ภูมิประเทศของทวีปยุโรปแบ่งออกเป็นกี่ประเภท

ภาษา ภาษาส่วนใหญ่จัดอยู่ในตระกูลภาษาอินโด – ยูโรเปียน เป็นต้นตระกูลที่มีผู้ใช้จำนวนมาก ประมาณครึ่งหนึ่งของประชากรโลก แบ่งออเป็นสาขาต่าง ๆ รวม 4 สาขา ดังนี้

  1. สาขาเยอรมนิก ภาษาอังกฤษ ภาษาดัตช์ ภาษาเฟลมมิช ภาษาเยอรมัน และภาษาสแกนดิเนเวีย
  2. สาขาภาษาโรมานซ์ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาอิตาลี ภาษาสเปน ภาษาโปรตุเกส และภาษาโรมาเนีย
  3. สาขาภาษาบัลโต-สลาวิก ภาษาบัลแกเรีย ภาษาเช็ก ภาษาแลตเวีย ภาษาลิทัวเนีย ภาษารัสเซีย
  4. สาขาอื่น ๆ ภาษาเคลติก ภาษากรีก

ศาสนา ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์ แบ่งออกเป็น 3 นิกายใหญ่ ดังนี้

  1. นิกายโรมันคาทอลิก นับถือมากบริเวณในยุโรปภาคใต้และภาคตะวันออก โดยมีสันตะปาปาแห่งนครวาติกัน รัฐอิสระในอิตาลี ซึ่งเป็นผู้นำสูงสุดของศาสนจักร
  2. นิกายกรีกออร์ธอดอกซ์ นับถือในคาบสมุทรบอลข่าน และรัสเซีย เน้นพิธีกรรมทางศาสนา
  3. นิกายโปรเตสแตนท์ นับถือมากในยุโรปภาคเหนือและภาคตะวันตก นิกายนี้แบ่งออกเป็นนิกายย่อย ๆ จำนวนมาก ถือปฏิบัติตามพระคัมภีร์ไบเบิล เศรษฐกิจ

ภูมิประเทศของทวีปยุโรปแบ่งออกเป็นกี่ประเภท

เกษตรกรรม

ทวีปยุโรปใช้ที่ดินทำการเกษตรอย่างหนาแน่น ผลผลิตอยู่ในเกณฑ์สูงมากเนื่องจากพื้นที่ส่วนใหญ่มีอากาศอบอุ่น ปริมาณฝนเพียงพอ เทคโนโลยีการเกษตรอันก้าวหน้า รวมทั้งมีตลาดและมาตรการรองรับ โดยเขตเกษตรกรรมของยุโรปแบ่งออกเป็น 5 เขต ได้แก่

  1. เขตเกษตรกรรมแบบผสม เพาะปลูกควบคู่ไปกับการเลี้ยงสัตว์ในพื้นที่ขนาดเล็ก ปลูกข้าวสาลี ข้าวไรย์ ข้าวบาเลย์ หัวผักกาดหวาน และเลี้ยงโคเนื้อ โคนม แกะ เขตภาคตะวันตกและภาคกลางของทวีป ในฝรั่งเศส เยอรมนี และสเปน
  2. เขตเกษตรกรรมแบบเมดิเตอร์เรเนียน ฝนตกน้อยและแสงแดดมาก พืชสำคัญคือ ส้ม องุ่น มะกอก ปลูกมากในเขตชายฝั่งเมดิเตอร์เรเนียน เช่น อิตาลี กรีซ
  3. เขตปลูกข้าวสาลี เขตภาคกลางของฮังการี โรมาเนีย ยูเครน และภาคใต้ของรัสเซีย
  4. เขตทำไร่ปศุสัตว์ เลี้ยงวัว แพะ และแกะ เขตชายฝั่งทะเลแคริบเบียนในเขตใต้สุดของรัสเซีย
  5. เขตเลี้ยงสัตว์แบบเร่ร่อน มีภูมิอากาศแบบทุนดรา สัวต์เลี้ยงสำคัญคือ กวางเรนเดียร์ เขตชายฝั่งมหาสมุทรอาร์กติกตอนเหนือของทวีป ในประเทศฟินแลนด์ ไอซ์แลนด์

