กองบริหารทรัพยากรบุคคล กรมบังคับคดี

Page 19 - คู่มือติดต่อราชการ - กรมบังคับคดี

P. 19

กองบริหารทรัพยากรบุคคล กรมบังคับคดี

กรมบังคับคดี         อำานาจหน้าที่หน่วยงานในกรมบังคับคดี  17
                     กระทรวงยุติธรรม



                  3. - 8. กองบังคับคดีล้มละลาย 1 - 6

                  มีอำานาจหน้าที่  ดังต่อไปนี้                                  คู่มือติดต่อราชการ

                     ดำาเนินการเกี่ยวกับการบังคับคดีล้มละลายตามกฎหมายว่าด้วย
            ล้มละลาย
                     ดำาเนินการชำาระบัญชีห้างหุ้นส่วน บริษัท หรือนิติบุคคลในฐานะ
            ผู้ชำาระบัญชีตามคำาสั่งศาล
                     ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่น

            ที่เกี่ยวข้อง หรือที่ได้รับมอบหมาย


                  9. กองบริหารการคลัง

                  มีอำานาจหน้าที่  ดังต่อไปนี้
                     ดำาเนินการเกี่ยวกับการเงิน การบัญชี การงบประมาณ การพัสดุ
            อาคารสถานที่ และยานพาหนะของกรม

                     จัดทำาบัญชีเพื่อควบคุมเงินที่อยู่ระหว่างดำาเนินการบังคับคดีและ
            เงินอื่นที่เกี่ยวข้องกับคดี
                     ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่น

            ที่เกี่ยวข้อง หรือที่ได้รับมอบหมาย


                  10. กองบริหารทรัพยากรบุคคล

                  มีอำานาจหน้าที่  ดังต่อไปนี้
                      บริหารงานทรัพยากรบุคคลและจัดระบบงานของกรม

                      ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่น
            ที่เกี่ยวข้อง หรือที่ได้รับมอบหมาย

Page 40 - วารสารกรมบังคับคดี ปีที่ 22 ฉบับที่ 113

P. 40

กองบริหารทรัพยากรบุคคล กรมบังคับคดี

3) ผู้เข้ารับการประเมินส่ง File. ของผลงานฯ มายัง E - mail:  ภายใน 15 วัน นับจากวันที่
       กองบริหารทรัพยากรบุคคล/กรมบังคับคดีได้รับผลงานที่มีเอกสารครบถ้วนแล้ว (สําหรับข้อนี้สําคัญมากนะครับสําหรับข้าราชการ

       ในสังกัดกรมบังคับคดี ทั้งนี้ก็เพื่อตอบรับกับนโยบายของกรมบังคับคดีที่มีแผนการปรับปรุงโครงสร้างองค์กรใหม่ เพื่อรองรับการเข้าสู่
       ระบบ Digital Economy Thailand 4.0)






         “ควรเอางาน                                     3. ลักษณะของผลงาน


         แบบไหนดีมาทำา                                       เพื่อให้ผู้เข้ารับการประเมินผลงานจะได้ไม่ต้องเจอกับเหตุการณ์

                                                        แบบข้อความข้างต้น  ดังนั้น  กองบริหารทรัพยากรบุคคลในฐานะ
         ประเมิน และวิสัยทัศน์                          ฝ่ายเลขานุการของคณะกรรมการการประเมินผลงานฯ จึงขอกล่าวถึง


         ควรที่จะเป็นแบบไหน                             ลักษณะของผลงานตามประกาศ อ.ก.พ.กรมบังคับคดี ลงวันที่ 1 พฤษภาคม
                                                        2561 ซึ่งได้ระบุไว้ ดังนี้
          คิดไม่ออกกกกก                                      ลักษณะของผลงานในตำาแหน่งระดับชำานาญการ

                                                             1) คุณภาพของผลงาน มีคุณภาพของผลงานที่เชื่อถือได้
         เลยยยยยยย                                           2) ความยุ่งยากซับซ้อนของผลงาน ใช้หลักวิชาการเฉพาะทางในการ


             (-^-)? ”                                   ปฏิบัติงานที่มีความยุ่งยากมาก จําเป็นต้องมีการตัดสินใจ หรือแก้ปัญหา
                                                        ในงานที่ปฏิบัติด้วยตนเองได้
                                                             3) ประโยชน์ของผลงาน เป็นประโยชน์ต่อทางราชการหรือ

                                                        ประชาชน หรือต่อความก้าวหน้าทางวิชาการ หรือการปฏิบัติงานที่
                                                        เกี่ยวข้อง สามารถช่วยเสริมยุทธศาสตร์ของหน่วยงานได้เป็นอย่างดี

                                                             4)  ความรู้ความชํานาญงานและประสบการณ์  มีความรู้
                                                        ความชํานาญงาน และประสบการณ์ที่สามารถปฏิบัติงานในความรับผิดชอบ
                                                        ด้วยตนเองได้ เป็นที่ยอมรับในงานนั้นๆ






            ซึ่งพออ่านจากประกาศดังกล่าวแล้ว กองบริหารทรัพยากรบุคคล คาดว่ายังคงมีบางท่านสงสัยหรือมึนๆ อยู่บางไม่มากก็น้อย และ
       ในฐานะของฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการพิจารณาผลงานฯ ขออธิบายแบบบ้านๆ ว่า ลักษณะของผลงานที่จะนํามาทําผลงานวิชาการ

       เพื่อเลื่อนระดับในตําแหน่งที่สูงขึ้น “ควรจะเป็นผลงานที่ไม่ได้ง่ายจนเกินไป เป็นผลงานที่แสดงออกถึงความรู้และความสามารถ
       ของคุณที่สะท้อนถึงการทํางานที่ผ่านมา (ที่คุณคิดว่า Very Good) และที่สําคัญต้องไม่ผิดข้อกฎหมาย/ระเบียบหรือซํ้ากับงาน
       ที่กรมบังคับคดีได้ดําเนินการไว้แล้ว”

            และจากที่กล่าวมาในข้างต้นทั้งหมดมันคือส่วนหนึ่งของ “กระบวนการประเมินผลงาน” ที่เป็นส่วนที่ผู้เข้ารับการประเมินสามารถ
       เตรียมตัวและจัดการกับผลงานของตนเองก่อนที่จะส่งให้กรมบังคับคดีหรือกองบริหารทรัพยากรบุคคลเพื่อดําเนินการรวบรวมผลงาน
       ของผู้เข้ารับการประเมินให้แก่คณะกรรมการประเมินผลงานของบุคคลเพื่อแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในระดับที่สูงขึ้นต่อไป ซึ่งในการ

       พิจารณาผลงานวิชาการถือเป็นอํานาจหน้าที่ของคณะกรรมการประเมินผลงานของบุคคลเพื่อแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในระดับที่สูงขึ้น
       ในการกําหนดเงื่อนไข ขอบเขต และมาตรฐานของผลงานในแต่ละสายงาน โดยคณะกรรมการประเมินผลงานได้ถูกแต่งตั้ง โดย อ.ก.พ.

       กรมบังคับคดี ดังนั้น กองบริหารทรัพยากรบุคคล จึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่าท่านผู้อ่านหรือผู้ที่จะเข้ารับการประเมินผลงานทางวิชาการ
       ระดับชํานาญการ ภายในกรมบังคับคดี จะสามารถเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่การประเมินผลงานวิชาการ ระดับชํานาญการ ภายใน
       กรมบังคับคดีต่อไป



      กรมบังคับคดี  กระทรวงยุติธรรม    40