วิธีหาสินค้าคงเหลือปลายงวด

ภาษีเงินได้นิติบุคคล กรณีการจ่ายค่าตอบแทนให้แก่พนักงานในการยินยอมให้เปลี่ยนแปลงเงื่อนไขในข้อบังคับการทำงาน ระเบียบข้อบังคับการทํางาน 2563 ข้อบังคับเกี่ยวกับการทํางาน บริษัท ปตท ข้อบังคับเกี่ยวกับการทํางาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน 2564 แบบฟอร์ม ตัวอย่าง กฎ ระเบียบบริษัท ตัวอย่างข้อบังคับเกี่ยวกับการทํางาน 2564 ข้อบังคับเกี่ยวกับการทํางาน ภาษาอังกฤษ ข้อบังคับเกี่ยวกับการทํางาน pdf ตัวอย่างข้อบังคับเกี่ยวกับการทํางาน 2564 word

1.  วิธีเข้าก่อน-ออกก่อน วิธีนี้ถือเกณฑ์สมมติว่าสินค้าที่ซื้อหรือผลิตได้ก่อนย่อมจะถูกขายออกไปก่อนและสินค้าที่เหลืออยู่ ณ วันสิ้นงวดจะเป็นสินค้าที่ซื้อหรือผลิตได้ครั้งหลังสุดตามลำดับ

2.  วิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก วิธีนี้ถือว่าราคาทุนของสินค้าที่มีไว้ขายต่อหน่วยเท่ากับราคาทุนทั้งหมดของสินค้าที่ซื้อมาหารด้วยจำนวนหน่วยของสินค้านั้น ถ้ามี                สินค้าคงเหลือในวันสิ้นงวดเป็นกี่หน่วยก็เอาจำนวนหน่วยนั้นคูณด้วยราคาถัวเฉลี่ยต่อหน่วยที่หาได้ ก็จะได้ราคาของสินค้าคงเหลือปลายงวด

3.  วิธีเข้าหลัง-ออกก่อน วิธีนี้ถือว่าราคาของสินค้าที่ซื้อมาหรือผลิตได้ก่อนจะเป็นราคาทุนของสินค้าคงเหลือปลายงวด หรือสินค้าที่ซื้อมาหรือผลิตได้ครั้งหลังสุดของรอบระยะเวลาบัญชีนั้นจะเป็นสินค้าที่ขายออกไปก่อน

4.  ราคาเจาะจง วิธีนี้หมายความว่าถ้าสินค้าคงเหลือสามารถแยกออกได้โดยชัดแจ้งว่าสินค้ารายใดซื้อมาเมื่อใด ด้วยราคาเท่าใด ก็ให้ตีราคาสินค้าคงเหลือตามราคาที่แท้จริงของแต่ละรายที่คงเหลืออยู่นั้น ถ้าสินค้าคงเหลือปลายงวดมีอยู่ 2 หน่วย และสามารถชี้เจาะจงลงไปว่าเป็นสินค้าที่ซื้อมาครั้งที่ 1 และครั้งที่ 3 ครั้งละ 1 หน่วย ราคาของสินค้าคงเหลือปลายงวดจะมีราคา 25 บาท

การบันทึกการตีราคาสินค้าคงเหลือไปสู่มูลค่าสุทธิที่จะได้รับ แสดงได้ดังนี้

เดบิต  ผลขาดทุนจากการตีราคาสินค้าลดลง              xxx
เครดิต  สินค้าคงเหลือหรือค่าเผื่อมูลค่าสินค้าลดลง              xxx

ดังนั้น เมื่อบันทึก สินค้าคงเหลือด้วยราคาที่ต่ำกว่า ถือว่ากิจการได้รับรู้ต้นทุนที่เพิ่มขึ้นของความล้าสมัย ราคาที่ลดลงไปแล้ว  ดังนั้น ยอดเงินตามบัญชี “ผลขาดทุน..ลดลง” จึงต้องเป็นรายการบวกกลับในการคำนวณกำไรสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล (ต้องระวังความซ้ำซ้อน)

คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น เพื่อช่วยให้การทำงานหลักของเว็บไซต์ใช้งานได้ รวมถึงการเข้าถึงพื้นที่ที่ปลอดภัยต่าง ๆ ของเว็บไซต์ หากไม่มีคุกกี้นี้เว็บไซต์จะไม่สามารถทำงานได้อย่างเหมาะสม และจะใช้งานได้โดยการตั้งค่าเริ่มต้น โดยไม่สามารถปิดการใช้งานได้


คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์ จะช่วยให้เว็บไซต์เข้าใจรูปแบบการใช้งานของผู้เข้าชมและจะช่วยปรับปรุงประสบการณ์การใช้งาน โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลและรายงานผลการใช้งานของผู้ใช้งาน


คุกกี้ในส่วนการตลาด ใช้เพื่อติดตามพฤติกรรมผู้เข้าชมเว็บไซต์เพื่อแสดงโฆษณาที่เหมาะสมสำหรับผู้ใช้งานแต่ละรายและเพื่อเพิ่มประสิทธิผลการโฆษณาสำหรับผู้เผยแพร่และผู้โฆษณาสำหรับบุคคลที่สาม

ต้นทุนการผลิด = วัตถุดิบใช้ไป + ค่าแรงทางตรง +ค่าใช้จ่ายในการผลิด + งานระหว่างทำต้นงวด – งานระหว่างทำปลายงวด

ต้นทุนขาย = สินค้าสำเร็จรูปต้นงวด + ต้นทุนการผลิตสินค้าสำเร็จรูปปลายงวด

 

เกร็ดความรู้กับธรรมนิติ : สูตรในการคำนวณหาต้นทุนขาย

อ้างอิง : https://www.iliketax.com/%e0%b8%aa%e0%b8%b9%e0%b8%95%e0%b8%a3%e0%b9%83%e0%b8%99%e0%b8%81%e0%b8%b2%e0%b8%a3%e0%b8%84%e0%b8%b3%e0%b8%99%e0%b8%a7%e0%b8%99%e0%b8%ab%e0%b8%b2%e0%b8%95%e0%b9%89%e0%b8%99%e0%b8%97%e0%b8%b8%e0%b8%99/

วิธีหาสินค้าคงเหลือปลายงวด

Post Views: 7,913

Tags: SME, Tax, กิจการ, ขายของออนไลน์, งบการเงิน, จดทะเบียนจัดตั้งบริษัท, จดทะเบียนจัดตั้งห้างหุ้นส่วน, จดทะเบียนนิติบุคคล, จดทะเบียนบริษัท, จดบริษัทลาดกระบัง, จดบริษัทสมุทรปราการ, จดบริษัทอ่อนนุช, จดห้างหุ้นส่วน, จัดทำบัญชี, จัดทำบัญชีรามอินทรา, จัดทำบัญชีลาดกระบัง, ตรวจสอบบัญชี, ทำบัญชี, ทำบัญชีบริษัท, ทำบัญชีบางเขน, ทำบัญชีราคาถูก, ทำบัญชีรามอินทรา, ทำบัญชีรายปี, ทำบัญชีรายเดือน, ทำบัญชีลาดกระบัง, ทำบัญชีสะพานใหม่, ที่ปรึกษาด้านบัญชี, ที่ปรึกษาด้านภาษี, ที่ปรึกษาบัญชี, ที่ปรึกษาภาษี, ธุรกิจ, ธุรกิจSME, บริการบัญชี, บริษัท, ประกอบกิจการ, ประกันสังคม, ปรึกษาด้านบัญชี, ปิดงบการเงิน, ผู้ประกอบการ, ภาษี, ภาษีนิติบุคคล, ภาษีออนไลน์, ภาษีเงินได้นิติบุคคล, รับตรวจสอบบัญชี, รับทำบัญชี, รับยื่นภาษี, รับวางระบบบัญชี, รับวางแผนภาษี, วางแผนภาษี, สอบบัญชี, สำนักงานตรวจสอบบัญชี, สำนักงานบัญชี, หาคนทำบัญชีรามอินทรา, หาคนทำบัญชีสะพานใหม่, ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล, เจ้าของกิจการ

