แบตเตอรี่ โน๊ ต บุ๊ค ASUS ใช้ได้ กี่ชั่วโมง

มีคำถามมากมายเกี่ยวกับแบตเตอรี่ ไม่ว่าจะเป็นการชาร์จ, แบตเสื่อม ประหยัดแบต โน๊ตบุ๊คและอีกมากมาย เนื่องด้วยในบรรดาอุปกรณ์ภายในโน๊ตบุ๊คของเราส่วนมาก สิ่งที่จะมีปัญหาอันดันแรก นั้นก็คือแบตเตอรี่ ซึ่งหากใช้งานไม่ถูกต้อง ซื้อมาเพียงไม่กี่เดือนแบตก็เสื่อมแล้วครับผม ทำให้เป็นปัญหาเวลาใช้นอกสถานที่เป็นอย่างมาก

แบตเตอรี่ โน๊ ต บุ๊ค ASUS ใช้ได้ กี่ชั่วโมง

โดยเฉพาะโน๊ตบุ๊คที่เป็นอัลตร้าบุ๊คที่เน้นการพกพาเพราะถ้าใช้แล้วแบตหมดเร็วก็ไม่รู้จะซื้อมาพกพาทำไม อิอิ ถ้ามันมีพาวเวอร์แบงค์ให้ชาร์จก็คงดี ฮาๆ เอาหละครับ เพื่อไม่เป็นการเสียเวลาเรามาดูความเข้าใจผิดๆ เพื่อให้เราเข้าใจถูกเกี่ยวกับแบตเตอรี่โน๊ตบุ๊คกันเลยดีกว่าครับ

แบตเตอรี่ โน๊ ต บุ๊ค ASUS ใช้ได้ กี่ชั่วโมง

1

ปล่อยให้แบตเตอรี่หมดก่อนแล้วค่อยชาร์จ เรื่องความร้อนนั้นเป็นของคู่กับโน้ตบุ๊คด้วยเลยก็ว่าได้ ส่วนสำหรับแบตเตอรี่นั้นหากได้รับความร้อนนานๆ อายุก็จะสั้นลงแน่นอน แต่เอ๊ะ!! แล้วจะให้ทำยังไงหละในเมื่อการชาร์จทุกเครื่องมันก็ร้อนนิหน่า ถูกไหม? แต่ผมมีวิธีแนะนำครับผม นั้นก็คือ อย่าปล่อยให้แบตเตอรี่อยู่ต่ำกว่าประมาณ 20% ซึ่งถ้าจะให้ดีควรอยู่ในระดับ 20-30% หรืออาจจะ 40% ก็ได้ครับ แต่ก็อย่าเกินนี้ เพราะยิ่งแบตเหลือน้อยมากๆ การชาร์จมันก็จะนาน ทำให้เกิดความร้อนมากกว่านั้นเอง และที่สำคัญอย่าให้แบตเตอรี่หรือตัวเครื่องโน้ตบุ๊คเราอยู่ใกล้กับสิ่งของร้อนๆ ด้วย

2

ถอดแบตเตอรี่ออกขณะเล่นเกมหรือเวลาอยู่บ้าน ถามกันว่าต้องถอดแบตเตอรี่หรือเปล่า? ต้องใส่ไว้ตลอดไหม? วันนี้ผมก็มีคำตอบให้ครับผม หากเราถอดไว้แล้ว แต่เกิดปัญหา ไฟดับ ไฟกระชาก มันก็อาจจะทำให้อุปกรณ์หรือโน้คบุ๊คของเราเสียหายได้ครับ ซึ่งอันที่จริงหากเราถอดแบตเตอรี่ออกมามันจะช่วยให้ยืดอายุการใช้งานได้จริง แต่มันก็เพียงเล็กน้อย แล้วมันจะคุ้มเหรอครับ? กับสิ่งที่เราอาจจะเสียไป ดูแล้วมันก็คงได้ไม่คุ้มเสีย

