การทดสอบและประเมินผลนั้นมีกี่รูปแบบ

ห น ้ า | 107 บทที่ 6 การทดสอบและการประเมินผล การทดสอบและการประเมินผล ถือว่าเป็นส่วนสาคัญที่ใช้ในระบบการบริหารการเรียนการสอน โดยเฉพาะกระบวนการจดั การเรยี นการสอนเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรยี น ซึง่ ในระบบบริหารการเรียนการสอนมุ่งเน้นให้ผู้เรียนรู้และเข้าใจเกี่ยวกับการเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ หลักการออกแบบ การพัฒนาระบบ ตลอดจนการทดสอบและการประเมินผล ซึ่งการประเมินผลเหล่านี้เพื่อให้ทราบว่าผู้เรียนสามารถผ่านจุดประสงค์ที่กาหนดไว้หรือไม่ และผลจากการทดสอบทาให้ผู้เรียนสามารถประเมินความสามารถของตนเองได้ว่าอยู่ในระดับใด ซึ่งจะต้องศึกษาข้อมูล วิธีการทดสอบและการประเมินผลให้เข้าใจเป็นอย่างดี เพื่อสามารถนาความรู้ ความเข้าใจที่ได้ไปสร้างแบบทดสอบและประเมินผลในระบบบริหารการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ1. การทดสอบ 1.1 ความหมายของการทดสอบ การทดสอบมีความสาคญั ต่อการจัดการเรียนการสอน ซึ่งระบบบริหารการเรียนการสอนผู้เรียนควรมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการทดสอบ ดังที่มีนักวิชาการได้ให้ความหมายของการทดสอบ ดงั น้ี ไวร์สมาและจูร์ (Wiersma and Jurs, 1990) ได้กล่าวว่า การทดสอบเป็นกระบวนการบริหารแบบทดสอบ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการวัดผลโดยใช้แบบทดสอบเป็นสถานการณไ์ ปเร้าให้เกิดการตอบสนอง พิชิต ฤทธิ์จรูญ (2553) ได้กล่าวว่า การทดสอบเป็นเทคนิคอย่างหนึ่งของการวดั ผลซึง่ เครื่องมอื ที่ใชว้ ัดคือแบบทดสอบ มลิวัลย์ ผิวคราม (2557) ได้กล่าวว่า การทดสอบเป็นการกาหนดจานวนปริมาณ หรือคุณลักษณะของพฤติกรรมหรือความสามารถของบุคคลโดยใช้ข้อสอบเป็นเคร่ืองมือ หรือเป็นสิ่งเร้า ดังนั้น การทดสอบ ก็คือการวัดผลการศึกษาอย่างหนึ่ง ซึ่งใช้

ห น ้ า | 108ข้อสอบหรือแบบทดสอบทาหน้าที่เป็นเคร่ืองมือวัดความสามารถของผู้เรียน ซึ่งถือว่าเป็นวิธีการทีใ่ ช้กันอย่างแพร่หลาย ซึง่ ในการทดสอบจะมีองค์ประกอบ 4 ประการ คือ 1) บุคคล ซึง่ ถูกวัดคุณลกั ษณะความสามารถ 2) ข้อสอบ ซึง่ ทาหนา้ ที่เปน็ สิ่งเร้า 3) การดาเนินการสอบ ซึ่งจะต้องกระทาให้เกิดความยุติธรรมแก่ผู้เข้าสอบอย่างเสมอหนา้ กนั ทุกคน หลีกเลี่ยงการรบกวนของผู้คุมสอบในขณะที่ผู้สอบกาลังใชค้ วามคิด 4) ผลการสอบ ซึง่ แทนความสามารถสงู สดุ ของแตล่ ะบคุ คล จากความหมายดังกล่าวข้างต้น สรุปได้ว่า การทดสอบ หมายถึง การบริหารแบบทดสอบ ซึ่งเปน็ เทคนิคอย่างหนึ่งของการวดั ผลการศกึ ษา โดยใช้แบบทดสอบเป็นเคร่ืองมือวดั ความสามารถของบุคคล 1.2 องค์ประกอบของการทดสอบ พิชิต ฤทธิจ์ รญู (2553) ได้กล่าวว่า การทดสอบมีองค์ประกอบ 2 ประการ ดังน้ี 1.2.1 ใช้แบบทดสอบเปน็ เครือ่ งมอื ในการวัด ซึ่งแบบทดสอบมีหลายประเภท เช่นแบบทดสอบเขียนตอบ แบบทดสอบปากเปล่า แบบทดสอบภาคปฏิบัติ เปน็ ต้น 1.2.2 ผู้ตอบแสดงพฤติกรรมตอบสนองแบบทดสอบออกมาเรียบร้อยแล้วเมื่อผู้สอนแจกแบบทดสอบไป แตผ่ เู้ รียนส่งกระดาษเปล่าหรอื ไม่ตอบกถ็ ือว่าไม่มกี ารทดสอบ จากองค์ประกอบของการทดสอบ ผู้เรียนสามารถใช้แบบทดสอบเป็นเคร่ืองมือในการวัดผล โดยเคร่ืองมือที่สร้างขึ้นมาน้ันผู้ทาแบบทดสอบสามารถแสดงพฤติกรรมที่วัดได้และสงั เกตได้ผ่านแบบทดสอบนั้น 1.3 ความหมายของแบบทดสอบ แบบทดสอบ จากทัศนะของนักวิชาการทางการศึกษา มีผู้ให้ความหมายดังตอ่ ไปนี้ พิชิต ฤทธิ์จรูญ (2553) ได้ให้ความหมายแบบทดสอบ หมายถึง ชุดของคาถามหรือกลุ่มงานใด ๆ ที่สร้างขึ้นเพื่อจะชักนาให้ผู้ถูกทดสอบแสดงพฤติกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งออกมาให้ผู้สอบสังเกตได้และวัดได้ พเยาว์ เนตรชา (2557) ได้ให้ความหมายว่า แบบทดสอบ หมายถึง ชุดของคาถาม ปญั หา สถานการณ์ กลุ่มของงานหรอื กิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งที่ใช้เป็นสิ่งเร้า กระตุ้นห รื อ ชั ก น า ใ ห้ ผู้ ถู ก ท ด ส อ บ แ ส ด ง พ ฤ ติ ก ร ร ม ห รื อ ป ฏิ กิ ริ ย า ต อ บ ส น อ ง ต า ม แ น ว ท า งทีต่ อ้ งการ แบบทดสอบเป็นเครื่องมอื วัดสมรรถภาพทางสมองได้ดีทีส่ ุด

ห น ้ า | 109 ศูนย์พัฒนาทรัพยากรการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (2557) ได้ให้ความหมายว่า แบบทดสอบ หมายถึง ชุดของคาถาม (Items) หรืองานชุดใดๆ ที่สร้างขึ้นเพื่อนาไปเร้าหรือชักนาให้บุคคลแสดงพฤติกรรมตอบสนองออกมา และการตอบอาจอยู่ในรปู ของการเขยี นตอบการพูดการปฏิบตั ิทีส่ ามารถสงั เกตได้ วดั ใหเ้ ป็นปริมาณได้ จากความหมายดังกล่าวข้างต้น สรุปได้ว่า แบบทดสอบคือชุดของคาถาม หรือสถานการณ์ ที่สร้างข้ึนเพื่อให้ผู้ถูกทดสอบแสดงพฤติกรรมออกมา อาจอยู่ในรูปการเขียนตอบการพดู ทีส่ ามารถวดั ได้สังเกตได้ ซึ่งแบบดทดสอบสามารถแบ่งออกได้หลายประเภท 1.4 ประเภทของแบบทดสอบ อัจฉรีย์ (คาแถม) พิมพ์พิบูลย์ (2550) ได้แบ่งประเภทของแบบทดสอบตามประเภทการจาแนกตามรปู แบบคาถามและวิธีการตอบ เปน็ 2 ประเภท ดงั น้ี 1.4.1 แบบทดสอบอัตนัย (Subjective Test) เป็นแบบทดสอบที่กาหนดคาถามหรือปัญหาให้ผู้เรียนตอบคาถามโดยการเขียนคาตอบในลักษณะยาว ๆ แสดงความคิดเห็น ความรู้ เจตคติได้อย่างเต็มที่ โดยผู้สอบต้องมีความสามารถในด้านความจัดระเบียบความคิดแล้วสังเคราะห์เป็นข้อความคาตอบที่เหมาะสม ซึ่งแบบทดสอบอัตนัยจาแนกเปน็ 2 ประเภท ได้แก่ 1) แบบตอบขยายหรือไม่จากัดคาตอบ (Extended Response orUnrestricted Response) เป็นแบบทดสอบที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนตอบคาถาม ได้อย่างอิสระมักใช้กับผู้เรียนในระดับสูง เช่น การให้ผู้ตอบแสดงความคิดเห็น การอภิปราย การบรรยายหรอื อธิบาย เหมาะสาหรับใช้วดั สมรรถภาพทางสมอง ความคิดริเร่มิ สร้างสรรค์ ตวั อย่าง 1. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีข้อดแี ละข้อเสียอย่างไร 2. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีหลักการสรา้ งอย่างไร 3. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีความสาคัญต่อการเรียนการสอนอย่างไร จงอธิบาย

