วิธีอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข

วชิ าสงั คมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม

ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 4

เรอ่ ื ง การอยูร่ ว่ มกันอยา่ งสันติสุข

คณุ ครธู ญั ยาภรณ์ ราชนุ้ย (ครไู ม)้

สาระที่ 2 หน้าท่ีพลเมอื ง วฒั นธรรมและการดาเนินชวี ติ ในสงั คม

มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏิบตั ิตนตามหน้าท่ีของการเปน็ พลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงามและธารงรกั ษา
ประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดารงชวี ติ อยู่รว่ มกันในสงั คมไทยและสงั คมโลกอย่างสันติสุข
ตัวชว้ี ดั

ส 2.1 ป.4/5 เสนอวธิ กี ารที่จะอยู่รว่ มกันอย่างสันติสุขในชวี ติ ประจาวนั
สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด

ความขัดแย้งท่ีเกิดข้ึนในชวี ติ ประจาวันเกิดจากหลายสาเหตุ ถ้ารจู้ กั แก้ปัญหาน้ันด้วยสันติวธิ ี ก็จะ
สามารถอยู่รว่ มกันได้อย่างสันติสุข
จุดประสงค์การเรยี นรู้

1) วเิ คราะห์ปัญหาและสาเหตุของการเกิดความขัดแย้งในชวี ติ ประจาวันได้
2) เสนอแนวทางการแก้ปัญหาความขัดแย้งด้วยสันติวธิ ไี ด้

การอยรู่ ว่ มกนั อยา่ งสันติสุข

คนเราทุกคนจะอยู่คนเดียวไม่ได้ ต้องมีการพ่ึงพาอาศัย
ซึ่งกันและกัน โดยเร่มิ ตั้งแต่ครอบครัว ชุมชนหมู่บ้าน
ตาบล อาเภอ จงั หวัด ประเทศ และโลก เม่ือจาเป็นต้อง
อยู่ร่วมกันกับคนเป็นจานวนมาก เราจึงต้องรู้จักวธิ ีการ
ปฏิบัติตนให้ถูกต้องและเหมาะสม ในฐานะที่เป็นสมาชกิ ที่ดี
ของสังคมแต่ละระดับ

1. ลักษณะของการอยรู่ ว่ มกันอยา่ งสันตสิ ขุ

1. สมาชกิ ทุกคนต้องรู้ เข้าใจ และปฏิบตั ิตนตามบทบาทหน้าที่ของการเปน็
สมาชกิ ที่ดีของครอบครวั สงั คม ชุมชนท่ีตนเองอาศัยอยู่ และเป็นพลเมืองที่ดี
ของประเทศไทย

2. สมาชกิ ทุกคนต้องรว่ มกันพัฒนาและแก้ไขปัญหาของครอบครวั สงั คม
และชุมชน เพื่อการอยูร่ ว่ มกันด้วยความสมานฉันท์

3. นาคณุ ธรรมในการอยู่รว่ มกันมาปฏิบตั ิอยา่ งเครง่ ครดั ได้แก่ หลักคารวธรรม หลักปัญญาธรรม
และหลักสามัคคีธรรม เพื่อประโยชน์ต่อตนเองและส่วนรวม

4. รว่ มสืบสานศิลปวฒั นธรรมท้องถ่ิน เพ่ือรกั ษามรดกของท้องถ่ินให้คงอยู่
และพัฒนาตามความเหมาะสม

5. รว่ มมือกันอนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อมในท้องถ่ิน
เพราะทรพั ยากรบางอยา่ งอาจหมดไปได้ ถ้าไม่ชว่ ยกันประหยัด

6. รบั ฟังความคิดเห็นของคนส่วนใหญ่ และใชเ้ หตุผลประกอบการตัดสินใจในการแก้ไขปัญหาต่างๆ

