือ ชายที่มีอายุ 20 – 60 ปี ที่ไม่ประสงค์เข้ารับราชการ โดนเกณฑ์แรงงาน รัฐบาลอนุญาตให้นำเงินหรือสิ่งของมาชำระแทนแรงงานได้ เรียกเงินหรือสิ่งของที่ใช้แทนแรงงานว่า ส่วย หรือเงินค่าราชการ
4. ทาส มีอยู่ 7 ประเภทดังนี้
4.1 ทาสสินไถ่ คือ ทาสที่ขายตัวเองหรือถูกผู้อื่นขายให้แก่นายเงินต้องทำงานจนกว่าจะหาเงินมาไถ่ค่าตัวได้ จึงจะหลุดพ้นเป็นไท
4.2 ทาสในเรือนเบี้ย คือ ลูกของทาสที่เกิดมาในเวลาที่พ่อ แม่กำลังเป็นทาสอยู่
4.3 ทาสได้มาแต่บิดามารดา คือ ลูกทาสที่ได้จากพ่อหรือแม่ของเด็กที่เป็นทาส
4.4 ทาสท่านให้ คือ ทาสที่เดิมเป็นของผู้หนึ่งแล้วถูกยกให้เป็นกรรมสิทธิ์ของอีกผู้หนึ่ง
4.5 ทาสที่ช่วยมาจากทัณฑโทษ คือ ผู้ที่ถูกต้องโทษต้องเสียค่าปรับแต่ไม่มีเงินให้ แล้วมีนายเงินเอาเงิน
มาใช้แทนให้ ผู้ต้องโทษก็ต้องเป็นทาสของนายเงิน
4.6 ทาสที่เลี้ยงไว้เมื่อเกิดทุพภิกขภัย คือ ในเวลามีภัยธรรมชาติทำให้ข้าวยากหมากแพง ไพร่บางคน อดอยากไม่สามารถเลี้ยงตัวเองได้ต้องอาศัยมูลนายกิน ในที่สุดก็ต้องยอมเป็นทาสของมูลนายนั้น
4.7 ทาสเชลยคือ ทาสที่ได้มาจากการรบทัพจับศึกหรือการทำสงคราม เมื่อได้ชัยชนะจะต้อน ผู้แพ้สงครามมาเป็นทาส