ห น ้ า | 110 2) แบบจากัดคาตอบหรือตอบส้ัน (Restricted Response or ShortEssay Item) เป็นแบบทดสอบที่ต้องการคาตอบเฉพาะเจาะจงที่จัดระบบความคิดเป็นอย่างดีหรือต้องการให้ตอบส้ันภายในขอบเขตที่กาหนดให้ การตรวจให้คะแนนง่าย มีความยุติธรรมความเชือ่ มั่นสงู และมีประสทิ ธิภาพมากกว่าแบบไม่จากดั คาตอบ ตวั อยา่ ง 1. ส่วนประกอบพืน้ ฐานของระบบคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยอะไรบ้าง 2. หนว่ ยประมวลผลกลางประกอบด้วยอะไรบ้าง 3. จงบอกประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ในการเรียนการสอน 3) ข้อควรพิจารณาสาหรับการสร้างข้อสอบแบบอัตนยั มีดังนี้ 3.1) เขียนคาสั่งให้ชัดเจนว่าแบบทดสอบนั้นต้องการอะไร มีเกณฑ์ในการพิจารณาให้คะแนนอย่างไร 3.2) ควรถามเฉพาะเร่ืองที่สาคัญ ซึ่งข้อสอบแบบปรนัย ไม่สามารถวดั ได้ หรอื ถึงวดั ได้กไ็ ม่เท่ากับข้อสอบอัตนัย 3.3) ควรระบใุ ห้ชดั เจน ว่าแบบทดสอบน้ันเปน็ แบบจากัดคาตอบหรือไม่เพื่อผู้ตอบจะได้วางแผนตอบคาถามได้ถกู ต้อง 3.4) ควรเรียงลาดับข้อคาถามของแบบทดสอบ จากแบบทดสอบข้อทีง่ า่ ยไปหาแบบทดสอบข้อทีย่ าก เพื่อสร้างกาลังใจแก่ผเู้ รียน 3.5) การออกข้อสอบ ต้องกาหนดจานวนข้อให้เหมาะสมกับเวลาที่กาหนดให้สอบเพื่อให้ผู้เรยี นสามารถตอบคาถามได้ครบทุกข้อ 3.6) ควรกาหนดหลกั เกณฑส์ าหรบั การให้คะแนนแต่ละข้อ 3.7) พยายามใช้คาถามหลากหลายแบบและหลีกเลี่ยงคาถามประเภทวัดความรู้ หรือความจา เช่น ใคร ทาอะไร เม่ือไหร่ หรือที่ไหน เน่ืองจากคาถามดังกล่าวไม่สามารถวัดสมรรถภาพทางอื่นได้ ควรใช้คาถามประเภท อธิบายเปรียบเทียบ วิเคราะห์ความสมั พันธ์ อภปิ ราย ให้บรรยาย วิเคราะหเ์ หตผุ ล หรอื วิจารณ์ เปน็ ต้น 3.8) ไม่ควรใช้คาถามจานวนข้อมาก แล้วให้ผู้เรียนเลือกตอบบางข้อเพราะอาจทาให้ได้เปรียบเสียเปรียบกนั เนือ่ งจากความยากง่ายของข้อสอบแต่ละข้อไม่เท่ากนั

ห น ้ า | 111 3.9) เม่ือเขียนโจทย์คาถามแล้วควรเขียนคาตอบไว้ให้เรียบร้อยเพื่อตรวจสอบความชัดเจนของคาตอบ ถ้าคาถามน้ันไม่ชัดเจนเร่ืองคาตอบให้เปลี่ยนแปลงแก้ไขโจทย์คาถามนน้ั ก่อนนาไปทดสอบจรงิ 3.10) ไม่ควรถามเร่อื งที่ผู้เรยี นเคยทาหรอื เคยอภปิ รายมาก่อน 4) หลกั การตรวจขอ้ สอบแบบอตั นัย ข้อสอบแบบอัตนัยมีข้อดี คือ ผู้ตอบได้แสดงความคิดเห็นของตนเองได้มักจะพบปญั หาสาหรบั ผตู้ รวจขอ้ สอบเพื่อให้คะแนน จงึ ตอ้ งมหี ลกั การตรวจขอ้ สอบดงั น้ี 4.1) เขียนคาถามให้จัดเจนว่าแบบทดสอบน้ันต้องการอะไร มีเกณฑ์ในการพิจารณาให้คะแนนอย่างไร 4.2) พิจารณาคาตอบของแต่ละข้อของผู้เรียนอย่างคร่าว ๆ ก่อน แต่ยังไม่ตรวจให้คะแนนเพราะเป็นการดูมาตรฐานการตอบคาถามของผู้เรยี น โดยรวมเสียก่อน 4.3) ตอ้ งมกี ารเฉลยคาตอบทีถ่ กู ต้องชัดเจนไว้ลว่ งหนา้ 4.4) ควรตอบให้คะแนนทีละขอ้ จนครบทุกคน แล้วค่อยตรวจขอ้ ใหม่ 4.5) ต้องตรวจให้คะแนนด้วยความรอบคอบ ยุติธรรม ไม่มีอคติ หรือลาเอียง ถ้าจะให้ดีไม่ควรให้ทราบช่อื หรอื ควรปกปิดชือ่ ของผู้ตรวจ 4.6) เม่อื ตรวจให้คะแนนเรยี บร้อยแลว้ ควรมีการตรวจทานอกี ครั้ง 1.4.2 แบบทดสอบปรนัย (Objective Test) เป็นแบบทดสอบที่ให้ผู้เรียนตอบแบบสั้น ๆ หรือมีคาตอบให้เลือกโดยจากัดคาตอบ คาถามแต่ละข้อใช้วัดความสามารถเพียงเร่ืองใดเร่ืองหนึ่ง ผู้ตอบไม่สามารถแสดงความรู้สึก หรือความคิดเห็นอย่างกว้างขวางเหมือนทดสอบแบบอัตนัยคาถามที่ต้องใช้ความชัดเจน ผู้สอบทุกคนอ่านแล้วแปลความหมายได้ตรงกัน การตรวจให้คะแนนแน่นอนชัดเจน การใหเ้ วลาในการสอบแต่ละข้อจะน้อยกว่าอัตนัยการเขียนส้ันกะทัดรัด สามารถใช้ทดสอบก่อนเรียน และใช้ทดสอบท้ายบทเรียน ได้เป็นอย่างดีจึงเหมาะในการนามาสร้างแบบทดสอบในระบบบริหารการเรียนการสอน ซึ่งแบบทดสอบปรนัย จาแนกเป็น 4 ประเภท ดังน้ี 1) แบบทดสอบจับคู่ (Matching) เป็นแบบทดสอบที่มีการเตรียมชุดคาถามและชุดคาตอบ ไว้ใหผ้ เู้ รียนจับคู่ทีต่ รงกนั หรือมีความสมั พนั ธ์สอดคล้องกัน โดยแบ่งแยกออกเป็นสองสดมภ์ โดยปกติชุดที่อยู่ทางซ้ายมือจะเป็นคาถามและชุดที่อยู่ทางขวามือจะเป็นคาตอบ

ห น ้ า | 112 ตัวอย่างสว่ นของคาถาม ส่วนของคาตอบ…….... 1. RAM ก. เทียบได้กบั สมองของมนษุ ย์………. 2. CPU ข. ใช้ในการอา่ นแถบรหัสบารโ์ ค้ด………. 3. CRT ค. หนว่ ยที่ใชแ้ สดงผลลัพธ์………. 4. OCR ง. หนว่ ยความจาช่วั คราว………. 5. MICR จ. ใช้เป็นชอ่ งทางสื่อสารข้อมลู ฉ. ใช้สาหรับตรวจข้อสอบปรนยั ช. ใช้ในการพิมพ์ข้อมูล ซ .ห น่ ว ย ค ว า ม จ าสารอง 1.1) ข้อควรพิจารณาสาหรับการสร้างแบบทดสอบจบั คู่ มีดงั นี้ 1.1.1) ข้อควรทีจ่ ับคู่ควรเปน็ เรือ่ งราวหรอื เนือ้ หาประเภทเดียวกัน 1.1.2) ข้อความหรือคาในสดมภ์หนึ่งจะต้องจับคู่ได้ถูกต้องตรงกับข้อความ หรอื คาเพียงคาเดียวในอีกสดมภห์ นง่ึ เท่าน้ัน จะจับคู่กบั ตวั อืน่ อกี ไม่ได้ 1.1.3) ตวั เลือกทางขวาควรมีมากกว่าคาถามทางดา้ นซ้าย 1.1.4) คาที่เป็นคู่กันควรจัดใหก้ ระจายออกจากกนั ไม่ควรอยู่เรยี งกัน 1.1.5) แบบทดสอบจับคู่ชดุ หนึง่ ๆ ไม่ควรมจี านวนขอสอบมากเกินไปควรมีขอ้ สอบประมาณ 10-15 ข้อ 1.1.6) การจดั พิมพ์ควรใช้ข้อสอบแต่ละชุดอยู่ในหน้าเดียวกัน ไม่ควรไปอยู่หนา้ อื่นเพราะจะทาให้ผู้เรยี นเกิดความสับสน 1.1.7) วิธีการตอบไม่ควรกาหนดให้ยุ่งยาก ในการจัดคู่หรือการตอบควรนาเฉพาะตัวอกั ษรหนา้ ข้อความหรอื หน้าตาเลือกใหส้ ดมภม์ าใส่หน้าข้อความหรอื คาถาม 1.1.8) ให้ข้อความหรือคาในสดมภ์ที่เป็นตัวเลือกมีจานวนมากกว่าข้อความหรอื สดมภท์ ีเ่ ปน็ ข้อคาถามอย่างนอ้ ยประมาณ 3-4 ข้อ 2) แบบทดสอบเติมคา (Completion) เป็นแบบทดสอบประเภทให้ตอบคาถามสั้น ๆ มีขอบเขตในการตอบ มลี กั ษณะการเขียนเป็นประโยคคาถามหรือประโยคบอกเล่าโดยใหผ้ ตู้ อบเติมคาตอบลงในชอ่ งว่างที่กาหนดให้ ซึง่ ทาให้ประโยคนั้นสมบรู ณ์

