สิทธิของผู้บริโภคสื่อตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ 2522 มีกี่ประการ * 1 คะแนน

สิทธิของผู้บริโภคสื่อตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ 2522 มีกี่ประการ * 1 คะแนน


กระทรวงยุติธรรม เสนอกฎหมายน่ารู้ ตอน : สิทธิผู้บริโภคที่ควรรู้

สิทธิผู้บริโภค 5 ประการ
1. สิทธิที่จะได้รับข่าวสารรวมทั้งคำพรรณนาคุณภาพที่ถูกต้อง และเพียงพอเกี่ยวกับสินค้าและบริการ
2. สิทธิที่จะมีอิสระในการเลือกหาสินค้าหรือบริการ
3. สิทธิที่จะได้รับความปลอดภัยจากการใช้สินค้าหรือบริการ
4. สิทธิที่จะได้รับความเป็นธรรมในการทำสัญญาโดยไม่ถูกเอารัดเอาเปรียบจากผู้ประกอบธุรกิจ
5. สิทธิที่จะได้รับการพิจารณา และชดเชยความเสียหาย ได้แก่ สิทธิที่จะได้รับความคุ้มครอง และชดใช้ค่าเสียหายเมื่อมีการละเมิดสิทธิของผู้บริโภคตาม ข้อ 1- 4

ข้อมูลจาก : พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 มาตรา 4

เขียนโดย มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค (มพบ.). จำนวนผู้ชม: 118583

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 เป็นรัฐธรรมนูญฉบับแรกที่ให้ความสำคัญของการคุ้มครองผู้บริโภค โดยบัญญัติถึงสิทธิของผู้บริโภคไว้ในมาตรา 57 ว่า "สิทธิของบุคคลซึ่งเป็นผู้บริโภคย่อมได้รับความคุ้มครองทั้งนี้ตามที่กฎหมายบัญญัติ"

                  พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดย (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2541 ได้บัญญัติสิทธิของผู้ บริโภคที่จะได้รับความคุ้มครอง
ตามกฎหมาย 5 ประการ ดังนี้

                  1. สิทธิที่จะได้รับข่าวสารรวมทั้งคำพรรณนาคุณภาพที่ถูกต้องและเพียงพอเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการ ได้แก่ สิทธิที่ จะได้รับการโฆษณาหรือการแสดงฉลากตามความเป็นจริงและปราศจากพิษภัยแก่ผู้บริโภค รวมตลอดถึงสิทธิที่จะได้รับทราบ ข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการอย่างถูกต้องและเพียงพอที่จะไม่หลงผิด ในการซื้อสินค้าหรือรับบริการโดยไม่เป็นธรรม

                  2. สิทธิที่จะมีอิสระในการเลือกหาสินค้าหรือบริการ ได้แก่ สิทธิที่จะเลือกซื้อสินค้าหรือรับบริการโดยความ สมัครใจของผู้บริโภค และปราศจากการชักจูงใจอันไม่เป็นธรรม

                  3. สิทธิที่จะได้รับความปลอดภัยจากการใช้สินค้าหรือบริการ ได้แก่ สิทธิที่จะได้รับสินค้าหรือบริการที่ปลอดภัย มีสภาพและคุณภาพได้มาตรฐานเหมาะสมแก่การใช้ ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิต ร่างกายหรือทรัพย์สิน ในกรณีใช้ตามคำแนะนำหรือระมัดระวังตามสภาพของสินค้าหรือบริการนั้นแล้ว

                  4. สิทธิที่จะได้รับความเป็นธรรมในการทำสัญญา ได้แก่ สิทธิที่จะได้รับข้อสัญญาโดยไม่ถูกเอารัดเอาเปรียบจากผู้ประกอบธุรกิจ

                  5. สิทธิที่จะได้รับการพิจารณาและชดเชยความเสียหาย ได้แก่ สิทธิที่จะได้รับการคุ้มครองและชดใช้ค่าเสียหาย เมื่อมีการละเมิดสิทธิของผู้บริโภคตามข้อ 1, 2, 3 และ 4 ดังกล่าว

พระราชบัญญติคุ้ัมครองผู้บริโภค พ.ศ.2522

    มีสาระสำคัญดังนี้

    1.กำหนดสิทธิขั้นพื้นฐานของผู้บริโภคจะได้รับ โดยกฏหมายมาตรา ๔ ผู้บริโภคมีสิทธิได้รับความคุ้มครองดังนี้

        1. สิทธิที่จะได้รับข่าวสารรวมทั้งคำพรรณานาคุณภาพที่ถูกต้องและเพียงพอเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการ

        2. สิทธิที่จะมีอิสระในการเลือกหาสินค้าและบริการ

3. สิทธิที่จะได้รับความปลอดภัยจากการใช้สินค้าและบริการ

4. สิทธิที่จะได้รับความเป็นธรรมจากการทำสัญญา

5. สิทธิที่จะได้รับการพิจาณณาและชดเชยต่าเสียหาย

2.การแต่งตั้งคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค โดยกฏหมาย มาตรา ๙ และ 10 ให้คณะกรรมการมีอำนาจและหน้าที่สำคัญ สรุปได้ดังนี้

        2.1 พิจารณาเรื่องราวร้องทุกข์ จากผู้บริโภคที่ได้รับความเดือดร้อนหรือเสียหาย เนื่องจากการกระทำของผู้ประกอบธุรกิจ

        2.2 ดำเนินการเกี่ยวกับสินค้า ที่อาจเป็นอันตรายแก่ผู้บริโภคและข่าวสารเกี่ยวกับการบริโภคที่ผู้บริโภคควรทราบ

        2.3 การกำหนดมาตราการในการคุ้มครองผู้บริโภค มีมาตราการการคุ้มครองผู้บริโภคที่สำคัญ ได้แก่

            2.3.1 การคุ้มครองผู้บริโภคในด้านโฆษณาในมาตรา 22 "การโฆษณาจะต้องไม่ใช่ข้อความที่เป็นการไม่เป็นธรรมต่อผู้บริโภคหรือใช้ข้อความที่อาจก่อให้เกิดผลเสียต่อสังคมร่างกายหรือจิตใต หรืออันอาจก่อให้เกิดความรำคาญแก่ผู้บริโภค.."