2. ปัญหาและสาเหตขุ องการเกิดความขัดแย้ง

1. การไม่ยอมรบั ในความคิด ความเชอ่ื ที่แตกต่างจากตน
2. การเห็นแก่ประโยชน์ส่วนตัวมากกว่าประโยชน์ส่วนรวม
3. การมีค่านิยมที่แตกต่างกัน เชน่ บางคนนิยมใชส้ ่งิ ของผลิตในประเทศ
บางคนนิยมใชส้ ่งิ ของท่ีผลิตจากต่างประเทศ เป็นต้น
4. การไม่ปฏิบตั ิตามระเบียบ ข้อตกลง กฎหมาย เชน่ การแย่งกันข้ึนรถ
หรอื ลงเรอื การจอดรถบังหน้ารา้ นขายของของผู้อื่น การขับรถขวางทางคน
อ่ืน เป็นต้น
5. การไม่ปฏิบัติตามบทบาท หน้าที่ และความรบั ผิดชอบ เชน่ ไม่ชว่ ยงานบา้ น ไม่ชว่ ยกันรกั ษา
ส่งิ แวดล้อมในชุมชน เป็นต้น
6. การมีอคติหรอื มีความไม่เท่ียงธรรมต่อผู้อ่ืน
7. การกระทาไปโดยขาดความรคู้ วามเข้าใจถึงผลกระทบท่ีเกิดข้ึน เชน่ การนาส่งิ ของส่วนตัว
ของเพื่อนมาใชโ้ ดยไม่บอกกล่าว หรอื ขออนุญาตเพื่อนก่อน โดยคิดวา่ เพ่ือนคงไม่วา่ อะไร อาจทาให้
เพื่อนไม่พึงพอใจ เกิดการกระทบกระท่ังเป็นความขัดแยง้ ข้ึนได้

3. แนวทางการแก้ปญั หาความขดั แยง้ ด้วยสันติวธิ ี

1. ปฏิบตั ิตนตามกฎ กติกา ขอ้ บังคับ และกฎหมาย ซง่ึ จะชว่ ยให้เราอยู่รว่ ม
กันได้อยา่ งสงบสุขและลดความขัดแยง้ ลงได้

2. ปฏิบตั ิตนตามสถานภาพ มารยาท สิทธิ เสรภี าพ หน้าที่ของตนเองและ
ผู้อื่น ในฐานะสมาชกิ ท่ีดีของสงั คม

3. เคารพความคิด ความเชอ่ื และการปฏิบัติตนของบุคคลอื่นท่ีแตกต่างกัน
โดยปราศจากอคติ

4. รบั ฟัง และยอมรบั ความคิดเห็นของคนส่วนใหญ่ โดยไม่เก็บมาคิดให้เกิดความขัดแย้ง
5. การตัดสินใจต้องอาศัยข้อมูลหลายอย่าง และใชเ้ หตุผลไม่ใชอ้ ารมณ์ หรอื ความคิดเห็นส่วนตัว
6. คิดหรอื กระทาโดยคานึงถึงผลประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตัว ทาด้วยความเท่ียง
ธรรม ไม่คิดถึงพวกพ้อง
7. ให้บุคคลที่มีส่วนได้ส่วนเสียเข้ามามีส่วนรว่ มในการคิด รว่ มวางแผน รว่ มดาเนินการ รว่ ม
ปรบั ปรงุ แก้ไข และรว่ มประเมินสรปุ ผลทุกข้ันตอน เพื่อได้รบั ทราบส่งิ ท่ีรว่ มกัน ทาเพราะจะทาให้เกิด
ความผิดพลาดน้อยลง และลดการขัดแย้งได้

แบบฝกึ หดั
เรอ่ ื ง การอยรู่ ว่ มกันอยา่ งสันติสุข
คาชแ้ี จง ให้นักเรยี นยกตัวอย่างปัญหาหรอื สาเหตุที่อาจจะทา

ให้เกิดความขัดแย้ง พรอ้ มทั้งเสนอแนวทางแก้ไข
และให้นักเรยี นเสนอวธิ กี ารท่ีจะอยู่รว่ มกันอย่างสันติสุขใน