ห น ้ า | 113 ตวั อยา่ ง 1. ความจุฮาร์ดดิสก์ 1 TB มีคา่ เท่ากบั ………. MB 2. สว่ นประกอบของคอมพิวเตอร์มี ………. ส่วน 3. อุปกรณ์ใดทีท่ าหน้าที่พิมพ์ข้อมลู ลงในกระดาษ คือ ............................. 2.1) ขอ้ ควรพิจารณาในการสร้างแบบทดสอบเติมคา มีดังนี้ 2.1.1) การเขียนคาถาม ต้องเขียนให้ชัดเจนว่าต้องการให้ผู้เรียนตอบอย่างไร 2.1.2) ควรเว้นช่องว่างให้เตมิ อย่างเพียงพอและมีระยะช่องเท่ากันทุกเร่อื งไม่ควรเว้นช่องว่างให้เตมิ หลายๆแหง่ 2.1.3) คาตอบที่ต้องการให้ผู้เรียนเติม ต้องเป็นส่วนสาคัญหรือประเดน็ สาคัญ 2.1.4) ควรเขียนคาถามให้มีคาตอบเจาะจงลงไป ไม่กว้างจนเกินไป 2.1.5) ไม่ลอกข้อความจากตารา หรือหนังสือโดยตัดข้อความบางตอนออก เพราะเป็นการเน้นในเรื่องการจาของผู้เรยี นเกินไป ไม่ส่งเสริมการคดิ 2.1.6) ควรเขียนคาถามให้มีข้อมูลมากพอสาหรับผู้เรียนจะหาคาตอบ 3) แบบทดสอบ ถูก-ผิด (True-False) เป็นแบบทดสอบที่จากัดคาตอบให้ผู้เรียนโดยเลือกคาตอบเพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง อาจตอบว่า ใช่-ไม่ใช่ ถูก-ผิด หรือจริง-เท็จ คาถามของแบบทดสอบชนิดนี้ มักเขียนในรูปของประโยคบอกเล่า หรือปฏิเสธ แล้วให้ผู้ตอบทารหัสใส่ช่องว่างด้านหน้าคาตอบ โดยท่ัวไปมักใช้อักษร ถ ผ หรือ T F อาจมีการใช้เครื่องหมาย หรอื เครือ่ งหมาย  ก็ได้

ห น ้ า | 114 ตวั อย่าง คาสงั่ ให้ทาเคร่อื งหมาย  หน้าข้อที่เหน็ ว่าถูกหรือทาเครอ่ื งหมาย  หน้าข้อที่เหน็ ว่าผดิ ............ 1. FTP คือ การถ่ายโอนข้อมลู ทีใ่ ช้ใน Internet ............ 2. Internet มีต้นกาเนิดมาจากประเทศสหรฐั อเมริกา ............ 3. Internet เข้ามาในประเทศไทยคร้ังแรกเมื่อ ปี พ.ศ. 2475 3.1) ขอ้ ควรพิจารณาในการสร้างแบบทดสอบถกู -ผิด มีดังนี้ 3.1.1) ใช้คาถามที่ชัดเจน ถูกต้อง เข้าใจง่าย สามารถตัดสินว่าถกู หรอื ผดิ 3.1.2) ไม่ควรใช้คาถามในลักษณะปฏิเสธซ้อน เพราะทาให้ผตู้ อบเข้าใจผดิ 3.1.3) คาถามข้อหนึ่ง ๆ ควรมีคาถามเดียวเพื่อความง่ายในการอ่านหรอื ตีความ 3.1.4) ไม่ควรใช้คาขยายเพื่อชี้แนะคาตอบถูกหรือผิดเด่นชัด เช่นทั้งหมด อาจจะไม่ค่อยจะ หรอื บางอย่าง เปน็ ต้น 3.1.5) ควรหลีกเลี่ยงข้อความ หรือประโยคที่ยกมาจากบทเรียนหรือตาราโดยตรงเพราะมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีการท่องจามากกว่าการใช้ความคิดเพื่อหาเหตุผลของคาตอบ 3.1.6) เขียนคาถามหรอื ประโยคทีม่ คี วามถูกหรอื ผิดอย่างชัดเจนเพียงอย่างใดอย่างหนึง่ ไม่ใช่มีทั้งถูกและผิดรวมอยู่ดว้ ยกันอย่างละครึ่ง 3.1.7) ควรใช้ข้อความถูกหรือผิดด้วยหลักวิชาการ ไม่ใช่การสะกดคาผิด และหลีกเลีย่ งข้อความที่เป็นการรอ้ งขอหรอื คาสัง่ เพราะบอกไม่ได้ว่าถูกหรือผดิ 3.1.8) ควรใหจ้ านวนข้อทีผ่ ิดและถูกมีจานวนใกล้เคียงกัน 4) แบบทดสอบเลือกตอบ (Multiple Choices) เป็นแบบทดสอบที่ให้ผู้เรียนตอบคาถามโดยการเลือกคาตอบที่ถูกที่สุด ถูกที่ต้องสุดหรือเหมาะสมที่สุด สามารถวัดพฤติกรรมการเรียนรู้ได้ทั้งความรู้ ความเข้าใจ ความจา การวิเคราะห์ การนาไปใช้ และการสังเคราะห์เป็นแบบทดสอบที่ได้รับความนิยมค่อนข้างมาก แบบทดสอบเลือกตอบประกอบด้วย 2 ส่วนใหญ่ คือ ส่วนตอนนาหรือคาถาม (Stem) และส่วนของตัวเลือก (Choices

ห น ้ า | 115หรือ Option) ซึ่งส่วนของตัวเลือกเป็นส่วนของการกาหนดคาตอบมีอยู่ 2 ประเภท คือ ตัวถูกหรือตัวตอบ (Correct Choice) และตัวลวง (Decoys หรือ Distracters) แบบทดสอบเลือกตอบจาแนกได้เปน็ 3 ประเภท คือ 4.1) ประเภทของแบบทดสอบเลือกตอบ 4.1.1) ประเภทคาตอบถูกต้องเพียงข้อเดียว ( One CorrectAnswer) หมายถึงแบบทดสอบที่มคี าตอบถกู ต้องเพียงข้อเดียว ส่วนข้ออน่ื ๆ เปน็ ตัวลวง 4.1.2) ประเภทเลือกคาตอบที่ดีที่สุด (Best Answer) เป็นข้อสอบทีม่ ลี ักษณะทีม่ ตี ัวเลือกทีถ่ ูกหลายตัว แตต่ ้องเลือกตัวเลือกทีด่ ที ีส่ ุด 4.1.3) ประเภทเลือกคาตอบที่สัมพันธ์หรือแตกต่างกัน (Relationor Difference) เป็นข้อสอบทีม่ ตี ัวเลือกสัมพันธ์กับข้ออน่ื หรอื ตวั เลือกแตกต่างไปจากข้ออื่นตตวััวออยยา่า่ งง1. ข้อใดไมเ่ ขา้ กล่มุ หนว่ ยรบั ข้อมลู (Input)ก. Hard disk ข. CRTค. Disk ง. Memory Stick2. ข้อใด ไมใ่ ช่ หนว่ ยความจาของคอมพิวเตอร์ก. Rom ข. CMOSค. ALU ง. RAM 4.2) ขอ้ ควรพิจารณาในการสร้างแบบทดสอบเลือกตอบ มีดังนี้ 4.2.1) การเขียนคาถามหรอื ตอนนา ให้อยู่ในรูปประโยคที่ชัดเจน 4.2.2) ใชภ้ าษาให้เหมาะสมกับระดบั ของผู้เรยี น 4.2.3) ควรใช้รูปภาพประกอบเป็นตัวสถานการณ์ คาถาม หรือตวั เลือกที่จะทาให้แบบทดสอบมีความนา่ สนใจมากยิ่งข้นึ 4.2.4) ไม่ควรถามเร่ืองที่ผู้เรียนเคยชิน ควรถามให้ผู้เรียนได้ใช้ความคิด 4.2.5) พยายามหลีกเลี่ยงในการใช้คาถามปฏิเสธ ที่ทาให้ผู้เรียนคิดยอกย้อนโดยไม่จาเปน็ หากจาเปน็ ต้องใชค้ วามขดี เส้นใต้ ทาตวั หนา้ หรอื ตัวเอียงที่คาน้ัน 4.2.6) ควรใช้คาถามเพียงคาถามเดียวในแตล่ ะขอ้ เท่าน้ัน

ห น ้ า | 116 4.2.7) หลีกเลีย่ งคาถามที่เปน็ การแนะนาคาตอบ 4.2.8) การเรียงลาดับตัวเลือกที่เป็นตัวเลือก ควรเรียงลาดับจากมากไปหาน้อยหรอื น้อยไปหามาก เพื่อให้ผู้ตอบหาคาตอบได้ง่ายและไม่เกิดความสับสน 1.5 การหาคุณภาพแบบทดสอบ การหาคุณภาพของแบบทดสอบเพื่อต้องการให้แบบทดสอบที่ใช้ในการสอบมีคุณภาพ และทาให้ผลลัพธ์จากการวัดผลมีความถูกต้อง ผลจากการประเมินที่ได้ย่อมก่อให้เกิดความเชื่อถือได้ ดังนั้นเคร่ืองมือที่ใช้วัดหรือแบบทดสอบดังกล่าวต้องผ่านการหาคุณภาพของแบบทดสอบเสียก่อน ไม่ว่าจะเป็นแบบทดสอบก่อนเรียนหรือแบบทดสอบหลังจากจบบทเรียน ซึง่ เครื่องมือในการวัดผลบางชนิดจาเป็นต้องตรวจสอบคุณภาพให้ครบทั้ง5 ประการ แต่บางชนิดอาจตรวจสอบเพียงบางประการ แล้วแต่ลักษณะของเคร่ืองมือผู้เขียนได้ศึกษาข้อมูล จาก พิชิต ฤทธิ์จรูญ (2553) และ อัจฉรีย์ (คาแถม) พิมพิบูล (2550)และสามารถสรปุ รายละเอียดของการหาคุณภาพแบบทดสอบดงั น้ี 1.5.1 ความเท่ียงตรง (Validity) หมายถึง ความสามารถของเคร่ืองมือวัดที่สามารถวัดได้ตรงตามวัตถปุ ระสงค์ที่ตอ้ งการวัด ถือว่าเป็นหัวใจสาคัญอนั ดับหนง่ึ ของข้อสอบก็ว่าได้โดยความเทีย่ งตรงแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท ดงั น้ี 1) ค ว า ม เ ท่ี ย ง ต ร ง ต า ม เ นื้ อ ห า ( Content Validity) ห ม า ย ถึ งแบบทดสอบน้ันสามารถวัดได้ตรงตามเน้ือหาหรือตามหลักสูตรกาหนด และวัดได้ครบตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดความเที่ยงตรงตามเน้ือหาถือว่าเป็นคุณสมบัติที่สาคัญที่สุดโดยเฉพาะอย่างยิ่งกับแบบทดสอบที่ใช้วัดผลสัมฤทธิ์ทางด้านการเรียน โดยให้ผู้เชี่ยวชาญพิจารณาว่าข้อคาถามวัดได้ตรงกับวัตถุประสงค์ที่ต้องการจะวัดหรือไม่ วิธีนี้เป็นการหาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างขอ้ คาถามกับจุดประสงค์ (Index of Item – Objective Congruence หรือ IOC)โดยใช้ผู้เชีย่ วชาญไม่น้อยกว่า 3 คน เปน็ ผู้พิจารณาให้คะแนนแตล่ ะขอ้ ดังน้ี -1 เมือ่ แน่ใจว่า ข้อคาถามนนั้ ไม่สอดคล้องกบั จดุ ประสงค์ 0 เมื่อไม่แน่ใจว่า ข้อคาถามนน้ั สอดคล้องกบั จุดประสงค์ +1 เมือ่ แน่ใจว่า ข้อคาถามนน้ั สอดคล้องกับจดุ ประสงค์ จากน้ั นนาค ะแน นผลก ารพิจ ารณ าของ ผู้เชี่ย วชา ญมาห าดัช นีความสอดคล้องระหว่างขอ้ คาถามกับจุดประสงค์โดยใช้สูตรของโรวิเนลลีและแฮมเบิลตัน ดังนี้(Rowinelli and Hambleton, 1977 อ้างถึงใน พิชิต ฤทธิ์จรูญ, 2553)

ห น ้ า | 117 IOC  R N เมื่อ IOC แทน ค่าดชั นคี วามสอดคล้องระหว่างข้อคาถาม กบั จุดประสงค์ R แทน ผลรวมของคะแนนการพิจารณาของผู้เชีย่ วชาญ N แทน จานวนผเู้ ช่ยี วชาญโดยใช้เกณฑ์การคัดเลือกข้อคาถามดังน้ี 1) ข้อคาถามทีม่ คี ่า IOC ต้ังแต่ 0.5 – 1.00 คัดเลือกไว้ใชไ้ ด้ 2) ข้อคาถามที่มคี ่า IOC ต่ากว่า 0.5 ควรพิจารณาปรับปรุงหรอื ตดั ทงิ้ 2) ความเท่ียงตรงตามโครงสร้าง (Construct Validity) หมายถึงแบบทดสอบที่สามารถวัดได้ตรงตามแนวคิดทฤษฎีหรอื โครงสรา้ งทีต่ ้องการวัด 3) ความเท่ียงตรงตามเกณฑ์สัมพันธ์ (Criterion-Relate Validity)หมายถึง คณุ สมบัติของแบบทดสอบที่สามารถวัดได้สอดคล้องสัมพันธ์ระหว่างคะแนนสอบกับคะแนนเกณฑต์ ัวหน่งึ จาแนกได้เปน็ 2 แบบ ดงั นี้ 3.1) ความเท่ียงตรงตามสภาพ (Concurrent Validity) หมายถึงคุณสมบัติของแบบทดสอบที่สามารถวัดได้ตรงตามสภาพความเป็นจริงในปัจจุบัน เช่นนายศักดิกานต์ เป็นคนเก่งคณิตศาสตร์ไม่ว่าผู้สอนจะต้ังคาถามอย่างไร สามารถตอบคาถามผสู้ อนได้ เมื่อนาแบบทดสอบวิชาคณิตศาสตร์มาทอสอบหลังจากเรียนจบบทเรียน ปรากฏว่าได้คะแนนสูงสุด แสดงว่าเป็นคนเก่งคณิตศาสตร์ ซึ่งตรงกับสภาพความเป็นจริงของผู้เรียนคนน้ันแสดงวา่ แบบทดสอบชดุ น้ันมีความเทีย่ งตรงตามสภาพ 3.2) ความเท่ียงตรงเชิงพยากรณ์ (Predictive Validity) หมายถึงคุณสมบัติของแบบทดสอบที่สามารถวัดได้ตรงกับสภาพที่เป็นจริงที่เกิดขึ้นในอนาคต เช่นแบบทดสอบวัดความถนัดทางด้านการเรียน เม่ือนามาใช้วัดการสอบเข้าศึกษาต่อที่สถาบันการศึกษาแห่งหนึ่ง ปรากฏว่านายศักดิกานต์ สอบคัดเลือกได้ และได้คะแนนความถนดั สงู มาก เมือ่ เข้าไปศึกษาในสถาบันแห่งนั้นปรากฏว่า ผลการเรียนอยู่ในเกณฑ์ดีเยี่ยมแสดงวา่ แบบทดสอบฉบับน้ันมคี วามเทีย่ งตรงเชิงพยากรณ์ 1.5.2 ความเป็นปรนัย (Objective) หมายถึง ความถูกต้อง ความชัดแจ้ง และความเข้าใจที่ตรงกันของแบบทดสอบโดยยึดถือความถูกต้องทางวิชาการเป็นเกณฑ์ความเป็นปรนัยของแบบทดสอบมีคณุ สมบตั ิทีส่ าคัญ 3 ประการดงั น้ี

ห น ้ า | 118 1) ความชัดเจนของคาถาม หมายถึง ข้อคาถามนั้นต้องมีความชัดเจนไม่กากวม รัดกุม และไม่วกวน ทกุ คนอ่านแลว้ มีความเข้าใจตรงกนั 2) ความชัดเจนในการให้คะแนน หมายถึง การตรวจให้คะแนนได้ตรงกันไม่ว่าจะเป็นผู้ออกข้อสอบเป็นคนตรวจ หรือให้คนอื่นเป็นคนตรวจ ก็สามารถให้คะแนนได้ตรงกนั 3) ความชัดเจนในการแปลความหมายของคะแนน หมายถึง การแปลความหมายของคะแนนได้ชดั เจน ไม่ว่าจะเปน็ ใครที่แปลความหมายของคะแนนก็ตาม 1.5.3 ความเชื่อม่ัน (Reliability) หมายถึง คุณสมบัติของแบบทดสอบที่ใช้ในการทดสอบกับกลุ่มผู้เรียนกลุ่มเดิม ไม่ว่าทดสอบกี่ครั้งก็ตาม ผลลัพธ์ของคะแนนที่ได้ จะเท่าเดิมหรอื มีคา่ คะแนนใกล้เคียงกัน การหาค่าความเชื่อมนั่ มอี ยู่หลายวิธีดังต่อไปนี้ 1) วิ ธี ก า ร ท ด ส อ บ ซ้ า ( Test-Retest Method) วิ ธี นี้ ท า ไ ด้ โ ด ยใช้แบบทดสอบชุดเดิมทดสอบซ้ากับกลุ่มตัวอย่างเดิม 2 คร้ัง โดยเว้นระยะเวลาให้ห่างกันไม่น้อยกว่า 1 สัปดาห์ การปฏิบัติโดยทั่วไปนิยมเว้นระยะประมาณ 2 สัปดาห์ และนาคะแนนการสอบท้ัง 2 ชุดมาหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ซึ่งค่าที่คานวณได้เรียกว่า สัมประสิทธิ์ของความคงที่ (Coefficient of Stability) มสี ูตรดงั น้ี (พิชิต ฤทธิจ์ รูญ, 2553)   r  N XY   X Y  N  X 2   X 2 N Y 2  Y 2 เมื่อ r แทน สมั ประสิทธิข์ องความคงที่ (ความเช่อื มั่นของแบบทดสอบ) N แทน จานวนผเู้ ข้าสอบ X แทน คะแนนจากการสอบคร้ังที่ 1 Y แทน คะแนนจากการสอบคร้ังที่ 2 ข้อจากดั ของวิธีน้ีคอื การสอบทีม่ ากกว่า 1 คร้ัง ผเู้ ข้าสอบอาจมโี อกาสฝกึ หัดหรอื เรียนรู้เพิ่มข้ึน อาจมีผลให้เกิดความเคลื่อนในการสอบคร้ังที่ 2 ได้ และหากเว้นระยะเวลาระหว่างครงั้ ที่ 1 กบั ครั้งที่ 2 นานเกินไป จะทาให้ค่าสัมประสิทธิข์ องความคงทีล่ ดลง 2) วิธีใช้แบบทดสอบคู่ขนาน (Equivalent Form or Parallel Form)วิธีนี้ใช้กลุ่มผู้สอบกลุ่มเดียวกันตอบแบบทดสอบ 2 ชุดในเวลาใกล้เคียงกัน โดยที่แบบทดสอบ2 ชดุ นมี้ ีลกั ษณะเปน็ คู่ขนานกนั วดั ในเร่ืองเดียวกัน จานวนข้อเท่ากัน ความยากเท่ากัน คะแนนเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากัน แล้วนาคะแนนท้ัง 2 ชุด มาหาค่าสัมประสิทธิ์สหสมั พันธ์

ห น ้ า | 119 3) วิธีทดสอบแบบแบ่งคร่ึง (Split-Half Method) วิธีนี้ยึดหลักการเชน่ เดียวกันกบั การใชแ้ บบทดสอบคู่ขนาน แต่ที่จัดว่าเป็นความคงที่ภายใน เพราะทดสอบเพียงครั้งเดียวแล้วแบ่งข้อสอบคู่ออกเป็น 2 ส่วนโดยถือว่าข้อสอบท้ัง 2 ส่วนนั้นวัดในสิ่งเดียวกันโดยผู้สรา้ งพยายามสร้างขอ้ สอบทั้ง 2 ส่วน ให้เป็นคู่ขนาน วิธีโดยทั่ว ๆ ไปอาจแบ่งเป็นข้อคู่กับข้อคี่หรือแบ่งคะแนนเป็นชุดครึ่งแรก (50% แรก) กับชุดครึ่งหลัง (50% หลัง) หรือแบ่งคะแนนเปน็ 4 ส่วนและนา 2 ส่วนมารวมเปน็ 1 ชดุ ได้ทั้งหมด 2 ชุด เม่ือได้คะแนน 2 ชุดแล้วจึงนาไปหาค่าสัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่นโดยใช้เทคนิควิธีใดวิธีหนง่ึ ตอ่ ไป 3.1) เทคนิควิธีของสเปียร์แมน บราวน์ (Spearman Brown) โดยใช้สูตรดงั น้ี (Guilford, 1965 อ้างถึงใน พิชิต ฤทธิ์จรญู , 2553) rxx  2rhh 1  rhhเมือ่ rxx แทน สมั ประสทิ ธิ์ความเช่อื ม่นั ของแบบทดสอบท้ังฉบับ rhh แทน สัมประสิทธิส์ หสัมพนั ธ์ระหว่างคะแนน 2 ชดุ (สัมประสิทธิ์ความเช่อื ม่ันของแบบทดสอบครึ่งฉบบั ) เทคนิควิธีนี้ต้องหาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของคะแนน 2 ชุดก่อนซึ่ ง เ ป็ น ค่ า สั ม ป ร ะ สิ ท ธิ์ ค ว า ม เ ชื่ อ มั่ น ข อ ง แ บ บ ท ด ส อ บ ค รึ่ง ฉ บั บ แ ล้ ว จึ ง น าไ ป ข ย า ย ใ ห้ เ ป็ นค่าสมั ประสิทธิค์ วามเช่อื มน่ั ของแบบทดสอบท้ังฉบบั 3.2) เทคนิควิธีของกตั แมน (Guttman) โดยใช้สูตรดังนี้r    S12  S22  21 St2   เมื่อ r แทน สมั ประสิทธิค์ วามเชอ่ื มน่ั ของแบบทดสอบ S12 แทน ความแปรปรวนของคะแนนชุดแรก S22 แทน ความแปรปรวนของคะแนนชดุ หลงั St2 แทน ความแปรปรวนของคะแนนรวมทั้ง 2 ชดุ

ห น ้ า | 120 4) วิธีของคูเดอร์-ริชาร์ดสัน (Kuder - Richardson) เป็นวิธีที่นิยมใช้กันมากเนื่องจากทดสอบกบั กลุ่มตวั อย่างเพียงครั้งเดียว โดยมีข้อตกลงว่าแบบทดสอบฉบับน้ันจะต้องวัดลักษณะเดียวหรือวัดองค์ประกอบร่วมกัน มีความยากเท่ากัน และมีระบบการให้คะแนนเป็นสองค่า (Dichotomous) คือ ตอบถูกให้ 1 คะแนน ตอบผิดให้ 0 คะแนน มีวิธีการคานวณจาก 2 สตู รคือ KR – 20 และ KR – 21 ดังน้ี 4.1) สูตร KR – 20 rtt  n   pq   1  n 1  S2  เมื่อ rtt แทน สัมประสทิ ธิค์ วามเช่อื มน่ั ของแบบทดสอบ n แทน จานวนข้อสอบ S2 แทน ความแปรปรวนของคะแนนรวมท้ังฉบบั p แทน สดั ส่วนของคนทาถกู ในแต่ละข้อ q แทน สดั ส่วนของคนทาผดิ ในแตล่ ะขอ้ ( q  1 p ) 4.2) สูตร KR – 21 rtt  n   x(n  x)  1  n 1  nS 2  เมือ่ rtt แทน สัมประสทิ ธิค์ วามเช่อื มน่ั ของแบบทดสอบ n แทน จานวนข้อสอบ x แทน ค่าเฉลี่ยของคะแนนทั้งฉบบั S2 แทน ความแปรปรวนของคะแนนรวมท้ังฉบบั โดย S2  N  x2   x2 N N 1 โดยทั่วไปนิยมใช้สูตร KR – 21 มากกว่าเพราะใช้ง่าย รวดเร็วมีข้ันตอนการคานวณที่น้อยกว่า แต่ค่าที่ได้จะต่ากว่าคานวณจากสูตร KR – 20 เน่ืองจากสูตรKR – 21 สมมตใิ ห้ข้อสอบทกุ ข้อมีระดับความยากเท่ากนั หรอื ค่า P คงที่

ห น ้ า | 1215) วิธีของครอนบาค (Crounbach) ใช้กับแบบทดสอบหรือเคร่ืองมือวัดใหค้ ะแนนแบบเรียงอนั ดบั หรอื มาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) หรือเคร่ืองมือที่ตรวจให้คะแนนไม่เป็นแบบ 0-1 วิธีนี้เรียกว่า การหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา (   Cofficient )ซึ่งดดั แปลงมาจากสตู ร KR-20 ดงั น้ี  n  Si2  n 1 1  St2   เมือ่  แทน สัมประสทิ ธิ์ความเชอ่ื มัน่ n แทน จานวนข้อสอบ Si2 แทน ผลรวมของความแปรปรวนของคะแนนในแตล่ ะข้อ St2 แทน ความแปรปรวนของคะแนนรวมทั้งฉบบั 1.5.4 ความยาก (Difficulty) เป็นคุณสมบัติของข้อสอบที่บอกให้ทราบว่าข้อสอบข้อน้ันมีคนตอบถูกมากหรือน้อย ถ้ามีคนตอบถูกมากข้อสอบนั้นก็ง่ายและถ้ามีคนตอบถูกน้อยข้อสอบข้อนน้ั กย็ าก ถ้ามีคนตอบถกู บ้างตอบผดิ บ้างหรือมีคนตอบถูกปานกลางข้อสอบข้อน้ันก็มีความยากปานกลาง ข้อสอบที่ดีควรมีความยากพอเหมาะควรมีคนตอบถูกไม่ต่ากว่า20 คนและไม่เกิน 80 คน จากผู้สอบ 100 คน ค่าความยากหาได้โดยการนาจานวนคนที่ตอบถูกหารด้วยจานวนคนที่ตอบทั้งหมด (พิชิต ฤทธิ์จรูญ, 2553) ความยากของข้อสอบ หมายถึงจานวนร้อยละหรือสัดส่วนของคน ที่ตอบถูกในข้อนั้น เม่ือเปรียบเทียบกับจานวนคนท้ังหมดที่ทาขอ้ สอบนั้น นนั่ คือความยากของข้อสอบ =มีสตู รดงั น้ี P  PH  PL 2nเมื่อ P แทน ค่าความยาก PH แทน จานวนคนที่ตอบถกู ในกลุ่มสูง PL แทน จานวนคนทีต่ อบถูกในกลุ่มตา่ n แทน จานวนคนในกลุ่มสงู หรือกลุ่มต่า

ห น ้ า | 122 เกณฑใ์ นการพิจารณาค่าความยาก ค่าความยากมีค่าต้ังแต่ 0.00 ถึง 1.00 โดยทั่วไปข้อสอบที่มีความยากพอเหมาะควรมีค่าความยากตั้งแต่ 0.20 – 0.80 ซึง่ มีรายละเอียดดังนี้ 0.80  P 1.00 แสดงวา่ เป็นข้อสอบง่ายมากควรตดั ทงิ้ หรอื ปรบั ปรุง 0.60  P  0.80 แสดงวา่ เป็นข้อสอบค่อนข้างง่าย (ดี) 0.40  P  0.60 แสดงวา่ เป็นข้อสอบยากง่าย ปานกลาง (ดีมาก) 0.20  P  0.40 แสดงวา่ เป็นข้อสอบค่อนข้างยาก (ดี) 0.00  P  0.20 แสดงวา่ เปน็ ข้อสอบยากมาก ควรตัดทิง้ หรอื ปรับปรุง ถ้าข้อสอบข้อใดมีผู้ตอบถูกหมด แสดงว่า ข้อนั้นง่ายมาก มีค่า P = 1.00แตถ่ ้าขอ้ สอบข้อใดมีผู้ตอบผดิ หมด แสดงว่าข้อนน้ั ยากมาก มีคา่ P = 0.00 1.5.5 อานาจจาแนก (Discrimination) เป็นคุณสมบัติของข้อสอบที่สามารถจาแนกผู้เรียนได้ตามความแตกต่างของบุคคลว่าใครเก่ง ปานกลาง อ่อน ใครรอบรู้ -ไม่รอบรู้โดยยึดหลักการว่าคนเก่งจะต้องตอบข้อสอบข้อนั้นถูก คนไม่เก่งจะต้องตอบผิด ข้อสอบที่ดีจะต้องแยกคนเก่งกับคนไม่เก่งออกจากกันได้ อานาจจาแนกมีความสัมพันธ์กับความสัมพันธ์กบั ความเทีย่ งตรงเชิงสภาพในทางบวก คือ ถ้าเคร่ืองมือใดมีอานาจจาแนกสูง เคร่ืองมือนั้นก็มีความเทีย่ งตรงเชิงสภาพสงู ด้วย (พิชิต ฤทธิจ์ รญู , 2553) อานาจจาแนกของข้อสอบ หมายถึง ประสิทธิภาพของข้อสอบ ในการแบ่งผู้สอบออกเป็นสองกลุ่ม คือกลุ่มที่ได้คะแนนสูงหรือกลุ่มเก่งกับกลุ่มที่ได้คะแนนต่าหรือกลุ่มออ่ น ค่าความยากและค่าอานาจจาแนกของข้อสอบ อาจคานวณได้จากสูตรตอ่ ไปนี้ r  PH  PL n เมือ่ r แทน ค่าอานาจจาแนก PH แทน จานวนคนที่ตอบถูกในกลุ่มสูง PL แทน จานวนคนที่ตอบถกู ในกลุ่มต่า n แทน จานวนคนในกลุ่มสงู หรือกลุ่มตา่

ห น ้ า | 123 เกณฑใ์ นการพิจารณาค่าอานาจจาแนก ค่าอานาจจาแนกมีค่าตั้งแต่ -1.00 ถึง +1.00 ข้อสอบที่ดีควรมีค่าอานาจจาแนกตั้งแต่ 0.20 ขึน้ ไป สว่ นค่าอืน่ ๆมีความหมายดงั นี้ 0.00  P  0.20 แสดงวา่ จาแนกได้ดีเป็นข้อสอบทีด่ ี 0.30  P  0.39 แสดงวา่ จาแนกได้เป็นข้อสอบที่ดพี อสมควรอาจต้อง ปรับปรงุ บ้าง 0.20  P  0.29 แสดงวา่ จาแนกพอใช้ได้ แตต่ ้องปรบั ปรงุ 1.00  P  0.19 แสดงวา่ ไม่สามารถจาแนกได้ตอ้ งปรับปรุงใหม่ หรอื ตดั ทงิ้ ถ้า r มีค่าเป็นลบหรือน้อยกว่า 0 แสดงว่า ข้อสอบข้อนั้นจาแนกกลับ คือคนเก่งทาไม่ได้คนอ่อนทาได้ ต้องปรบั ปรงุ ใหมห่ รอื ตัดทิง้ (พิชิต ฤทธิจ์ รูญ, 2553)2. การประเมินผล 2.1 ความหมายของการประเมนิ ผล ระบบบริหารการเรียนการสอน ผู้เรียนควรเข้าใจเกี่ยวกับการประเมินผล ในการจัดการเรียนการสอน เพื่อประเมินความก้าวหน้าหรือพัฒนาการของผู้เรียน ซึ่งมีนักวิชาการหลายท่าน ได้ให้ความหมายของการประเมินผล ดังน้ี Daniel L. Stufflebeam (1971) กล่าวว่า การประเมินผล หมายถึง กระบวนการรวบรวมและเตรียมข้อมลู ที่เปน็ ประโยชน์ในการตดั สินหาทางเลือกทีเ่ ปน็ ไปได้หลาย ๆ ทาง Ralph W. Tyler (1975) กล่าวว่า การประเมินผล หมายถึง การตัดสินความสอดคล้องระหว่างการกระทาและวัตถุประสงค์ทีต่ ง้ั ไว้ พิษณุ ฟองศรี (2551) ได้ให้ความหมายของการประเมินผล หมายถึงกระบวนการตัดสินคุณค่าของสิ่งหนึ่งสิ่งใด โดยนาสารสนเทศหรือผลจากการวัดมาเปรียบเทียบกบั เกณฑท์ ีก่ าหนดไว้ พิชิต ฤทธิ์จรูญ (2553) ได้ให้ความหมายของการประเมินผล หมายถึง การตัดสินคุณค่า หรือคุณภาพของผลที่ได้จากการวัดโดยเปรียบเทียบกับผลการวัดอื่น ๆ หรือเกณฑท์ ี่ตง้ั ไว้ ซึง่ สามารถเขียนความสัมพนั ธ์เปน็ สมการได้ดังน้ี

ห น ้ า | 124 การประเมนิ ผล = การวัดผล + การตัดสินคุณค่า (Evaluation) = (Measurement) + (Judgement) จากความหมายข้างต้น สรุปได้ว่า การประเมินผล หมายถึง การรวบรวมข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ แล้วนามาตัดสินคุณค่าโดยเปรียบเทียบกบั เกณฑท์ ีก่ าหนดไว้ 2.2 ประเภทของประเมินผล พิชิต ฤทธิ์จรญู (2553) ได้จาแนกประเภทของการประเมินผล ได้ดังนี้ 2.2.1 จาแนกตามวัตถปุ ระสงค์ของการประเมนิ แบ่งออกเปน็ 3 ประเภท คือ 1) การประเมินผลก่อนเรียน (Pre-Evaluation) มีจุดมุ่งหมายเพื่อตรวจสอบความรู้พื้นฐานและทักษะของผู้เรียนว่ามีความรู้เพียงพอที่จะเรียนต่อในเนื้อหาใหม่ได้หรอื ไม่ ถ้าพบว่ามีความรู้พ้ืนฐานไม่เพียงพอหรือไม่มีพฤตกรรมข้ันต้นก่อนเรียน ผู้สอนจะจัดให้มีการสอนปรับพื้นฐานจนผู้เรียนมีความรู้เพียงพอที่จะเรียนในเน้ือหาใหม่ได้ การสอบก่อนเรียนไม่ใช่การสอบวัดผลสัมฤทธิ์ เพราะผู้สอนยังไม่ได้ทาการสอนในเน้ือหาเหล่าน้ันมาก่อนแต่เป็นการสอบเพื่อวินิจฉัย (Diagnostic Test) ซึ่งนอกจากจะช่วยให้ผู้สอนทราบพื้นฐานของผู้เรียนแล้ว ยังช่วยให้ผู้สอนวางแผนการสอนได้เหมาะสมกับสภาพของผู้เรียน และเป็นข้อมูลประกอบการตดั สินใจเลือกวิธีการสอนและมอบหมายภาระงานการเรียนรู้ใหก้ ับผเู้ รียน 2) การประเมินระหว่างเรียน หรือประเมินความก้าวหน้า (FormativeEvaluation) มีจุดมุ่งหมายเพื่อตรวจสอบว่าผู้เรียนบรรลุตามวัตถุประสงค์การเรียนที่กาหนดไว้หรือไม่ เพียงใด หากพบว่ามีข้อบกพร่องในจุดประสงค์ใด ก็หาแนวทางปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องในจุดประสงค์น้ัน ๆ โดยจัดสอนซ่อมเสริมให้แก่ผู้เรียน การประเมินผลระหว่างเรียนเปน็ การสอบย่อย (Formative Test) ในเนื้อหาที่สอนเท่านน้ั เพื่อตรวจสอบดูความก้าวหน้าของการเรียน ดูว่าผู้เรียนบรรลุจุดประสงค์การเรียนที่กาหนดไว้หรือไม่ อันจะนาไปสู่การสอนซ่อมเสรมิ และปรับปรุงการสอนของผสู้ อนอีกด้วย 3) การประเมินผลรวมสรุป (Summative Evaluation) เป็นการประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียน มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาว่าผู้เรียนมีความรู้ท้ังสิ้นเท่าไร ควรตัดสินได้-ตก ผ่าน-ไม่ผ่าน หรือควรได้เกรดอะไร เป็นต้น การประเมินผลรวมสรุปเป็นการประเมินเม่ือสิ้นสุดการเรียนการสอนของแต่ละรายวิชา ผู้สอนจาเป็นต้องประเมินให้ครอบคลุมทุกจุดประสงค์ หากมีจุดประสงค์มาก ผู้สอนอาจเลือกประเมินบางจุดประสงค์โดยการสุ่มเอาเฉพาะจดุ ประสงคท์ ีส่ าคัญ ๆ กไ็ ด้

ห น ้ า | 125 2.2.2 จาแนกตามระบบการวดั ผล แบ่งออกเปน็ 2 ประเภท คือ 1) การประเมินผลแบบอิงกลุ่ม (Norm – Referenced Evaluation) เป็นการตัดสินคุณค่าของคุณลักษณะหรือพฤติกรรม โดยเปรียบเทียบกับผู้เรียนที่อยู่ในกลุ่มเดียวกันที่ทาข้อสอบฉบับเดียวกัน โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อจาแนกหรือจัดลาดับบุคคลในกลุ่มนั้น ๆตัวอย่างของการประเมินแบบอิงกลุ่ม เช่น การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในสถานศึกษาการสอบชิงทนุ การศึกษา เป็นต้น 2) การประเมินผลแบบอิงเกณฑ์ (Criterion-Referenced Evaluation)เป็นการตัดสินคุณค่าของลักษณะหรือพฤติกรรมโดยเปรียบเทียบกับเกณฑ์ ซึ่งเกณฑ์มีท้ังเกณฑ์มาตรฐาน (Standard Criteria) ที่มีอยู่แล้วหรือเกณฑ์ที่ผู้ประเมินกาหนดขึ้น (ArbitraryCriteria) ในทางปฏิบัติการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เกณฑ์จะหมายถึงกลุ่มพฤติกรรมตามจุดมุ่งหมายในแต่ละบทหรือหน่วยการเรียนโดยทั่วไป นิยมใช้จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม(Behavioral Objective) หรอื กลุ่มของพฤติกรรม (Domain of Behavior) การประเมินผลแบบอิงเกณฑ์มีจุดมุ่งหมายเพื่อบ่งชี้สถานภาพของผู้เรียนแต่ละคน เม่ือเปรียบเทียบกับเกณฑ์ที่ทดสอบเพื่อตัดสนว่าผู้เรียนบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้หรือไม่ และมากน้อยเพียงใดอันจะนาไปสู่การปรับปรุงการเรียนการสอนเม่ือผู้เรียนไม่สามารถทาข้อสอบได้ถึงเกณฑ์ ต้องมีการสอนซ่อมเสริมจนกว่าจะผ่านถึงเกณฑ์การประเมนิ ผลแบบอิงเกณฑจ์ งึ เหมาะสาหรบั การเรียนการสอนในห้องเรียน 2.3 กระบวนการประเมินผล กระบวนการประเมินผลมีความเช่อื มโยงกับจดุ มงุ่ หมายของการศึกษา กิจกรรมการเรียนการสอน ครูผู้สอน และผู้เรียน การประเมินผลมีกระบวนการ 6 ขั้นตอน ดังนี้(พิชิต ฤทธิจ์ รญู , 2553) 2.3.1 กาหนดวัตถุประสงค์ร่วมกันระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน ขั้นนี้เป็นการวางแผนร่วมกันระหว่างผู้สอนกับผู้เรียนก่อนเริ่มจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยผู้สอนจะนาเสนอเอกสารที่เป็นสาระและกิจกรรมตลอดทั้งภาคเรียน ซึ่งเรียกว่า แนวการเรียนการสอน (Course Syllabus) เพื่อให้ผู้เรียนร่วมกันพิจารณาและตกลงกันตั้งแต่ต้นภาคเรียนว่าจุดประสงคข์ องวิชานีเ้ ป็นอย่างไร กิจกรรมการเรียนการสอนต้องทาอะไรบ้าง เกณฑ์การตัดสนผลการเรียนมีวิธีอย่างไร เพื่อให้ผู้เรียนเห็นภาพตลอดทั้งภาคเรียน และมิสิทธิ์ที่จะขอเพิ่มหรอื ลด หรอื ปรบั สาระและกิจกรรมที่ผสู้ อนนาเสนอให้

ห น ้ า | 126 2.3.2 กาหนดจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้ันนี้เป็นการแปลงจุดมุ่งหมายทั่วไปหรือจุดมุ่งหมายของรายวิชาเป็นจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมในแต่ละบทหรือหน่วยการเรียนเพื่อให้ผู้สอนมีความชัดเจนในพฤติกรรม และคุณลักษณะที่ต้องการให้เกิดกับผู้เรียน และเพื่อให้สามารถวัดได้สังเกตได้ จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรมประกอบด้วยเงอ่ื นไขที่แสดงพฤติกรรมและเกณฑข์ ั้นต่าที่สามารถแสดงพฤติกรรมนนั้ ๆ 2.3.3 สร้างเคร่ืองมือวัดผลการเรียนรู้ ข้ันนี้ผู้สอนต้องรู้ว่าเคร่ืองมือวัดผลมีกี่ประเภทแต่ละประเภทมีลักษณะเฉพาะข้อดีและข้อจากัดอย่างไรเพื่อที่จะเลือกใช้ให้เหมาะกับจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมที่จะวัด เคร่ืองมือที่ใช้วัดผลการเรียนรู้ของผู้เรียนมีหลายประเภทเช่น แบบทดสอบ แบบวัดเจตคติ แบบสังเกต แบบสัมภาษณ์ แบบสอบถ าม เป็นต้นซึ่งโดยท่วั ไปผสู้ อนมกั นิยมใช้แบบทดสอบหรอื ข้อสอบที่ผสู้ อนสร้างข้ึน 2.3.4 ทดสอบและเก็บรวบรวมข้อมูล เม่ือผู้สอนสร้างเคร่ืองมือเสร็จแล้วก่อนนาไปรวบรวมข้อมูลควรมีการตรวจสอบหาคุณภาพของเคร่ืองมือ หลังจากนั้นก็นาไปรวบรวมข้อมลู ซึ่งสามารถดาเนินการได้ 3 ระยะ คือ ก่อนเรียน ระหว่างการเรียนการสอน และสิน้ สุดการเรียนการสอน 2.3.5 จัดกระทาข้อมูล ผู้สอนจะต้องรู้ว่าจะจัดกระทาข้อมูลเพื่อจุดประสงค์ใดเพือ่ บรรยายเกีย่ วกับผู้เรียนเป็นรายบคุ คล หรอื ต้องการบรรยายเปน็ กลุ่ม หากต้องการบรรยายเป็นกลุ่มจะบรรยายเฉพาะกลุ่ม หรือจะสรุปอ้างอิงไปยังกลุ่มใหญ่ โดยอาศัยกลุ่มที่ศึกษาเป็นกลุ่มตัวอย่างและข้อมูลทีว่ ัดมาได้น้ีอยู่ในระดับมาตรใด บอกประเภท ลาดับที่ หรือบอกช่วงน่ันคือผู้สอนต้องมีความรู้เร่ืองมาตรการวัดและมีความรู้เร่ืองสถิติ ท้ังสถิติบรรยาย(Descriptive Statistics) และสถิตอิ ้างองิ (Inferential Statistics) 2.3.6 ตัดสินผลการเรียน การประเมินผลการเรียนของผู้เรียนที่ปฏิบัติกันมากในปจั จบุ นั ก็คือการตัดเกรดหรือการให้ระดับผลการเรียนซึ่งกระทาเม่ือประเมินภายหลังสิ้นสุดการเรียนการสอน และอาจจะกระทาเฉพาะสิ้นสุดการเรียนการสอนแต่ละตอนก็ได้ เช่น ให้เกรดในการสอบย่อยแต่ละคร้ัง ให้เกรดผลงาน การให้เกรดตอนท้ายของบทเรียนแต่ละบทเรียน เปน็ ต้น ซึ่งผสู้ อนจาเป็นต้องมีความรู้เกี่ยวกับหลักในการตัดเกรด และวิธีการตัดเกรดที่ดี กระบวนการประเมินผลจะมีคุณภาพเพียงใดขึ้นอยู่กับความสามารถของผปู้ ระเมิน ดงั น้ี 1) ผู้ประเมินต้องมีความรอบคอบในการตัดสินโดยก่อนตัดสินใจต้องมีข้อมูลอย่างครบถ้วนเพียงพอ

ห น ้ า | 127 2) ผู้ประเมินต้องมีคุณธรรมในการประเมินที่จะทาให้การประเมินเกิดความลาเอียงในการตัดสินใจ มีความพยายามที่จะวัดสิ่งต่าง ๆ ให้ถูกต้องและเชื่อถือได้มากที่สุดและด้วยวิธีที่มปี ระสิทธิภาพมากที่สุด 3) ผปู้ ระเมินตอ้ งใชเ้ ครื่องมือทีม่ คี ุณภาพดี มีความเทีย่ งตรงและมีความเช่อื ม่นั 4) ผู้ประเมินต้องมีความรู้ความเข้าใจในสิ่งที่จะวัดและประเมินเป็นอย่างดีมีความรู้ความเข้าใจในตัวผู้เรียน รู้หลักในการวัดและประเมินผลรวมทั้งมีความรู้ และคุ้นเคยในเคร่ืองมือแต่ละชนิดอย่างถ่องแท้ สามารถเลือกเคร่ืองมือมาใช้วัดได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม 2.4 ประโยชน์ของการประเมินผล ประโยชน์ของการประเมินผลที่สาคัญคือมุ่งนาผลการประเมินมาปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษา ซึ่งผลจากการประเมินจะคุ้มค่ามากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับผู้เกี่ยวข้องจะนาไปใช้กับใคร ในกิจการใด และอย่างไรบ้างซึ่งในที่นี้จะพิจารณาประโยชน์ของการประเมนิ ดงั น้ี (พิชิต ฤทธิจ์ รญู , 2553) 2.4.1 ประโยชน์ตอ่ ผเู้ รียน 1) ทาให้เกิดการพัฒนาตนเองในแนวทางที่เหมาะสมยิ่งขึ้น โดยพิจารณาจากผลการประเมินความสามารถของตนเอง 2) ทาให้เกิดแรงจูงใจในการเรียนเพิ่มขึ้นเพื่อที่จะรักษามาตรฐานไว้และช่วยใหผ้ ลการเรียนดีขนึ้ ตามลาดับ 3) ทาให้เกิดความเข้าใจในเนื้อหาที่เรียนชัดเจนยิ่งขึ้น เพราะการสอบแตล่ ะครงั้ ทาให้ผู้เรยี นต้องอา่ นหนงั สือทบทวนเน้ือหา มีการค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมทาให้เกิดการเรียนรเู้ พิ่มขึน้ 4) ทาให้ทราบจดุ มุ่งหมายในการเรียนชัดเจนยิ่งขึ้น เพราะก่อนสอนผู้สอนจะแจ้งจุดประสงคท์ ี่จะประเมินให้ทราบ 2.4.2 ประโยชน์ตอ่ ผสู้ อน 1) ทาให้ผู้สอนได้ทราบผลการเรียนของผู้เรียนว่าเก่งหรืออ่อนเพียงใดเพื่อหาทางช่วยเหลือ 2) ทาให้ผู้สอนทราบผลการบรรลุจุดประสงค์การเรียนของผู้เรียนว่ามีผู้เรียนผ่านจุดประสงค์มากน้อยเพียงใดซึ่งสะท้อนให้เห็นว่า ผู้สอนมีประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอนเพียงใด เทคนิควิธีสอนที่ผู้สอนใช้เหมาะสมเพียงใด อันจะนาไปสู่การปรบั ปรงุ ตนเองของผสู้ อน

ห น ้ า | 128 3) ผลการประเมินจะทาให้ผู้สอนใช้เป็นแรงกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจในการเรียนยิง่ ข้นึ 4) ช่วยให้ผู้สอนได้ตรวจสอบคุณภาพของข้อสอบว่ามีความยากง่ายเพียงใด มคี ่าอานาจจาแนก ความเชื่อม่นั และความเทีย่ งตรง เพียงใด 2.4.3 ประโยชน์ตอ่ ผบู้ ริหาร 1) ทาให้ทราบมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนในด้านต่าง ๆ เช่นมาตรฐานความสามรถของผู้เรยี น มาตรฐานความสามารถของผสู้ อน เป็นต้น 2) ใช้เป็นข้อมูลในการประชาสัมพันธ์โรงเรียนให้ผู้ปกครองและประชาชนได้ทราบ 3) ใช้เป็นข้อมลู ในการตดั สินใจแก้ไขปญั หา พฒั นา และดาเนนิ งานบริหารโรงเรียนในด้านต่าง ๆ ใหม้ ีประสิทธิภาพยิ่งขนึ้ 2.4.4 ประโยชน์ตอ่ ผปู้ กครอง 1) ทาให้ทราบความสามารถหรือสมรรถภาพในการเรียนของบตุ รหลาน 2) ช่วยทาให้ผู้ปกครองรจู้ ักและเข้าใจบตุ รหลานได้ดียิ่งข้นึ 3) เป็นข้อมูลสาหรับผู้ปกครองใช้ในการตัดสินใจเกี่ยวกับการทางานหรือการศกึ ษาต่อของบตุ รหลาน 2.4.5 ประโยชน์ตอ่ การแนะแนว 1) ใช้เป็นข้อมูลในการให้คาปรึกษา แนะนา ผู้เรียนทั้งในด้านการเลือกอาชีพ การศกึ ษาต่อและปัญหาสว่ นตัว 2) เป็นข้อมูลพื้นฐานสาหรับโรงเรียนใช้ในการประชาสัมพันธ์หรือแนะนาโรงเรียน 2.4.6 ประโยชน์ตอ่ การวิจยั 1) เคร่ืองมือในการวัดและประเมินผลสามารถนาไปใช้เป็นเคร่ืองมือในการทาวิจยั ได้ 2) ข้อมูลการวัดและประเมินผลสามารถนาไปเป็นข้อมูลพื้นฐานในการวิจัยตอ่ ไป

ห น ้ า | 1293. สรุป การทดสอบและการประเมนิ ผล คือ การบริหารแบบทดสอบ ซึ่งเปน็ เทคนิคอย่างหนึ่งของการวัดผลการศึกษา โดยใช้แบบทดสอบเป็นเคร่ืองมือวัดความสามารถของบุคคลแล้วนามาประเมินผลโดยการรวบรวมข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ แล้วนามาตัดสินคุณค่าโดยเปรียบเทียบกับเกณฑท์ ี่กาหนดไว้ ซึ่งการทดสอบต้องอาศยั เคร่ืองมือในการทดสอบ นั่นคือแบบทดสอบทีเ่ ปน็ ชุดของคาถามหรือสถานการณท์ ี่สรา้ งข้ึนเพื่อให้ผู้ถกู ทดสอบแสดงพฤติกรรมออกมา อาจอยู่ในรูปการเขียนตอบ การพูด ที่สามารถวัดได้สังเกตได้ ซึ่งแบบทดสอบสามารถแบ่งออกได้หลายประเภท ไม่ว่าจะเป็น แบบทดสอบอัตนัยหรือแบบทดสอบปรนัย มีท้ังชนิดจับคู่ เติมคา ถูกผิด เลือกตอบ ซึ่งในการสร้างแบบทดสอบ ต้องมีการหาคุณภ าพของแบบทดสอบ เพื่อต้องการให้แบบทดสอบที่ใช้ในการสอบ มีคุณภาพ และทาให้ผลลัพธ์ จากการวดั ผลมคี วามถกู ต้อง ผลจากการประเมินทีไ่ ด้ย่อมก่อให้เกิดความเช่อื ถือได้ ประกอบด้วย 1. ความเทีย่ งตรง แบบทดสอบน้ันสามารถวดั ได้ตรงตามวตั ถุประสงค์ที่ตอ้ งการวัด 2. ความเป็นปรนัย แบบทดสอบน้ันมีความถูกต้องและชัดเจนในข้อคาถาม ตรวจให้คะแนนตรงกันไม่ว่าใครเป็นผู้ตรวจก็ตาม สามารถให้คะแนนได้ตรงกัน และแปลความหมายของคะแนนได้ชัดเจน 3. ความเชือ่ มน่ั แบบทดสอบทีใ่ ชใ้ นการทดสอบกบั กลุ่มผู้เรียนกลุ่มเดิม ไม่ว่าทดสอบกีค่ รั้งกต็ าม ผลลพั ธ์ของคะแนนที่ได้ จะเท่าเดิมหรอื มีคา่ คะแนนใกล้เคียงกนั 4. ความยาก แบบทดสอบไม่ยากหรือไม่ง่ายจนเกินไป โดยข้อคาถามหรือข้อสอบน้ันผู้สอบสามารถตอบถูกบ้างตอบผิดบ้าง ซึ่งข้อสอบที่ดีควรมีความยากพอเหมาะควรมีคนตอบถกู ไม่ตา่ กว่า 20 คนและไม่เกิน 80 คน จากผู้สอบ 100 คน 5. อานาจจาแนก แบบทดสอบสามารถจาแนกผู้เรยี นได้ตามความแตกต่างของบุคคลว่าใครเก่ง ปานกลาง ออ่ น ใครรอบรู้-ไม่รอบรู้ โดยยึดหลกั การว่าคนเก่งจะต้องตอบข้อสอบข้อน้ันถูก คนไม่เก่งจะต้องตอบผิด ข้อสอบทีด่ จี ะต้องแยกคนเก่งกบั คนไม่เก่งออกจากกนั ได้ ซึ่งเครือ่ งมือในการวดั ผลบางชนิดจาเป็นต้องตรวจสอบคุณภาพให้ครบท้ัง 5 ประการแตบ่ างชนิดอาจตรวจสอบเพียงบางประการ แล้วแต่ลักษณะของเครื่องมอื

ห น ้ า | 1304. แบบฝึกหดัตอนท่ี 1 จงตอบคาถามต่อไปน้ี 1. จงบอกความหมายของการทดสอบ และการประเมนิ ผล 2. จงบอกข้อดีและข้อเสียของแบบทดสอบแบบอัตนยั อย่างละ 5 ข้อ 3. จงบอกข้อดีและข้อเสียของแบบทดสอบปรนยั อย่างละ 5 ข้อ 4. จงอธิบายความหมายของความเที่ยงตรง ความยากง่าย อานาจจาแนก และความเช่อื มัน่ ตามความเขา้ ใจของนกั ศึกษา 5. แบบทดสอบวิชาคอมพิวเตอร์ สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีจานวน 20ข้อ ในข้อที่ 8 มีนกั เรียนที่ทาถูกต้อง 40 คน จากนกั เรียนท้ังหมด 60 คน จงคานวณหาค่าความยากง่ายของแบบทดสอบข้อน้ี 6. ในการสอบวิชาระบบบริหารการเรียนการสอน มีข้อสอบจานวน 60 ข้อ มีคะแนนเฉลีย่ เท่ากับ 45.25 ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานเท่ากบั 4.58 จงคานวณหาค่าความเชื่อมัน่ 7. การประเมนิ ผลก่อนเรียน ระหว่างเรียน และรวมสรุป มีความสาคญั อย่างไร 8. การประเมนิ ผลการเรียนมปี ระโยชน์ตอ่ ใครบ้างและมีประโยชน์อย่างไร 9. จงสรุปเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างการประเมินผลแบบอิงกลุ่มหรอื แบบอิงเกณฑ์ 10. จงสรปุ ผลเปรียบเทียบข้อดแี ละข้อเสียของการประเมินแบบอิงกลุ่มและแบบอิงเกณฑ์ตอนท่ี 2 จงหาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างขอ้ สอบกบั จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ (IOC) โดยให้ผเู้ ช่ยี วชาญ จานวน 5 คน ใหค้ ะแนนแตล่ ะข้อ ผลการพิจารณาของผเู้ ช่ยี วชาญสรปุ ได้ดังน้ีจุดประสงค์ ผลการ ผลการเรียนรู้ รวม ข้อสอบ พิจารณา IOC +1 0 -1ผู้เรียนสามารถ 1)“หนมุ่ ทางานท่บี ้านแล้วส่งงานผ่านเครอื ขา่ ย 311อธิบายประโยชน์ อนิ เทอร์เน็ตไปยงั ที่ทางาน” หนมุ่ ใช้ประโยชนจ์ ากของเครอื ขา่ ย เครอื ขา่ ยอินเทอร์เน็ตด้านใดคอมพิวเตอร์ได้ ก. การจัดการข้อมูล ข. การทางานเป็นกลุ่ม ค. การทางานระยะไกล ง. การใช้ทรัพยากรร่วมกัน

ข้อใดคือการทดสอบและประเมินผล

การทดสอบและประเมินผลเป็นการตรวจสอบการทํางานของชิ้นงานหรือวิธีการที่พัฒนาขึ้นเพื่อประเมิน ว่าสามารถ แก้ปัญหาได้ตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้หรือไม่การกําหนดวิธีการทดสอบจะขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของ การพัฒนาชิ้นงานหรือวิธีการ ว่าต้องการแก้ปัญหาในเรื่องใด แล้วเลือกวิธีการทดสอบให้เหมาะสมและสามารถ นําไปสู่การแก้ปัญหาที่ตรงจุดได้ ...

การทดสอบสามารถทำได้กี่วิธี

จ าแนกตามลักษณะของการกระท าหรือการตอบ.
1. แบบลงมือกระท า (Performance Tests).
2. แบบให้เขียนตอบ (Paper-Pencil Tests).
3. แบบให้สอบปากเปล่า (Oral Tests).
จ าแนกตามลักษณะของแบบทดสอบ.
1. แบบทดสอบปรนัย (Objective Tests).
2. แบบทดสอบอัตนัย (Subjective Tests).

การประเมินผลมีวิธีการแบบใดบ้าง

หลักการออกแบบการประเมินผลการปฏิบัติงาน โดยใช้เกณฑ์ 6 ข้อ ได้แก่ 1) ความสอดคล้อง (Relevance) 2) ความเที่ยงตรง (Validity) 3) ความน่าเชื่อถือ (Reliability) 4) ครอบคลุม (Comprehensive) 5) ใช้ได้จริง (Feasible) และ 6) แยกแยะได้ (Distinguish)”

การทดสอบหน่วยย่อยมีลักษณะอย่างไร

การทดสอบแบบหน่วยย่อย (Unit Test) คือ การทดสอบหน่วยการทำงานที่ย่อยที่สุด (Module, Class, Method, Function) เช่น ส่วนของฟังก์ชันหรือเมธอดภายในคลาส โดยการเขียนโปรแกรมในแต่ละส่วนและทำการทดสอบก่อนการนำไปใช้งาน โดยทั่วไปจะดำเนินการโดยโปรแกรมเมอร์ การทำ Unit Test จะช่วยเพิ่มคุณภาพของซอฟต์แวร์และลดความซับซ้อนของซอฟต์แวร์ (ด้วย ...