แบตเตอรี่ โน๊ ต บุ๊ค ASUS ใช้ได้ กี่ชั่วโมง

3

ถอดแบตเตอรี่เก็บไว้ ไม่ต้องใช้ ไม่เสื่อม ปกติแบตเตอรี่ อายุประมาณ 1 ปีหรืออาจจะน้อยหรือมากกว่า ตามลักษณะการใช้งาน เราก็เริ่มเห็นปัญหาแบตเตอรี่เสื่อมแล้วครับ เหมือนของผมใช้ก็ 1 ปีเต็มพอดี แบตก็ใช้งานได้สั้นลง 30 นาที จากปกติใช้ได้ 3 ชั่วโมง ตอนนี้ก็เหลือ 2 ชั่วโมง 30 นาทีโดยประมาณ ผมก็ใช้ถูกหลักบ้างไม่ถูกหลักบ้างตามสถานะการ และแต่ส่วนใหญ่แล้วแบตเตอรี่มักจะสิ้นใจก่อนโน้ตบุ๊คของเราอยู่แล้ว โดยปกติก็ โน้ตบุ๊ค 1 เครื่อง กับ แบตเตอรี่ 2 ลูก ก็ถือว่ากำลังดีครับ ก็คือใช้ตัวที่แถมมา และเราก็เปลี่ยนหนึ่งครั้ง มันก็จะสิ้นอายุไขของมัน หรือบางท่านก็อาจจะใช้แบตเตอรี่ลูกเดียวแบบนี้ก็ถือว่าคุ้มค่ามากครับ

แบตเตอรี่ โน๊ ต บุ๊ค ASUS ใช้ได้ กี่ชั่วโมง

5 วิธีง่ายๆ เพิ่มชั่วโมงการทำงานของโน้ตบุ๊ตบนแบตเตอรี่ โดยไม่ต้องเสียสตางค์

วิธีพื้นฐานคลาสสิคยิ่งนัก โดยเจ้า Windows Power Manager นั้นจะมีติดตั้งมาให้บนโน้ตบุ๊คทุกตัว(ที่ใช้ Windows) โดยวิธีที่ง่ายที่สุดที่ไม่ต้องปรับแต่งอะไรเลยก็คือเลือกปรับให้มันเป็น Power Saver นั่นเอง แต่ระดับสมาชิก NBS คงไม่ทำอะไรง่ายๆ ใช้ไหมละครับ ซึ่งมันก็มีวิธีแอดวานซ์กว่านั้น ก็คือให้สังเกตเครื่องหมายรูปถ่านที่ Task Bar > คลิกซ้าย เลือก More Power Option > Change Plan Setting > Change Advance Power Option ที่นี้มันก็จะขึ้นหน้าต่าง Power Option มาเลยละครับ

ให้ท่านปรับได้สะดวกโยธินหลากหลายหัวข้อตามใจท่านเลยครับ (แนะนำให้ท่านศึกษาหัวข้อนั้นๆ ดูด้วยนะครับว่าหมายถึงอะไร) โดยหัวข้อที่ผมแนะนำให้ปรับถ้าต้องการใช้แบตเตอรี่โน้ตบุ๊คนานๆ ก็จะ Processor ให้ Maximize อยู่ที่ราวๆ 50% ก็จะช่วยประหยัดไฟได้พอสมควร โดยที่ประสิทธิภาพของเครื่องไม่ตกลงมากนัก การบล๊อกแฟลชโฆษณาต่างๆ และปิดโปรแกรมที่ไม่จำเป็นหรือปิด (Disable) Wireless / Bluetooth รวมถึง การลดความสว่างของหน้าจอ ก็ล้วนแต่มีส่วนช่วยให้ใช้งานได้ยาวนานขึ้น

แบตเตอรี่ โน๊ ต บุ๊ค ASUS ใช้ได้ กี่ชั่วโมง

การ Calibrate Battery เพื่อเพิ่มอายุการใช้งาน เมื่อแบตเตอรี่โน้ตบุ๊กเสื่อมทำไงดี ?

