ระดับความรุนแรงจากการเกิดแผ่นดินไหวตามมาตราเมอร์คัลลีปรับปรุงใหม่มีกี่ระดับใด


�ҵ���ԡ����

�ҵ�����������

�ѡɳТͧ�����ع�ç����ҡ�

2

I

�����������֡�֧��������� ������ͧ�������ö��Ǩ�Ѵ�ѭ�ҳ��
ระดับความรุนแรงจากการเกิดแผ่นดินไหวตามมาตราเมอร์คัลลีปรับปรุงใหม่มีกี่ระดับใด

II

����֡��Ѻ���ӹǹ���� ���ͺҧ�������ҹ��
ระดับความรุนแรงจากการเกิดแผ่นดินไหวตามมาตราเมอร์คัลลีปรับปรุงใหม่มีกี่ระดับใด

3

III

����ǹ�ҡ����֡��֧����������͹����͹��ö��觼�ҹ˹�Һ�ҹ
ระดับความรุนแรงจากการเกิดแผ่นดินไหวตามมาตราเมอร์คัลลีปรับปรุงใหม่มีกี่ระดับใด

IV

����ǹ�˭�������㹺�ҹ������֡ ���ͧ�ҡ��觢ͧ���㹺�ҹ������

4

V

����֡����ͺ�ء�� ���Ҩ��� �������������
ระดับความรุนแรงจากการเกิดแผ่นดินไหวตามมาตราเมอร์คัลลีปรับปรุงใหม่มีกี่ระดับใด

5

VI

�ء������֡�� ���¤�����͡�͡�Ҥ�� ������������㹺�ҹ����͹��� �ͧ�����硨��������
ระดับความรุนแรงจากการเกิดแผ่นดินไหวตามมาตราเมอร์คัลลีปรับปรุงใหม่มีกี่ระดับใด

VII

�ء������͡�͡�Ҥ�� �Ҥ������ �����Ѻ�����������
ระดับความรุนแรงจากการเกิดแผ่นดินไหวตามมาตราเมอร์คัลลีปรับปรุงใหม่มีกี่ระดับใด

6

VIII

�ء������͡�͡�Ҥ�� �Դ��������������ҧ�����ç �����֡�Ҥ�� ��ѧ�Ҥ���Դ���������оѧ������
ระดับความรุนแรงจากการเกิดแผ่นดินไหวตามมาตราเมอร์คัลลีปรับปรุงใหม่มีกี่ระดับใด

7

IX

�֡�ء��ѧ���Ѻ��������������ҧ��� �Թ�¡ �����Թ������� ��鹴Թ����͹���
ระดับความรุนแรงจากการเกิดแผ่นดินไหวตามมาตราเมอร์คัลลีปรับปรุงใหม่มีกี่ระดับใด

X

�Դ��������������ҧ�ҡ �ç���ҧ�ء���ҧ�١����� �Թ�Դ������� ����Դ�蹴Թ����
ระดับความรุนแรงจากการเกิดแผ่นดินไหวตามมาตราเมอร์คัลลีปรับปรุงใหม่มีกี่ระดับใด

8

XI

�ç���ҧ�ء���ҧ��ش��� �оҹ�١����� �Դ��㹪�ͧ���ᵡ�¡㹴Թ
ระดับความรุนแรงจากการเกิดแผ่นดินไหวตามมาตราเมอร์คัลลีปรับปรุงใหม่มีกี่ระดับใด

XII

�ء���ҧ�١������������ ��鹼�ǴԹ�繤��� �ء���ҧ����繢��仺��ҡ�� ��觻�١���ҧ�ء���ҧ�١�����
ระดับความรุนแรงจากการเกิดแผ่นดินไหวตามมาตราเมอร์คัลลีปรับปรุงใหม่มีกี่ระดับใด

มาตราวัดแผ่นดินไหว

มาตราวัดแผ่นดินไหว ศุกร์ที่ 17 ตุลาคม 2557 เวลา 00.00 น.

คำว่า มาตรา เป็นศัพท์บัญญัติของคำว่า scale มีความหมายอย่างหนึ่งตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ ว่า หลักกำหนดการวัดขนาด จำนวน เวลา และมุม เช่น มาตราชั่ง ตวง วัด

ปัจจุบันเราอาจพบว่ามีเหตุการณ์แผ่นดินไหวเกิดขึ้นบ่อยครั้งทั้งในประเทศไทยและในต่างประเทศ แต่มีความรุนแรงไม่มากนัก จนไม่สามารถรู้สึกได้ แต่สามารถวัดได้ด้วยเครื่องวัดคลื่นไหวสะเทือน (seismograph) โดยวัดเป็นค่าพลังงานในการเกิดแผ่นดินไหวหรือวัดขนาดแผ่นดินไหว และวัดความรุนแรงหรือวัดผลกระทบจากแผ่นดินไหว คณะกรรมการจัดทำพจนานุกรมศัพท์ธรณีวิทยา ราชบัณฑิตยสถาน ได้เก็บศัพท์และจัดทำคำอธิบายเกี่ยวกับมาตราที่ใช้วัดขนาดและวัดความรุนแรงของแผ่นดินไหว ไว้ในคำ Richter scale และ Mercalli scale ผู้เขียนขอสรุปคำอธิบายมาเสนอดังนี้

มาตราริกเตอร์ (Richter scale) เป็นมาตราที่ ซี.เอฟ. ริกเตอร์ (C.F. Richter) เป็นผู้คิดและเผยแพร่ใน พ.ศ. ๒๔๗๘ โดยใช้หลักการจากผลบันทึกของเครื่องวัดคลื่นไหวสะเทือนและมีการปรับแก้เกี่ยวกับระยะทางจากศูนย์กลางแผ่นดินไหว วัดเป็นค่าลอการิทึมฐานสิบของแอมพลิจูดสูงสุดที่วัดได้ เทียบกับเครื่องมือเฉพาะที่กำหนดให้ใช้ซึ่งตั้งอยู่ที่ตำแหน่ง ๑๐๐ กิโลเมตร จากจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว เดิมมาตรานี้มีค่าตั้งแต่ ๐-๙ ปัจจุบันวัดได้ละเอียดมากขึ้น

มาตราเมอร์คัลลิ (Mercalli scale) เป็นมาตราวัดแบบใช้คำบรรยายที่บอกให้ทราบถึงความรุนแรงของความไหวสะเทือนที่ตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่งโดยสังเกตความรุนแรงของความเสียหายหรือความรู้สึกถึงการสั่นสะเทือนซึ่งเป็นผลสืบเนื่องมาจากการเกิดแผ่นดินไหว มาตราเมอร์คัลลิเดิมกำหนดขึ้นโดยจูเซปเป แมร์คัลลี (Giuseppe Mercalli) นักธรณีวิทยาชาวอิตาลี ใน พ.ศ. ๒๔๔๕ แบ่งระดับความเข้มเป็น ๑๐ ระดับ ต่อมามาตรานี้ได้ปรับปรุงใหม่แบ่งความเข้มเป็น ๑๒ ระดับ.

อารี พลดี

คุณเห็นด้วยกับข่าวนี้หรือไม่

  • เห็นด้วย

    0%

  • ไม่เห็นด้วย

    0%

ความคิดเห็น

ข่าวล่าสุด