วิธีหาสินค้าคงเหลือปลายงวด
credit:http://exclusive.multibriefs.com/images/exclusive/0429warehouse.jpg

ระบบบัญชีของสินค้าคงเหลือ (Inventory System)
ในการจัดทำบัญชีเกี่ยวกับสินค้าผู้จัดทำบัญชีจะต้องคำนึงถึงความเหมาะสมในการเลือกวิธีการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับสินค้าของกิจการให้สอดคล้องกับตัวสินค้าหรือวัตถุดิบที่กิจการมีอยู่ในครอบครอง ระบบบัญชีเกี่ยวกับสินค้ามี 2 ระบบด้วยกัน คือ ระบบบัญชีสินค้าแบบต่อเนื่อง (Perpetual Inventory System) และระบบบัญชีสินค้าแบบสิ้นงวด (Periodic Inventory System) สำหรับการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับการซื้อขายสินค้าทั้งสองระบบมีวิธีการบันทึกบัญชีต่อไปนี้

1.การบันทึกบัญชีสินค้าแบบต่อเนื่อง (Perpetual Inventory Method)
เป็นการบันทึกบัญชีสินค้าแบบต่อเนื่อง โดนบันทึกการเปลี่ยนแปลงการรับ-จ่ายของสินค้าอยู่ตลอดเวลาเป็นการบันทึกการซื้อ ขาย หรือส่งคืนสินค้า จะมีบัญชีที่สำคัญที่เกี่ยวข้องอยู่ 2 บัญชี คือ บัญชีสินค้า และบัญชีต้นทุนขาย การบันทึกบัญชีวิธีนี้เหมาะสำหรับกิจการที่สินค้าราคาต่อหน่วยสูง เช่น คอมพิวเตอร์ รถยนต์ เครื่องปรับอากาศ

2.การจัดทำงบการเงิน

2.1 บัญชีสินค้า
เมื่อกิจการได้มีการจัดทำงบทดลองขึ้นมานั้นจะมีปัญชีสินค้าปรากฎอยู่ในงบทดลองเมื่อสิ้นงวดบัญชีนั้น ซึ่ง “บัญชีสินค้า”นั้นจะเป็นสินค้าคงเหลือปลายงวด เนื่องจากขบวนการบันทึกบัญชีในระหว่างงวดที่กิจการมีการควบคุมสินค้าคงเหลืออยู่ตลอดเวลาไม่ว่าจะเป็นการซื้อ ขาย รับคืน หรือส่งคืนสินค้า ก็จะนำรายการค้าที่เกิดขึ้นไปทำการปรับปรุงสินค้าคงเหลือของกิจการใน “บัญชีสินค้า” ที่สมุดแยกประเภทตลอดเวลา
2.2 บัญชีต้นทุนขาย
เมื่อกิจการเลือกวิธีการบันทึกบัญชีแบบต่อเนื่อง (Perpetual Inventory) กิจการไม่ต้องมีการคำนวณหาต้นทุนขาย เนื่องจากต้นทุนขายได้มีการคำนวณหาและถูกบันทึกบัญชีทุกครั้งที่มีการขาย หรือการรับคืนสินค้าอยู่แล้ว ดังนั้น “บัญชีต้นทุนขาย”จึงแสดงไว้ในงบทดลองด้านเดบิตเป็นบัญชีประเภทค่าใช้จ่าย