การทำป่าไม้ ทำในเขตป่าไทกา ไม้สน ซึ่งเป็นไม้เนื้ออ่อนสำหรับผลิตกระดาษ

การประมง ชายฝั่งของทวีปยุโรปยาวและเว้าแหว่งมาก เหมาะเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์น้ำ และยังมีกระแสน้ำอุ่นแอตแลนติกเหนือไหลเลียบชายฝั่งประเทศฝรั่งเศส ขึ้นไปถึงชายฝั่งประเทศนอร์เวย์ ทำให้น้ำไม่เป็นน้ำแข็งในฤดูหนาว น่านน้ำของทวีปยุโรปจึงมีปลาอุดมสมบูรณ์ตลอดปี แหล่งประมงสำคัญได้แก่ น่านน้ำทะเลเหนือ เรียกว่า “ดอกเกอร์แบงก์” ทะเลนอร์วีเจียน และเกาะไอซ์แลนด์ ประเทศประมงชั้นนำ ได้แก่ อังกฤษ ฝรั่งเศส เนเธอร์แลนด์ เดนมาร์ก นอร์เวย์ และไอซ์แลนด์

แร่ที่สำคัญ

ได้แก่ ถ่านหิน ฝรั่งเศส เบลเยียม ลุ่มแม่น้ำรูห์ของเยอรมนี ภาคใต้ของโปแลนด์และรัสเซีย เหล็ก สวีเดน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของฝรั่งเศส และภาคใต้ของรัสเซีย น้ำมันปิโตรเลียม บริเวณทะเลเหนือ ตอนใต้ของรัสเซีย และยูเคน

อุตสาหกรรม

ประเทศอุตสาหกรรมชั้นนำ ได้แก่ สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส เยอรมนี เบลเยียม สวีเดน สืบเนื่องมาจาก ทุนมาก ทรัพยากรคุณภาพ การศึกษา เทคโนโลยี ไฟฟ้า การคมนาคมสะดวก อุตสาหกรรมที่สำคัญ ได้แก่ ถลุงเหล็ก ผลิตเหล็กกล้า ผลิตยานพาหนะและอุปกรณ์การขนส่ง ผลิตเคมีภัณฑ์ ผลิตอุปกรณ์ไฟฟ้า และเครื่องอิเลคทรอนิกส์

����ѵ���ʵ��  ������ʵ�� �ؤ���Ӥѭ �������з�ջ >>

��ջ

��ջ���û (Europe)
��ջ����ԡ��� (South America)
��ջ����ԡ��˹�� (North America)
��ջ��������� (Australia)
��ջ�Ϳ�ԡ� (Africa)
��ջ����� (Asia)

�ѡɳ����Ի���Ȣͧ��ջ���û������ 4 ࢵ�˭� �

  1. ࢵ�����Ҥ�˹�� �Һ��ط��᡹������� ��� ��͡�Ҥ���Ź �͡�ҡ�������͡���ʡ͵�Ź�� ����� ��к��൹�˭� �������ͫ��Ź�� �ѡɳ����Ի�����ᶺ������Դ�ҡ��� �Ѵ��Тͧ��ù���� ��� ��½�觷�����ѡɳ����������ҡ�繾���� ���¡��� ����� ���� ��½�觹������� ���ʡ͵�Ź��
  2. ࢵ����Һ�˭��Ҥ��ҧ ���Ի�����繷���Һ��½�觷��ź���dz����Ƚ������ �������� ������Ź�� ഹ���� ������� ��Ź�� ��������¶֧��͡������� ���������Ӥѭ ������ù� �������� ���ŧ�����˹�� ����Ӵҹٺ ����ӹҹҪҵ� ���ŧ���Ŵ� ��������Ե��� ���ŧ���������µԡ ����Ӵ���������ह ���ŧ���Ŵ� �������š�� ������� ���ŧ��������¹���������� �����ૹ ������� ࢵ����Һ�˭��Ҥ��ҧ����ջ�Ъҡ����������˹��� ��ࢵ����դ����Ӥѭ�ҧ��ҹ�ɵá����ҡ����ش�ͧ��ջ���û
  3. ࢵ����Һ�٧�Ҥ��ҧ��ջ���û ���� ����dz�Ҥ���ѹ�͡�ͧ����Ƚ������ �Ҥ��ͧ������������ ��л������Ź�� �Һ��ط��ͺ���������û�Ҥ�� ��໹����õ��� �Һ��طú�Ţ�ҹ㹡�ի ����Һ�٧�Ե��� ��з���Һ�٧�����µ͹��ҧ
  4. ࢵ��͡�ҵ͹�� ����͡���Թ���� ���ҷ���Ӥѭ ���� ��͡����Ż� (Alps) �ʹ�ҷ���Ӥѭ�ʹ���ͧ���ѧ 4807 ���� ��͡���;ྐྵ��� ��͡��䴹��ԡ��Ż� �͡�ҡ����ѧ����͡�Ҿ��ù�� ��͡��᤹�����¹ ��໹ ��͡�Ҥ������¹ ���ह ��͡�Ҥ�फ�� ���ʹ�٧����ش���� ��ź��� �٧ 5,642 ���� ����dz�ҧ�͹����͡������ҹ���ѧ�ջ�ҡ���ó��蹴Թ����������� ���� ������ԫ������ ������͵�� ��������ʵ������㹻�����Ե��� ��ǹ����ȷ����ʺ��¨ҡ�蹴Թ��� ���� �Ե��� ���������� ��С�ի

