ในโปรแกรม In Design แบ่งส่วนประกอบตามการทำงานออกเป็นกี่ส่วน

ประกอบไปด้วยปุ่มและ ป๊อปอัพเมนูที่ใช้กำหนดรูปแบบมุมมองของ Document Window ที่เรากำลังทำงานอยู่และ คำสั่งต่างๆที่ใช้ทำงานกับ Document Window อย่างเช่น การแสดงเว็บเพจที่สร้างขึ้นในเว็บบราวเซอร์หรือ การกำหนดออปชั่นของ Document Window เป็นต้น

ในโปรแกรม In Design แบ่งส่วนประกอบตามการทำงานออกเป็นกี่ส่วน

ปุ่มหน้าที่ 
ในโปรแกรม In Design แบ่งส่วนประกอบตามการทำงานออกเป็นกี่ส่วน
แสดงเว็บเพจในมุมมองโค้ด 
ในโปรแกรม In Design แบ่งส่วนประกอบตามการทำงานออกเป็นกี่ส่วน
แสดงเว็บเพจในมุมมองโค้ดและออกแบบ 
ในโปรแกรม In Design แบ่งส่วนประกอบตามการทำงานออกเป็นกี่ส่วน
แสดงเว็บเพจในมุมมองออกแบบ 
ในโปรแกรม In Design แบ่งส่วนประกอบตามการทำงานออกเป็นกี่ส่วน

แสดงผลโค้ด (ทำงานร่วมกับมุมมอง Live View) 
ในโปรแกรม In Design แบ่งส่วนประกอบตามการทำงานออกเป็นกี่ส่วน
ตรวจสอบความถูกต้องในการแสดงผลบนบราวเซอร์ที่เลือก 
ในโปรแกรม In Design แบ่งส่วนประกอบตามการทำงานออกเป็นกี่ส่วน
ตรวจสอบความถูกต้องของการใช้สไตล์ CSS ในส่วนต่าง ๆ บน เว็บเพจโดยใช้ร่วมกับพาเนล CSS Styles และการแสดงผลในรูปมุมมอง Live View 
ในโปรแกรม In Design แบ่งส่วนประกอบตามการทำงานออกเป็นกี่ส่วน
แสดงเมนูสำหรับเลือกเปิดบราวเซอร์เพื่อทดสอบเว็บเพจ (คีย์ลัดF12) 
ในโปรแกรม In Design แบ่งส่วนประกอบตามการทำงานออกเป็นกี่ส่วน
แสดงเมนูซึ่งประกอบด้วยคาสั่งจัดการไฟล์ เช่น อัพโหลด (Put) หรือดาวน์โหลด (Get) 
ในโปรแกรม In Design แบ่งส่วนประกอบตามการทำงานออกเป็นกี่ส่วน

ตรวจสอบความถูกต้องในการแสดงผลบนบราวเซอร์ที่เลือก 
ในโปรแกรม In Design แบ่งส่วนประกอบตามการทำงานออกเป็นกี่ส่วน
แสดงเมนูสำหรับเปิด/ปิดลักษณะพิเศษของแท็กหรือคำสั่งบางอย่าง เช่น ตาราง,เฟรม และ CSS เพื่อช่วยให้การแก้ไขเว็บเพจสะดวกขึ้น 
ในโปรแกรม In Design แบ่งส่วนประกอบตามการทำงานออกเป็นกี่ส่วน
ปรับปรุงการแสดงผลของเว็บเพจในมุมมองออกแบบ หลังจากที่แก้ไขคาสั่งในมุมมองโค้ด (คีย์ลัด F5) 
ในโปรแกรม In Design แบ่งส่วนประกอบตามการทำงานออกเป็นกี่ส่วน
ใช้กำหนดชื่อหรือคำอธิบายเว็บเพจ ซึ่งจะถูกนำไปแสดงที่ไตเติลบาร์ของบราวเซอร์
  1. พื้นที่สร้างงาน (Document Windows) คือ ส่วนที่ใช้สาหรับใส่เนื้อหาและจัดองค์ประกอบของเว็บเพจ วิธีใช้งานวินโดว์นี้จะคล้ายกับที่คุณใช้โปรแกรมเวิร์ดโปรเซสเซอร์ทั่วไป เช่น พิมพ์ข้อความ วางภาพกราฟิก และสร้างตารางข้อมูลโดยเนื้อหาต่างๆจะแสดงออกมาคล้ายกับที่ปรากฏบนบราวเซอร์ ซึ่งสามารถเลือกเปิดพื้นที่สร้างงานได้ด้วยกัน 4 มุมมอง
  • มุมมองโค้ด (Code View)

ในมุมมองนี้ Document Window จะแสดงเว็บเพจในรูปของชุดคำสั่งภาษา HTML ที่ถูกสร้างขึ้นอัตโนมัติโดย Dreamweaver หรือเป็นคำสั่งที่คุณเขียนเพิ่มเข้าไปเองนอกจากนี้ก็อาจจะมีคาสั่งสไตล์ชีต (CSS) และภาษาสคริปต์ (script) ต่างๆ ด้วยคุณสามารถตรวจสอบและแก้ไขคาสั่งเหล่านี้ได้ตามต้องการ ซึ่งการแก้ไขจะส่งผลกลับไปยังมุมมองออกแบบโดยอัตโนมัติ