สำหรับผู้ที่ใช้โน้ตบุ๊คมาสักปี 2 ปีปัญหาหนึ่งที่มักจะเจอกันก็คือแบตเตอรี่เสื่อม?ซึ่งถ้าใช้เครื่องมาระดับนี้การเสื่อมของแบตเตอรี่ถือเป็นเรื่องปรกตินะครับ แม้ท่านจะทำวิธีใดก็ตามแบตเตอรี่ที่ท่านใช้ๆอยู่ก็ย่อมต้องเสื่อมไปตามการเวลาเป็นปรกติครับ หลายๆท่านอาจจะเลือกที่จะต่อ Adapter ตลอดเวลา หรือไม่ก็ซื้อเครื่องใหม่ไปเลย แต่อีกหลายๆท่านก็ยังจำเป็นต้องใช้แบตเตอรี่อยู่ (และก็ไม่มีตังซื้อเครื่องใหม่) การซื้อแบตเตอรี่ใหม่จึงเป็นทางเลือกที่น่าสนใจเพราะราคาถูกกว่าซื้อเครื่องใหม่ และก็ทำให้โน้ตบีกใช้งานแบตเตอรี่ได้เหมือนเดิม

ปัจจุบันแบตเทียบก็ถือเป็นตัวเลือกที่น่าสนใจสำหรับผู้ที่งบประมาณจำกัด แต่อยากเปลี่ยนแบตเตอรี่ก้อนเก่าที่เสื่อมแล้วเป็นแบตตัวใหม่ใสปิ้ง อีกทั้งปัจจุบันผู้ผลิตแบตเตอรี่เทียบหลายๆเจ้าก็พยายามพัฒนาคุณภาพให้เทียบเท่าแบตแท้จากผู้ผลิตโน้ตบุ๊ก โอกาสที่แบตเทียบจะมีปัญหาใช้งานได้ไม่เต็มที่หรือแบตเตอรี่ระเบิดก็มีโอกาสน้อย เพียงแต่ว่าเราต้องดูชื่อผู้ผลิตหรือนำเข้าให้มันใจ ยิ่งถ้าเป้นแบรนด์ที่ขายมานานหรือเป็นที่รู้จักก็จะช่วยให้เรามั่นใจขึ้น

แบตเตอรี่ โน๊ ต บุ๊ค ASUS ใช้ได้ กี่ชั่วโมง

วิธีการประหยัดแบตเตอรี่โน้ตบุ๊กง่ายๆ ทำได้เอง

โน้ตบุ๊กออกแบบให้เป็นคอมพิวเตอร์ที่นำติดตัวไปใช้งานนอกสถานที่ได้โดยสะดวก แต่มีข้อจำกัดเรื่องแบตเตอรี่ว่าเป็นตัวกำหนดว่าเครื่องนั้นๆ จะสามารถใช้งานต่อเนื่องได้นานกี่ชั่วโมงซึ่งใครๆ ก็อยากจะให้ใช้งานต่อเนื่องให้ได้นานที่สุดแน่นอน ดังนั้นครั้งนี้เราจะมาดูวิธีการตั้งค่าตัวเครื่องให้ประหยัดพลังงานมากยิ่งขึ้นกันด้วยการ Power saving mode โดยดาร?ตั้งค่าความสว่างหน้าจอให้พอดีต่อการใช้งาน,?ปิดการทำงานของอุปกรณ์บางชิ้นที่เราไม่ได้ใช้งาน,?ตั้งค่าที่ส่วนของ Power Option,?ลดการแสดงผลสามมิติ,?ตั้งค่าแจ้งเตือนเมื่อแบตเตอรี่ใกล้หมดและตั้งให้ตัวเครื่องอยู่ในโหมด Hibernate,?งดการใช้แผ่น CD เพื่อประหยัดพลังงานและเพิ่มหน่วยความจำ (แรม) ให้เพียงพอต่อการใช้งาน

ทั้งหมดนี้เป็นวิธีการง่ายๆ ที่จะทำให้โน้ตบุ๊กของเพื่อนๆ สามารถใช้งานต่อเนื่องได้นานยิ่งขึ้น ด้วยการ Power saving mode ซึ่งทางทีมงานแนะนำเพิ่มเติมว่าเราควรจะเตรียมอะแดปเตอร์ติดตัวไปด้วยเวลานำออกไปใช้งานนอกสถานที่ เพราะเมื่อแบตเตอรี่ใกล้หมดแล้วเจอปลั๊กก็สามารถชาร์จไฟเข้าเครื่องได้ในทันที