�ѡɳ����Ի���ȷ�ջ���û
�ѡɳ������ҡ����оת��ó�����ҵ�
�ѡɳзҧ�ѧ������Ѳ�����

ภูมิประเทศของทวีปยุโรปแบ่งออกเป็นกี่ประเภท
ภูมิประเทศของทวีปยุโรปแบ่งออกเป็นกี่ประเภท
ภูมิประเทศของทวีปยุโรปแบ่งออกเป็นกี่ประเภท
ภูมิประเทศของทวีปยุโรปแบ่งออกเป็นกี่ประเภท

ลักษณะทั่วไปของทวีปยุโรป

ลักษณะทั่วไป
ทวีปยุโรปเป็นทวีปที่มีขนาดเล็กรองจากทวีปออสเตรเลีย ซึ่งมีขนาดเล็กที่สุด
พื้นดินของทวีปยุโรปติดต่อเป็นผืนเดียวกันกับทวีปเอเชีย จึงมีผู้เรียกทวีปทั้งสองนี้ว่า ยูเรเชีย

เส้นกั้นพรมแดนธรรมชาติได้แก่ เทือกเขาอูราล แม่น้ำอูราล ทะเลสาบ แคสเปียน เทือกเขาคอเคซัส
ที่ตั้ง ทวีปยุโรปตั้งอยู่ทางซีกโลกเหนือ ระหว่างละติจูดที่ 36 - 71 องศาเหนือ และลองจิจูดที่ 66 องศาตะวันออก - 9 องศาตะวันตก
ทิศเหนือ ติดต่อกับมหาสมุทรอาร์กติก
ทิศตะวันออก ติดต่อกับทวีปเอเชีย
ทิศตะวันตก ติดต่อกับมหาสมุทรแอตแลนติก
ทิศใต้ ติดต่อกับทะเลสาบแคสเปียน เทือกเขาคอเคซัส ทะเลแดง ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน

ภูมิภาคของทวีปยุโรป

ทวีปยุโรป แบ่งออกเป็น 4 ภูมิภาค ดังนี้
1. ยุโรปเหนือ ได้แก่เดนมาร์ก ฟินแลนด์ ไอซ์แลนด์ ไอร์แลนด์ นอร์เวย์ สวีเดน เอสโตเนีย ลัตเวีย ลิทัวเนีย
2. ยุโรปตะวันตก ได้แก่ออสเตรีย เบลเยียม ฝรั่งเศส เยอรมนี ลักเซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ และสหราชอาณาจักร
3. ยุโรปใต้ ได้แก่แอลเบเนีย กรีซ อิตาลี มอลตา โปรตุเกส สเปน
4. ยุโรปตะวันออก ได้แก่บัลแกเรีย สาธารณรัฐเช็ก สาธารณรัฐสโลวัก ฮังการี โปแลนด์ และโรมาเนีย
รัฐอิสระอีก 5 รัฐ คือ

ซานมารีโน อยู่ในเขตประเทศอิตาลี ด้านทะเลอาเดรียติก
อันดอร์ร่า อยู่ระหว่างพรมแดนประเทศฝรั่งเศสและสเปน
นครรัฐวาติกัน ในกรุงโรม ประเทศอิตาลี
โมนาโก ในเขตฝรั่งเศสบริเวณชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน
ลิกเตนสไตน์ อยู่ระหว่างพรมแดนสวิตเซอร์แลนด์

ลักษณะภูมิประเทศ

ลักษณะภูมิประเทศของทวีปยุโรป สามารถแบ่งได้เป็น 4 เขต คือ
1. เขตหินเก่าทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือ
ประกอบด้วยเทือกเขาที่มีอายุเก่าแก่ซึ่งถูกธารน้ำแข็งกัดเซาะจนสึกกร่อน และพังทลายจนกลายเป็นที่ราบสูง ทำให้มี ชายฝั่งทะเลเว้าแหว่งมาก เรียกว่า ฟยอร์ด ( Fjord ) เทือกเขาหินเก่าที่สำคัญ คือ