3.การบันทึกบัญชีสินค้าแบบสินค้าเมื่อสิ้นงวด (Periodic Inventory Method)
วิธีนี้จะเป็นการบันทึกบัญชีสินค้าต่อเมื่อสิ้นงวดบัญชีหรือปลายปีเท่านั้น โดยในระหว่างปีจะมีการบันทึกรายการค้าที่เกี่ยวข้องกับการซื้อ-ขายสินค้าที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานตามปกติ จะไม่บันทึกรายการเกี่ยวกับสินค้าโดยตรงไม่ว่าจะเป็นการซื้อ หรือขายสินค้า ส่งคืนหรือรับคืนสินค้า การบันทึกบัญชีสินค้าวิธีนี้จะไม่สามารถทราบได้ว่าเมื่อสิ้นงวดบัญชีจะมีสินค้าคงเหลือเท่าใดเมื่อพิจารณาดูจากสมุดบัญชีแยกประเภททั่วไป แต่เมื่อมีความต้องการที่จะทราบว่ากิจการมีสินค้าคงเหลือสิ้นงวดบัญชีเป็นจำนวนเงินเท่าไรจะต้องทำการตรวจนับสินค้าคงเหลือจากโกดังเก็บสินค้าและบัญชีสินค้า (Stock Cards) และวิธีนี้จะต้องมีการคำนวณหาต้นทุนของสินค้าซึ่งจะไม่แสดงให้เห็นในสมุดบัญชีแยกประเภท

สินค้าคงเหลือปลายงวด
ณ วันสิ้นงวดบัญชีจะต้องมีการตรวจนับสินค้าคงเหลือปลายงวดและตีราคาสินค้าคงเหลือเป็นตัวเงิน ซึ่งจะต้องนำมูลค่าของสินค้าคงเหลือปลายงวดมาบันทึกบัญชีโดยปรับปรุงโอนเข้าบัญชีกำไรขาดทุนของกิจการ

คำนวนหาต้นทุนขายและยอดซื้อสุทธิ
เมื่อสิ้นงวดบัญชีกิจการต้องมีการคำนวณหาต้นทุนขายและยอดซื้อสุทธิของสินค้า เนื่องจากวิธีนี้ไม่ได้มีการบันทึกบัญชีต้นทุนขายตั้งแต่เริ่มแรกหรือทุกครั้งที่มีการขาย

การคำนวณหายอดซื้อสุทธิ = ซื้อ + ค่าขนส่งเข้า – ส่งคืน –ส่วนลดรับ
การคำนวณหาต้นทุนขาย = สินค้าคงเหลือต้นงวด + ซื้อสุทธิ + สินค้าที่ที่มีอยู่ทั้งสิ้น – สินค้าคงเหลือปลายงวด –ต้นทุนขาย

วิธีการคำนวณต้นทุนสินค้าคงเหลือมีกี่วิธี

ซึ่งวิธีการคำนวณสินค้าคงเหลือมาตรฐานทางการบัญชีฉบับที่ 2 มีด้วยกัน 3 วิธี ได้แก่.
1. วิธีเข้าก่อน ออกก่อน (First-in First-out; FIFO) ... .
2. วิธีราคาเจาะจง (Specific Identification) ... .
3. วิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก (Weighted-average method).

กิจการจะทราบราคาสินค้าคงเหลือปลายงวดได้อย่างไร

วิธีคำนวณ สินค้าคงเหลือ ปลายงวด 2. วิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก วิธีนี้ถือว่าราคาทุนของสินค้าที่มีไว้ขายต่อหน่วยเท่ากับราคาทุนทั้งหมดของสินค้าที่ซื้อมาหารด้วยจำนวนหน่วยของสินค้านั้น ถ้ามี สินค้าคงเหลือในวันสิ้นงวดเป็นกี่หน่วยก็เอาจำนวนหน่วยนั้นคูณด้วยราคาถัวเฉลี่ยต่อหน่วยที่หาได้ ก็จะได้ราคาของสินค้าคงเหลือปลายงวด

สินค้า คงเหลือ ปลาย งวด มี อะไร บ้าง

สินค้าคงเหลือปลายงวด (ในหมวด5-รายจ่าย)

สินค้าคงเหลือต้นงวด มาจากไหน

โดยสินค้าคงเหลือต้นงวดได้มาจากยอดคงเหลือในบัญชีสินค้าคงเหลือ ส่วนสินค้าคงเหลือปลายงวดได้มาจากการตรวจนับและตีราคาสินค้า ณ วันสิ้นงวด