แบตเตอรี่ โน๊ ต บุ๊ค ASUS ใช้ได้ กี่ชั่วโมง

วิธีการประหยัดพลังงานให้แบตเตอร์รี่โน้ตบุ๊ก

เครื่องโน้ตบุ๊กตัวโปรดของคุณจะกลายเป็นภาระอันใหญ่หลวงทันที ถ้าหากเราต้องมัวแต่วิ่งหาปลั้กไฟเพราะว่าแบตหมดก่อนเวลาอันควรเอาซะดื้อๆ ต่อไปนี้จะเป็น 15 วิธีการที่เราอยากจะแนะนำ เพื่อจะทำให้เครื่องโน้ตบุ๊กของคุณสามารถประหยัดพลังงาน และใช้งานแบตเตอร์รี่ของคุณเพิ่มเติมได้อีกหลายนาที

1

จัดเรียงข้อมูลในฮาร์ดดิสก์อย่างสม่ำเสมอ ฮาร์ดดิสก์เป็นจุดที่ทำงานช้าและใช้พลังงานมากที่สุดจุดหนึ่งของเครื่องโน้ตบุ๊ก ยิ่งเราสามารถทำให้ฮาร์ดดิสก์ของเราทำงานได้ไวมากขึ้นเท่าไร ความต้องการที่จะใช้พลังงานก็จะน้อยลงเท่านั้น วิธีการหนึ่งที่ทำให้เครื่องทำงานได้เต็มประสิทธิภาพอยู่เสมอ ก็คือการ Defragment หรือจัดเรียงข้อมูลในฮาร์ดดิสก์นั้นเอง

2

ปิดโปรแกรมที่ทำงานอยู่ด้านหลังออกไปบ้าง หากคุณเป็นคนที่ไม่ค่อยสนใจอะไรเวลาลงโปรแกรมล่ะก็ คุณจะได้โปรแกรมที่แอบทำงานอยู่เงียบๆ อยู่ข้างหลังตามมาเป็นว่าเล่น โปรแกรมพวกนี้ชอบถูกสั่งให้เปิดขึ้นมารอการใช้งานพร้อมกับ Windows ตั้งแต่แรก นั้นเป็นสาเหตุที่ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ของคุณบูตช้าลงทุกวันๆ

3

ดึงอุปกรณ์ภายนอกที่ไม่ได้ใช้ออก อุปกรณ์ USB ทั้งหลายแหล่ที่คุณเสียบทิ้งไว้กับเครื่อง จะดึงพลังงานออกไปจากแบตอยู่เสมอ ไม่ว่าจะมากหรือน้อยก็ตาม แม้แต่เม้าส์และตัว WiFi ถ้าหากคุณไม่ได้ใช้งานก็ควรจะปิด เพื่อให้เครื่องตัดกระแสไฟออกไป

4

เพิ่มหน่วยความจำให้พอต่อการใช้งาน ยิ่งเครื่องมีแรมมากพอจะให้โปรแกรมใช้เท่าไร โอกาสที่โปรแกรมจะไปใช้ Virtual Memory จะลดลง ส่วน Virtual Memory คืออะไรนั้น ถ้าพูดง่ายๆ มันคือแรมที่ถูกจำลองขึ้นมาบนฮาร์ดดิสก์เพราะว่าแรมจริงนั้นมีไม่พอที่จะใช้ทำงาน และอย่างที่เราบอกไปในข้อแรมว่า ฮาร์ดดิสก์ทำงานช้าและใช้พลังงานเยอะมาก

แบตเตอรี่ โน๊ ต บุ๊ค ASUS ใช้ได้ กี่ชั่วโมง

สร้าง Power Plan ให้ได้ค่า Performance สูงสุดใน Windows 7

โดยทั่วไปแล้ววินโดวส์จะมีฟีเจอร์บริหารการจัดการพลังงาน Power saving mode สำหรับคอมพิวเตอร์ที่เป็นแบบ Laptop มาให้อยู่แล้ว และก็เป็นฟีเจอร์ที่ทำงานได้ดีอย่างใน Windows 7 ซึ่งมี Power Plant หลักๆ 3 โหมด ได้แก่

Balanced ให้ประสิทธิภาพ (Performance) การทำงานอย่างเต็มที่เมื่อคุณต้องการ แต่ประหยัดพลังงานเมื่อไม่ได้ใช้งานคอมพิวเตอร์
Power saver ให้ทางเลือกที่ดีที่สุดสำหรับการยืดอายุแบตเตอรีให้ใช้ยาวนานที่สุด ประหยัดค่าไฟแต่การทำงานจะมีประสิทธิภาพที่ต่ำ
High performance- เพิ่มประสิทธิภาพของระบบให้สูงสุดในการใช้งาน แต่ต้องแลกกับอายุการใช้งานของแบตเตอรีสั้นลง (แบตเตอรีหมดเร็วขึ้น)