ครอบครวั และโรงเรยี น

แบบฝึกหัด ON HAND
วชิ าสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

หน้า 59

สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด

การปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยเป็นสมาชิกที่ดีของชุมชนย่อมต้องเข้าร่วมกิจกรรมตามวิถีประชาธิปไตย จะช่วยให้สังคมสามารถอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

ตัวชี้วัด

ป. ๔/๑ การปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยในฐานะสมาชิกที่ดีของชุมชน

การวัดผลและประเมินผล

1 ประเมินการบอกหลักธรรมในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขจากการตรวจใบงาน

2 ประเมินการสังเกตการเสนอแนวทางปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีโดยยึดหลักธรรม คารวธรรมสามัคคีธรรม ปัญญาธรรม

3 ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

4 ประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด

ปัญหาความขัดแย้งเกิดได้จากหลายสาเหตุ การลดปัญหาความขัดแย้งด้วยสันติวิธี จะทำให้ทุกคนอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสุข

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

ตัวชี้วัด

ป. ๔/๕ เสนอวิธีการที่จะอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขในชีวิตประจำวัน

การวัดผลและประเมินผล

1 ประเมินการบอกปัญหาและสาเหตุของการเกิดความขัดแย้งในชีวิตประจำวันได้

2 ประเมินการสังเกตการวิเคราะห์วิเคราะห์ปัญหาและสาเหตุของการเกิดความขัดแย้งในชีวิตประจำวันได้

3 ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

4 ประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

เราจะอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขได้อย่างไร

1. มีเมตตากายกรรม ได้แก่ ให้เกียรติและเคารพกันทั้งต่อหน้าและลับหลัง 2. มีเมตตาวจีกรรม ได้แก่ การพูดจาติดต่อกันด้วยความเมตตา แจ้งสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่กัน 3. มีสาธารณโภคี ได้แก่ การแบ่งปันผลประโยชน์โดยชอบธรรมอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม 4. มีศีลสามัญญตา ได้แก่ การประพฤติดีตามกฎเกณฑ์ และมีวินัยในตนเอง

การอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขมีความสำคัญอย่างไร

การอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุขนั้น สมาชิกในสังคมจะต้่องมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันในด้านต่างๆ เช่นการพึ่งพาอาศัยให้ความช่วยเหลือกัน มีความสามัคคีและร่วมมือกันพัฒนาสังคมให้่เจริญก้าวหน้า สังคมก็จะน่าอยู่สมาชิกในสังคมก็มีความสงบสุข ข้อปฏิบัติในการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข - มีความรับผิดชอบ - มีระเบียบวินัย

การอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุขควรปฏิบัติอย่างไร

ธรรมจากหมู่บ้านพลัม : 6 วิธีแห่งการอยู่ร่วมกันอย่างกลมกลืน....
ตระหนักว่าเราอยู่ร่วมในสิ่งแวดล้อมเดียวกัน เราอยู่ภายใต้หลังคาเดียวกัน ... .
แลกเปลี่ยนสิ่งของ สิ่งที่จำเป็นอย่างเท่าเทียมกัน ... .
เคารพกฎเกณฑ์ในการอยู่ร่วมกัน ... .
การใช้วาจาแห่งความรักความเมตตา ... .
การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นที่มีต่อกันและกัน.

จะทำอย่างไรในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขของสังคมพหุวัฒนธรรม

Organization.
เคารพซึ่งกันและกัน ยอมรับวิถีวิชิตของคนในสังคมที่มีความแตกต่างกันทางด้านความคิด ความเชื่อ ศาสนา โดยการทำความเข้าใจ และ เรียนรู้สังคมวัฒนธรรมที่ต่างจากตนเอง.
ไม่แสดงกิริยาและวาจาดูหมิ่นผู้อื่น ... .
ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ... .
ศึกษาวัฒนธรรมต่างๆในโลก ... .
ปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรม.