ควาร์กเป็นอนุภาคมูลฐานมีกี่ชนิด

สำนักข่าวฟารส์รายงาน โดยอ้างนักวิทยาศาสตร์ผู้เชี่ยวชาญด้านปรมาณูของอิหร่าน ระบุอิหร่านสามารถช่วยญี่ปุ่นแก้ไขวิกฤตโรงงานไฟฟ้านิวเคลียร์ฟูกูชิมะ ไดอิจิ ซึ่งได้รับความเสียหายจากแผ่นดินไหว และสึนามิเมื่อวันที่ 11 มีนาคมได้อย่างง่ายดาย

ควาร์กมีอยู่ 6 ชนิด เรียกว่า 6 สายพันธุ์ หรือ flavour ได้แก่ อัพ (up), ดาวน์ (down), ชาร์ม (charm), สเตรนจ์ (strange), ท็อป (top), และ บอตทอม (bottom)[4] อัพควาร์กและดาวน์ควาร์กเป็นแบบที่มีมวลต่ำที่สุดในบรรดาควาร์กทั้งหมด ควาร์กที่หนักกว่าจะเปลี่ยนแปลงมาเป็นควาร์กแบบอัพและดาวน์อย่างรวดเร็วโดยผ่านกระบวนการการเสื่อมสลายของอนุภาค (อังกฤษ: particle decay) ซึ่งเป็นกระบวนการเปลี่ยนสถานะของอนุภาคที่มีมวลมากกว่ามาเป็นสถานะที่มีมวลน้อยกว่า ด้วยเหตุนี้ อัพควาร์กและดาวน์ควาร์กจึงเป็นชนิดที่เสถียร และพบได้ทั่วไปมากที่สุดในเอกภพ ขณะที่ควาร์กแบบชาร์ม สเตรนจ์ ทอป และบอตทอม จะเกิดขึ้นได้ก็จากการชนที่มีพลังงานสูงเท่านั้น (เช่นที่อยู่ในรังสีคอสมิกและในเครื่องเร่งอนุภาค)

ควาร์กมีคุณสมบัติในตัวหลายประการ ซึ่งรวมถึงประจุไฟฟ้า ประจุสี สปิน และมวล ควาร์กเป็นอนุภาคมูลฐานเพียงชนิดเดียวในแบบจำลองมาตรฐานของฟิสิกส์อนุภาคที่สามารถมีปฏิกิริยากับแรงพื้นฐานได้ครบหมดทั้ง 4 ชนิด (คือ แรงแม่เหล็กไฟฟ้า, แรงโน้มถ่วง, อันตรกิริยาอย่างเข้ม และอันตรกิริยาอย่างอ่อน) รวมถึงยังเป็นอนุภาคเพียงชนิดเดียวเท่าที่รู้จักซึ่งมีประจุไฟฟ้าที่ไม่ใช่ตัวเลขจำนวนเต็มคูณกับประจุมูลฐาน ทุกๆ สายพันธ์ของควาร์กจะมีคู่ปฏิยานุภาค เรียกชื่อว่า ปฏิควาร์ก ซึ่งมีความแตกต่างกับควาร์กแค่เพียงคุณสมบัติบางส่วนที่มีค่าทางขนาดเท่ากันแต่มีสัญลักษณ์ตรงกันข้าม

มีการนำเสนอแบบจำลองควาร์กจากนักฟิสิกส์ 2 คนโดยแยกกัน คือ เมอร์เรย์ เกลล์-แมนน์ และ จอร์จ ซวิก ในปี ค.ศ. 1964[5] ซึ่งเสนอว่าควาร์กเป็นส่วนหนึ่งของรูปแบบของแฮดรอน มีหลักฐานที่แสดงถึงการมีอยู่จริงของพวกมันเพียงเล็กน้อยเท่านั้น จนกระทั่งมีการทดลองการกระจายแบบไม่ยืดหยุ่นแต่ลึก (อังกฤษ: Deep inelastic scattering) ที่ห้องทดลองการเร่งอนุภาคแห่งชาติ SLAC (SLAC National Accelerator Laboratory) ในปี ค.ศ. 1968[6][7] เริ่มมีการสังเกตเฟลเวอร์ทั้งหกของควาร์กจากการทดลองเร่งอนุภาคในครั้งนั้น ควาร์กแบบทอป ซึ่งสังเกตพบครั้งแรกที่ เฟอร์มิแล็บ ในปี ค.ศ. 1995 นับเป็นเฟลเวอร์ที่ถูกค้นพบเป็นลำดับสุดท้าย[5]


ภาพแสดงแรงของอันตรกิริยาอย่างอ่อนระหว่างควาร์กทั้งหก "ความเข้ม" ของเส้นถูกนิยามขึ้นโดยองค์ประกอบของ CKM matrix

     ทั้งนี้ควาร์กมีทั้งหมด 6 ชนิด ได้แก่ อัพ (up),  ดาวน์ (down), ชาร์ม (charm), สเตรนจ์ (strange), ท็อป (top), และ บอตทอม (bottom) ควาร์กที่พบมากที่สุดในเอกภพ คือ อัพและดาวน์ควาร์ก เนื่องจากเป็นชนิดที่เสถียรที่สุด มีมวลต่ำสุด และเกิดจากการแปรสภาพจากควาร์กอีก 4 ชนิดที่เหลือ เพราะควาร์ก Charm Strange Top และ Bottom มีมวลมากกว่า และมีพลังงานสูง จึงพบได้ยาก เช่น รังสีคอสมิก หรือการชนของอนุภาคในเครื่องเร่งอนุาค

�����Է�ҹԾ��� �Ƿҧ㹡�����ҧ������ʶҺѹ�ͧ��ä������ͧ�� �¾���Ҫ�ѭ�ѵ� ��ä������ͧ
Political Party Acts As A Means To Institutionalize ThaiPolitical Parties ���͹��Ե ��Թ�� �ؤ���
Chayinthorn Sukonthorn �����Ҩ�������֡�� � �� ����� �ͧ�����ҵ�
Prof.Dr. Kramol Tongdhamachart ����ʶҺѹ ����ŧ�ó�����Է�����. �ѳ�Ե�Է�����
Chulalongkorn University. Bangkok. (Thailand). Graduate School. �дѺ��ԭ�������������´�Ң��Ԫ� �Է�ҹԾ�����Һѳ�Ե. �Ѱ��ʵ�� (��û���ͧ)
Master. Arts (Government) �շ�診����֡�� 2538 ���Ѵ���(��) ����֡���Ԩ�¤��駹�� ���ѵ�ػ��ʧ������֡��������������������㹺��ѭ�ѵԢͧ����Ҫ�ѭ�ѵԾ�ä������ͧ���Щ�Ѻ����詺Ѻ�á (�.�. 2498) ���֧�Ѩ�غѹ (�.�. 2524) ��� 4 ��Ѻ������Ƿҧ㹡�����ҧ������ʶҺѹ���Ѻ��ä������ͧ������٧��������������§� ��ʹ���֡�Ҷ֧�ѭ������ػ��ä㹡�úѧ�Ѻ�����Ҫ�ѭ�ѵԾ�ä������ͧ��Ѻ��ҧ � �ѧ����� �͡�ҡ����ѧ���֡�Ҷ֧���ҷ��оĵԡ����ͧ�ѡ������ͧ����ʴ��͡�ҹ�� �ʹ���ͧ�Ѻ�Ƿҧ㹡�����ҧ������ʶҺѹ�ͧ��ä������ͧ�� �¾���Ҫ�ѭ�ѵԾ�ä������ͧ ����ͧ��èоѲ�Ҿ�ä������ͧ������դ�����ʶҺѹ����٧�������������ҧ�� �š���Ԩ�¾���� �����������վ�ä������ͧ�����㹻�����¨��֧�Ѩ�غѹ ��ä������ͧ���繾�ä������ͧ����Դ������ͧ�¸����ҵ�㹪�ǧ���������ѹ��� ��§��ǧ �.�. 2483-2493 ��ҹ������е���Ҩ��֧�Ѩ�غѹ��èѴ��駾�ä������ͧ��ͧ����º��ѭ�ѵ���觡������ͧ�Ѻ�µ�ʹ��੾�����ҧ��觾���Ҫ�ѭ�ѵԾ�ä������ͧ�֧�դ��������������ҧ�Ƿҧ㹡�����ҧ������ʶҺѹ���Ѻ��ä������ͧ�� �������Ҫ�ѭ�ѵԾ�ä������ͧ�ѧ����ǵ�ʹ����������ʺ����������㴹ѡ ��駹�����ͧ�ҡ���ҷ��оĵԡ����ͧ�ѡ������ͧ �������ʹ���ͧ�Ѻ�ѵ�ػ��ʧ��ͧ�����������˵��Ӥѭ ���Ѵ���(English) This thesis is aimed at analysing each of the politicalparty acts from the first act(1955) to the presentone(1981). It seeks to explain whether each of the actshelps to institutionalize Thai political parties and alsoattempts to study the problem of enforcing each act. Thethesis, in addition, studies the politician's role andbehavior in contributing to the development of the politicalparty acts as the means to institutionalize Thai politicalparties. The study shows that since the emergance of Thaipolitical parties, they are naturally created only in shortperiod between 1945 and 1954. Since 1955 Thai politicalparties have been legally created especially by thepolitical party acts. The political party acts are,therefore, used as ameans to institutionalize Thai political parties. They are,however, not successful mainly due to the politician'sroles, and behavior which do not conform to the aims of thelaws. ���ҷ������¹�Է�ҹԾ��� �ӹǹ˹�Ңͧ�Է�ҹԾ��� 239 P. ISBN 974-632-647-3 ʶҹ���Ѵ���Է�ҹԾ��� ���Ӥѭ POLITICIAN, ACT, PARTY, INSTITUTIONALIZE, MEANS �Է�ҹԾ���������Ǣ�ͧ

Quark มีกี่ประเภท

ปัจจุบันนักฟิสิกส์ได้พบว่า ควาร์กในธรรมชาติมี 6 ชนิด คือ ชนิด up, down, strange, charm, top และ bottom เมื่อควาร์ก 6 ชนิด นี้มารวมกัน เช่นเมื่อชนิด top 2 ตัว กับชนิด down 1 ตัวรวมกัน เราจะได้โปรตอนและหากเรามีชนิด top 1 ตัว และชนิด down 2 ตัว เราก็จะได้อนุภาคนิวตรอน อนุภาคตัวอื่น ๆ ก็ได้จากการรวมควาร์กรูปแบบต่าง ๆ กัน

อนุภาคควาร์กคืออะไร

ควาร์ก (อังกฤษ: quark อ่านว่า /kwɔrk/ หรือ /kwɑrk/) คืออนุภาคมูลฐานและเป็นส่วนประกอบพื้นฐานของสสาร ควาร์กมากกว่าหนึ่งตัวเมื่อรวมตัวกันจะเป็นอีกอนุภาคหนึ่งที่เรียกว่าแฮดรอน (อังกฤษ: hadron) ส่วนที่เสถียรที่สุดของแฮดรอนสองลำดับแรกคือโปรตอนและนิวตรอน ซึ่งทั้งคู่เป็นส่วนประกอบสำคัญของนิวเคลียสของอะตอม เนื่องจากปรากฏการณ์ ...

โปรตอนมีควาร์กอัพกี่อนุภาค

โปรตอนประกอบไปด้วย up 2 ตัว และ down 1 ตัว นิวตรอนประกอบด้วย down 2 ตัว และ up 1 ตัว ส่วนควาร์กตัวอื่น ๆ อาจนำมาสร้างอนุภาคได้ แต่มันมีมวลสูงและสลายตัวอย่างรวดเร็ว

ควาร์เกิดการรวมตัวกันไปเป็นอนุภาคใด

หลังบิกแบงเพียง 10-6 วินาที อุณหภูมิของเอกภพลดลงเป็นสิบล้านล้านเคลวิน ทำให้ควาร์เกิดการรวมตัวกันเป็นโปรตอน (นิวเคลียสของไฮโดรเจน) และนิวตรอน