            2.3.2 การคุ้มครองผู้บนิโภคในด้านฉลาก ในมาตรา 31 ฉลากของสินค้าที่ควบคุมฉลากจะต้องมีลักษณะดังต่อไปนี้

                    - ใช้ข้อความที่ตรงต่อตวามจริง และไม่มีข้อความที่อาจก่อให้เกิดความเข้าใจผิดในสาระสำคัญเกี่ยวกับสินค้า

                    - ต้องระบุข้อความ ดังต่อไปนี้

                        (ก) ชื่อหรือเครื่องหมายการค้าของผู้ผลิตหรือผู้นำเพื่อขาย แล้วแต่กรณี

                        (ข) สถานที่ผลิตหรือสถานประกอบธุรกิจนำเข้า แล้วแต่กรณี

                        (ค) ระบุข้อความที่แสดงให้เข้าใจได้ว่าสินค้านั้นคืออะไร ในกรณีที่เป็นสินค้านำเข้าให้ระบุชื่อประเทศที่ผลิตด้วย

            2.3.3 ระบุข้อความอันจำเป็น ได้แก่ ราคา ปริมาณ วิธีใช้ ข้อแนะนำ คำเตือน วัน เดือน ปี ที่หมดอายุ ในกรณีเป็นสินค้าที่หมดอายุได้ หรือกรณีอื่นเพื่อคุ้มครองสิทธิของผู้บริโภค

    3. การคุ้มครองผู้บริโภคในด้านสัญญา มาตรา 35 ทวิ

        "ในการประกอบธุรกิจขายสินค้าหรือให้บริการใด..ในการประกอบธุรกิจที่ควบคุมสัญญา" สัญญาที่ผู้ประกอบธุรกิจทำกับผู้บริดภคจะต้องมีลักษณะดังต่อไปนี้

                1.ใช้ข้อสัญญาที่จำเป็นซึ่งหากมิได้ใช้ข้อสัญญาเช่นนั้นจะทำให้ผู้บริโภคเสียเปรียบผู้ประกอบธุรกิจเกินสมควร

                2. ห้ามใช้ข้อความที่ไม่เป็นธรรมต่อผู้บริโภค

สิทธิของผู้บริโภค ตาม พรบ.คุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 มีกี่ประการ

(๑) สิทธิที่จะได้รับข่าวสารรวมทั้งคำพรรณาคุณภาพที่ถูกต้องและเพียงพอเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการ (๒) สิทธิที่จะมีอิสระในการเลือกหาสินค้าหรือบริการ (๓) สิทธิที่จะได้รับความปลอดภัยจากการใช้สินค้าหรือบริการ (๓ ทวิ)[๔] สิทธิที่จะได้รับความเป็นธรรมในการทำสัญญา

พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภคมีกี่ฉบับ

เรามี พ.ร.บ. คุ้มครองผู้บริโภค 2522 และฉบับที่ 2 แก้ไข เพิ่มเติม พ.ศ. 2541 ที่มีเนื้อหาให้ความคุ้มครองผู้บริโภคหลายประการ แต่ตั้งแต่มีกฎหมายฉบับดังกล่าวมา ก็สามารถคุ้มครองผู้บริโภคได้ ระดับหนึ่ง แต่อย่างไรก็ตามผู้บริโภคสินค้าหรือบริการ ก็ยังตกเป็นผู้ เสียเปรียบแก่บรรดาพ่อค้า แม่ค้า ตั้งแต่ระดับการขายสินค้าริมฟุตบาท ไป ...

สิทธิของผู้บริโภคมีกี่ข้ออะไรบ้าง

สิทธิขั้นพื้นฐานของผู้บริโภค.
1. สิทธิที่จะได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง (Right to be informed) ผลิตภัณฑ์ ... .
2. สิทธิที่จะเลือกใช้บริการได้อย่างอิสระ (Right to choose) บุคลากรหรือกระบวนการ ... .
3. สิทธิที่จะร้องเรียนเพื่อความเป็นธรรม (Right to be heard) ... .
4. สิทธิที่จะได้รับการพิจารณาค่าชดเชยหากเกิดความเสียหาย (Right to redress).

สิทธิผู้บริโภคสากล 8 ประการประกอบด้วยอะไรบ้าง

ด้านการเงินและการธนาคาร.
ด้านการขนส่งและยานพาหนะ.
ด้านอสังหาริมทรัพย์และที่อยู่อาศัย.
ด้านอาหาร ยา และผลิตภัณฑ์สุขภาพ.
ด้านบริการสุขภาพ.
ด้านสินค้าและบริการทั่วไป.
ด้านการสื่อสาร โทรคมนาคม และเทคโนโลยีสารสนเทศ.
ด้านบริการสาธารณะ พลังงาน และสิ่งแวดล้อม.