1.1 เทือกเขาเชอเลน ในคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย
1.2 เทือกเขาแกรมเพียน ในสกอตแลนด์

2. เขตที่ราบใหญ่ภาคกลาง
เป็นเขตที่ราบใหญ่ที่สุดของทวีปยุโรปมีประชากรอาศัยอยู่หนาแน่นมากที่สุด ได้แก่ที่ราบด้านตะวันตกของประเทศ
ฝรั่งเศส เบลเยียม เนเธอร์แลนด์ เดนมาร์ก ที่ราบภาคเหนือของเยอรมนี โปแลนด์ ที่ราบบริเวณตอนใต้ของสหราชอาณาจักร
เป็นเขตที่มีความสำคัญมากทางด้านเศรษฐกิจ มีดินอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก มีแม่น้ำสำคัญไหลผ่านหลายสาย
ได้แก่ แม่น้ำลัวร์ แม่น้ำเซน แม่น้ำไรน์ แม่น้ำเอลเบ บริเวณแม่น้ำรูห์ในเขตประเทศเยอรมนีเป็นแหล่งถ่านหิน ที่สำคัญของยุโรป
ที่ราบริมทะเลบอลติกในประเทศนอร์เวย์ สวีเดน ฟินแลนด์ ประกอบด้วยหินเปลือกโลกที่มีอายุเก่าแก่ที่สุด เรียกว่า บอลติกชิลด์ ( Baltic Shield )
3. เขตที่ราบสูงภาคกลาง
เป็นที่ราบสูงและเนินเขาเตี้ยๆ เกิดจากการ สึกกร่อนพังทลาย ได้แก่
เมเซต้า ที่ราบสูงในภาคกลางของคาบสมุทรไอบีเรีย
มัสซิฟ ซองตรัล ( Massif Central ) ที่ราบสูงตอนกลางของประเทศฝรั่งเศส
ป่าดำ ( Black Forest ) ที่ราบสูงตอนกลาง และภาคใต้ของประเทศเยอรมนี
โบฮีเมีย ( Bohemia ) ที่ราบสูงระหว่างพรมแดนประเทศเยอรมนี สาธารณรัฐ เช็กและสาธารณรัฐสโลวัก
4. เขตภูเขาหินใหม่ทางภาคใต้
เกิดจาการโก่งตัวของผิวโลก ได้แก่
เทือกเขาพีเรนีส ซึ่งเป็นพรมแดนระหว่างประเทศฝรั่งเศสและประเทศสเปน
เทือกเขาแอลป์ ทอดแนวจากตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศฝรั่งเศส ผ่านเข้าไปในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี ยอดเขาสำคัญของเทือกนี้ คือ มองบลังค์
เทือกเขาแอปเพนไนน์ ในคาบสมุทรอิตาลี
เทือกเขาไดนาริกแอลป์ ในคาบสมุทรบอลข่าน
เทือกเขาคอเคซัส อยู่ระหว่างทะเลดำ และทะเลสาบแคสเปียนมียอดเขา สูงที่สุดในโลก คือ เอลบรูซ ( Elbrus )

ลักษณะภูมิอากาศ

เรื่อง ลักษณะภูมิอากาศของทวีปยุโรป
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อลักษณะภูมิอากาศของทวีปยุโรป ได้แก่
1. ปัจจัยด้านที่ตั้ง เนื้อที่ส่วนใหญ่ของทวีปยุโรปจะอยู่ในเขตอากาศอบอุ่น และบางส่วนจะอยู่ในเขตอากาศหนาว ไม่มีส่วนใดอยู่ในเขตอากาศร้อนเลย
2.ปัจจัยด้านลักษณะภูมิประเทศและอิทธิพลจากทะเล ทวีปยุโรปเป็นทวีปที่มีฝั่งทะเลยาวมาก เทือกเขาส่วนใหญ่ วางตัวแนวตะวันออก - ตะวันตก ไม่เป็นอุปสรรคในการขวางกั้นทิศทางลม ทำให้ทวีปยุโรปได้รับอิทธิพลจากทะเลอย่างทั่วถึง จึงเป็นทวีปเดียวที่ไม่มีอากาศแห้งแล้งแบบทะเลทราย เขตแห้งแล้งที่สุดในทวีปยุโรป คือ ทุ่งหญ้ากึ่งทะเลทราย บริเวซณตอนเหนือของทะเลดำ 3.ปัจจัยด้านลมประจำ ลมประจำตะวันตก พัดมาจากมหาสมุทร แอตแลนติก เข้าสู่ทวีปยุโรปตลอดปี มีผลทำให้ทวีปยุโรปมีลักษณะอากาศชุ่มชื้น
4.ปัจจัยด้านกระแสน้ำ กระแสน้ำอุ่นแอตแลนติกเหนือ ไหลเลียบฝั่งด้านตะวันตกของทวีป มีอิทธิพลต่ออุณหภูมิบนพื้นทวีปยุโรป