ในโปรแกรม In Design แบ่งส่วนประกอบตามการทำงานออกเป็นกี่ส่วน

  • มุมมองโค้ดและออกแบบ (Code and Design View หรือ Split)

ในมุมมองนี้ Document Window จะแสดงเว็บเพจทั้งในรูปแบบที่ปรากฏบนบราวเซอร์ และรูปแบบคำสั่งภาษา HTML พร้อมๆ กันดังรูป เพื่อใช้ในการออกแบบและตรวจสอบแก้ไขคำสั่งไปในขณะเดียวกัน คุณสามารถปรับขนาดพื้นที่ของแต่ละส่วนได้โดยการคลิกแล้วลากที่เส้นแบ่ง ระหว่างทั้ง 2 ส่วน

ในโปรแกรม In Design แบ่งส่วนประกอบตามการทำงานออกเป็นกี่ส่วน

  • มุมมองออกแบบ (Design View)

ในมุมมองนี้ Document Window จะแสดงเว็บเพจทั้งในรูปของหน้าตาของเว็บเพจเหมือนกับที่เราเห็นในเว็บบราวเซอร์ โดยที่เราสามารถแก้ไขเนื้อหาต่างๆ บนเอกสารด้วย ดังรูป

ในโปรแกรม In Design แบ่งส่วนประกอบตามการทำงานออกเป็นกี่ส่วน

  • มุมมองแสดงหน้าเว็บเหมือนดูบนบราวเซอร์ (Live View)

ในมุมมองนี้ Document Window จะแสดงเว็บเพจเหมือนกับการรันหน้าเว็บบนบราวเซอร์ สามารถแสดงผลในส่วนของ JavaScript และ Plug in ต่างๆ ซึ่งถือเป็นมุมมองที่เพิ่มขึ้นมาเพื่ออำนวยความสะดวกต่อผู้จัดทาเว็บไซต์ในการตรวจเช็คองค์ประกอบและลิงค์ต่างๆได้อย่างรวดเร็ว ทำให้ประหยัดเวลากว่าการแสดงผลผ่านทางเว็บบราวเซอร์โดยตรง

ในโปรแกรม In Design แบ่งส่วนประกอบตามการทำงานออกเป็นกี่ส่วน

  • มุมมองแสดงผลโค้ดหน้าเว็บ (Live Code)

ในมุมมองนี้ Document Window จะแสดงผลโค้ดร่วมกับมุมมอง Live View (จะแสดงมุมมอง Live Code ได้ก็ต่อเมื่ออยู่ที่มุมมอง Live View เท่านั้น) เป็นมุมมองที่เสมือนการใช้คำสั่ง View > Source จากบราวเซอร์ ซึ่งใช้ตรวจดูโค้ดในตำแหน่งต่าง ๆ เท่านั้น ไม่สามารถแก้ไขโค้ดในมุมมองนี้ได้

ในโปรแกรม In Design แบ่งส่วนประกอบตามการทำงานออกเป็นกี่ส่วน

  • มุมมองแสดงผลหน้าเว็บที่จัดรูปแบบด้วย CSS (Inspect)

ในมุมมองนี้จะแสดงผลร่วมกับมุมมอง Live View ซึ่งเป็นมุมมองที่ใช้ตรวจดูการจัดรูปแบบด้วยคำสั่ง CSS ในตำแหน่งที่เมาส์เลื่อนผ่าน โดยสามารถดูได้จากพาเนล CSS Styles เพื่อให้เลือกใช้หรือยกเลิกคำสั่งที่เคยกำหนดเอาไว้ในมุมมองนี้ได้

ในโปรแกรม In Design แบ่งส่วนประกอบตามการทำงานออกเป็นกี่ส่วน

  1. Tag Selector อยู่ใน Status Bar ที่อยู่ทางด้านล่างของ Document Window เมื่อเราคลิกวัตถุในเอกสารจะปรากฏ Tag Select ใน Status Bar ขึ้นมา เมื่อเราคลิกเลือก Tag Selector แล้วแท็กต่างๆ ที่ถูกล้อมด้วยแท็กที่เราเลือกจะถูกเลือกด้วย
  2. หน้าต่าง Properties Inspector เป็นหน้าต่างเล็ก ๆ ที่อยู่ด้านล่างสุดของหน้าจอโปรแกรม เป็นส่วนที่ใช้งานมากที่สุด เนื่องจากเป็นส่วนที่ใช้กำหนดคุณสมบัติสำคัญ ๆ ของออบเจ็กต์ที่วางในหน้าเว็บเพจ เช่น ตำแหน่ง ขนาด และสี

ในโปรแกรม In Design แบ่งส่วนประกอบตามการทำงานออกเป็นกี่ส่วน

  1. กลุ่มพาเนลต่างๆ (Panel Groups)

พาเนลเป็นกรอบเล็ก ๆ ที่รวบรวมเครื่องมือต่าง ๆ สำหรับใช้ทำงานเฉพาะเรื่องไว้ เช่น พาเนล CSS Styles ใช้จัดการกับสไตล์ CSS และพาเนล Files ใช้จัดการกับไฟล์และโฟลเดอร์ภายในเว็บไซต์ใน Dreamweaver ประกอบไปด้วยพาเนลจำนวนมาก ซึ่งสามารถเปิด/ปิดได้โดยเลือกคาสั่ง Window แล้วเลือกชื่อพาเนลนั้น หรือกดคีย์ลัดที่แสดงด้านหลังชื่อพาเนลดังรูป