คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาพิเศษ มีกี่คน

We’ve updated our privacy policy so that we are compliant with changing global privacy regulations and to provide you with insight into the limited ways in which we use your data.

You can read the details below. By accepting, you agree to the updated privacy policy.

Thank you!

View updated privacy policy

We've encountered a problem, please try again.

            พระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ.๒๕๕๐ กำหนดให้มีคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ซึ่งคณะกรรมการมีความสำคัญต่อการบริหารงานของสำนักงานฯ โดยมีอำนาจหน้าที่สำคัญหลายประการ ได้แก่ การเสนอนโยบายการส่งเสริมการศึกษาเอกชน การกำหนดมาตรการช่วยเหลือ ส่งเสริม และสนับสนุนโรงเรียน ครู ผู้สอน และบุคลากรของโรงเรียนเอกชน และกำกับดูแล ตลอดจนเสนอความเห็นในการออกกฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศ เพื่อให้สำนักงานฯ สามารถดำเนินงานตามพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๕๔

            องค์ประกอบของคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน

                ๑. กรรมการโดยตำแหน่ง ๙ คน ประกอบด้วย

                    ๑.๑ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการเป็นประธาน

                    ๑.๒ ปลัดกระทรวงศึกษาการ เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เลขาธิการสภาการศึกษา ผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ อธิบดีกรมบัญชีกลาง และอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน เป็นกรรมการโดยตำแหน่ง

                ๒. กรรมการซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการแต่งตั้ง ๑๑ คน วาระการดำรงตำแหน่ง ๓ ปี คัดเลือกจาก

                    ๒.๑ ผู้แทนสมาคม ๒ คน

                    ๒.๒ ผู้รับใบอนุญาต ผู้อำนวยการ ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา ฝ่ายละ ๑ คน

                    ๒.๓ ผู้ทรงคุณวุฒิ ๔ คน โดยต้องเป็นผู้ทรงคุณวุฒิด้านการศึกษาพิเศษ ๑ คน

            กรรมการซื่งรัฐมนตรีแต่งตั้ง ตามคำสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ที่ สป ๓๔/๒๕๕๕ สั่ง ณ วันที่ ๑๘ มกราคม ๒๕๕๕ ดังนี้

                ๑) กรรมการประเภทผู้แทนสมาคมเกี่ยวกับโรงเรียนเอกชน ๒ ตน

                ๒) กรรมการประเภทผู้แทนผู้รับใบอนุญาต ๑ คน

                ๓) กรรมการประเภทผู้แทนผู้อำนวยการ ๑ คน

                ๔) กรรมการประเภทผู้แทนผู้บริหาร ๑ คน

                ๕) กรรมการประเภทผู้แทนครู ๑ คน

                ๖) กรรมการประเภทผู้แทนบุคลากรทางการศึกษา ๑ คน

                ๗  กรรมการประเภทผู้ทรงคุณวุฒิ ๓ ตน

                ๘) กรรมการประเภทผู้ทรงคุณวุฒิด้านการศึกษาพิเศษสำหรับ

                     คนพิการ ๑ คน

            อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน

                ๑) เสนอนโยบายเกี่ยวกับการศึกษาเอกชน การพัฒนาและสนับสนุนโรงเรียน ครู ผู้สอนและบุคลากรทางการศึกษา ต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาเสนอให้ความเห็นชอบ

                ๒) กำกับ ดูแลการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน

                ๓) กำหนดมาตรฐานและแผนพัฒนาหลักสูตรการศึกษาเอกชน

                ๔) กำหนดมาตรการช่วยเหลือ ส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียน ครู

ผู้สอน และบุคลากรทางการศึกษา ให้สอดคล้องกับนโยบายที่คณะรัฐมนตรีเห็นชอบตาม (๑)

                ๕) ออกระเบียบเกี่ยวกับการเก็บรักษาเอกสารหลักฐานของโรงเรียน

                ๖) เสนอความเห็นต่อรัฐมนตรีในการออกกฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศเพื่อดำเนินการตามพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน

                ๗) ออกระเบยเกี่ยวกับการวินิจฉัยการร้องทุกข์และการคุ้มครองการทำงาน

                ๘) ออกระเบียบเกี่ยวกับการยื่นอุทธรณ์ การรับอุทธรณ์ วิธีพิจารณาอุทธรณ์และกำหนดเวลาการพิจารณาอุทธรณ์

                ๙) แต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาหรือปฏิบัติตามที่คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนมอบหมาย

                ๑๐) ปฏิบัติงานอื่นตามที่พระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชนหรือกฎหมายอื่นกำหนดหรือตามที่คณะรัฐมนตรีมอบหมาย

            ผลการดำเนินงาน

                ระหว่างวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๐ - ๑ ตุลาคม ๒๕๕๕ คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนได้มีการประชุม จำนวน ๓๒ ตรั้ง จำแนกเป็น ปี ๒๕๕๐ จัดประชุม ๒ ครั้ง ปี ๒๕๕๑ จัดประชุม ๑๐ ครั้ง ปี ๒๕๕๒ จัดประชุม ๘ ครั้ง ปี ๒๕๕๓ จัดประชุม ๖ ครั้ง ปี ๒๕๕๔ จัดประชุม ๔ ครั้ง และปี ๒๕๕๕ จัดประชุม ๕

ประธานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาสำหรับคนพิการคือใคร

(๑) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธานกรรมการ (๒) รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นรองประธานกรรมการ คนที่หนึ่ง และผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งจากกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งเป็นผู้แทนขององค์การคนพิการตาม (๔) เป็นรองประธาน กรรมการ คนที่สอง

คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาพิเศษมีหน้าที่อะไร

(๑) ส่งเสริม สนับสนุน และประสานความร่วมมือในการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการในสถานศึกษา รวมทั้งประเมินและรายงานผลต่อคณะกรรมการ (๒) สนับสนุนให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาจัดการเรียนร่วมแก่คนพิการในเขตพื้นที่รับผิดชอบอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ (๓) วิจัย และพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนและการเรียนรู้ของคนพิการ

พร บ คนพิการ มี กี่ ประเภท

คำตอบ: (1) ความพิการทางการเห็น (2) ความพิการทางการได้ยินหรือสื่อความหมาย (3) ความพิการทางการเคลื่อนไหวหรือทางรางกาย (4) ความพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม (5) ความพิการทางสติปัญญา (6) ความพิการทางการเรียนรู้ (7) ออทิสติก

ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา มีกี่แห่ง

ประกาศดังกล่าวเป็นการประกาศสถานที่ตั้ง “ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา” จำนวน 13 ศูนย์ และ “ศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจำจังหวัด” จำนวน 64 ศูนย์ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้ถูกต้องเป็นปัจจุบัน ให้เกิดความสะดวกในการติดต่อสื่อสารและให้บริการการศึกษาพิเศษตามภารกิจของศูนย์การศึกษา ...