ลักษณะภูมิอากาศของทวีปยุโรป
แบ่งออกเป็น 7 เขตคือ
1.ลักษณะอากาศแบบทุนดรา ( Tundra Climate )
เป็นเขตที่มีอากาศหนาวจัดมากในฤดูหนาว เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ลักษณะอากาศแบบขั้วโลก ( Arctic Climate ) เป็นเขตที่มีอากาศหนาวจัดยาวนาน
พืชพรรณธรรมชาติ ได้แก่ มอส ตะไคร่น้ำ สาหร่าย เขตอากาศนี้ได้แก่ชายฝั่งภาคเหนือของคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย และชายฝั่งมหาสมุทรอาร์กติก
2.ลักษณะอากาศแบบไทกา ( Taiga Climate )
เป็นบริเวณที่มีอากาศ หนาวเย็น เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ลักษณะอากาศแบบกึ่งขั้วโลก ( Subarctic Climate ) มีฤดูร้อนยาวนานมากกว่าเขตอากาศแบบทุนดรา
พืชพรรณธรรมชาติเป็นป่าสน หรือป่าไทกา ได้แก่บริเวณประเทศนอร์เวย์ สวีเดน ฟินแลนด์
3.ลักษณะอากาศแบบภาคพื้นสมุทรชายฝั่งตะวันตก ( Marine Westcoast Climate )
มีลักษณะอากาศอบอุ่นชุ่มชื้น มีฝนตกสม่ำเสมอตลอดปี คือบริเวณชายฝั่งตะวันตกของทวีปยุโรป ได้แก่ประเทศสหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส เนเธอร์แลนด์ เบลเยียม และตอนเหนือของประเทศเยอรมนี
พืชพรรณธรรมชาติเป็นป่าไม้ผลัดใบผสมกับป่าสน
4.ลักษณะภูมิอากาศแบบอบอุ่นชื้นภาคพื้นทวีป ( Humid Continental Climate )
ได้แก่บริเวณตอนกลางของยุโรป ภาคกลางและภาคใต้ของรัสเซีย
พืชพรรณธรรมชาติเป็นป่าไม้ผลัดใบผสมกับป่าสน
5. ลักษณะอากาศแบบชื้นกึ่งร้อน ( Humid Subtropic Climate )
ได้แก่บริเวณตะวันออกเฉียงใต้ของทวีป ตอนเหนือและตอนกลางของคาบสมุทรบอลข่าน ฤดูร้อนมีอากาศร้อนจัด ได้รับอิทธิพลจากทะเล จึงทำให้มีฝนตกชุกตลอดปี ไม่มีฤดูแล้งที่เด่นชัด
6.ลักษณะอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน ( Mediteranean Climate )
มีอากาศอบอุ่น ฝนตกชุกในฤดูหนาว ฤดูร้อนอากาศร้อนจัด เพราะได้รับอิทธิพลจากลมประจำตะวันตก
พืชพรรณธรรมชาติที่สำคัญคือ คอร์ก โอ๊ค ไม้พุ่มมีหนาม ส้ม องุ่น มะกอก มะนาว ได้แก่บริเวณคาบสมุทรอิตาลี ภาคใต้ของสเปน ฝรั่งเศส
7.ลักษณะอากาศแบบทุ่งหญ้ากึ่งทะเลทรายเขตอบอุ่น
ได้แก่ตอนเหนือของทะเลดำ ซึ่งเป็นแหล่งดินดี เป็นเขตปลูกข้าวสาลี พืชพรรณธรรมชาติเป็นทุ่งหญ้าสเตปป์ (Steppe)

Ref : http://www.geocities.com/swerapan/europe.htm#eu1 09/08/2007