จะทำอย่างให้สามารถใช้งาน Laptop ให้ได้ประสิทธิภาพสูงสุด (Performance) แม้ในตอนใช้ไฟจากแบตเตอรีหรือเสียบ Adapter เพราะท่านผู้นี้ได้บอกว่าเมื่เอา Adeptor ออก Performance ตกอย่างมาก ซึ่งในความเป็นจริงมันก็ต้องตกอยู่เพราะเหลือแต่แบตเตอรี ถึงจะปรับ Power Plan ไปที่ High performance ก็ตามโหมดนี้ก็ยังคำนึงถึงการประหยัดแบตเตอรีอยู่เพราะวินโดวส์ได้ออกแบบไว้อย่างนั้น ถ้าเราต้องการที่ใช้เครื่องแบบมี Performance สูงสุดแบบสุดๆเลย เราต้องปรับแต่งเอง ซึ่งก็สามารถเข้าที่ปรับแต่งที่ Change plan setting ของแต่ละโหมด

แบตเตอรี่ โน๊ ต บุ๊ค ASUS ใช้ได้ กี่ชั่วโมง

น่าจะมีประโยชน์สำหรับคนที่ต้องการ Power saving mode รีดประสิทธิภาพ ด้วยการสร้าง Performance ของเครื่องในการทำงาน ในบทความนี้ การตั้งค่าต่างๆ ไม่จำเป็นต้องตามที่เขียนทั้งหมดก็ได้ คุณๆ สามารถปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสมของตัวท่าน อาทิ เช่น ค่าในส่วนของ Battery เปอร์เซ็นต์ต่างๆ ของ Low battery level, Critical battery level หรือ Reserve battery level สามารถปรับให้ต่ำกว่าก็ได้ แต่ต้องสมดุลกันด้วย

แหล่งที่มา : notebookspec.com

แบตเตอรี่ โน๊ ต บุ๊ค ASUS ใช้ได้ กี่ชั่วโมง

จัดการการกำหนดลักษณะความยินยอม

คุกกี้ที่จำเป็น (Strictly Necessary Cookies)

เปิดใช้งานตลอดเวลา

คุกกี้ประเภทนี้มีความจำเป็นต่อการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้เว็บไซต์สามารถทำงานได้เป็นปกติ มีความปลอดภัย และทำให้ท่านสามารถเข้าใช้เว็บไซต์ได้ เช่น การ log in เข้าสู่เว็บไซต์ การยืนยันตัวตน ทั้งนี้ ท่านไม่สามารถปิดการใช้งานของคุกกี้ประเภทนี้ผ่านระบบของเว็บไซต์ของเราได้

รายละเอียดคุกกี้

  • lang (advice.co.th)
  • CookieMaster (advice.co.th)
  • laravel_session (advice.co.th)

คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์ (Analytic Cookies)

คุกกี้ประเภทนี้จะเก็บข้อมูลการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน เพื่อให้เราสามารถวัดผล ประเมิน ปรับปรุง และพัฒนาเนื้อหาสินค้า/บริการและเว็บไซต์ของเราเพื่อเพิ่มประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของท่าน ทั้งนี้ หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้ประเภทนี้ เราจะไม่สามารถวัดผล ประเมิน และพัฒนาเว็บไซต์ได้

รายละเอียดคุกกี้

  • _ga (Google Analytics)
  • _gid (Google Analytics)
  • _gat_gtag_UA_28871641_1 (Google Analytics)

คุกกี้เพื่อปรับเนื้อหาให้เข้ากับกลุ่มเป้าหมาย (Targeting Cookies)

คุกกี้ประเภทนี้จะเก็บข้อมูลต่าง ๆ ซึ่งอาจรวมถึงข้อมูลส่วนบุคคลของท่านและสร้างโปรไฟล์เกี่ยวกับตัวท่าน เพื่อให้เราสามารถวิเคราะห์และนำเสนอเนื้อหา สินค้า/บริการ และ/หรือ โฆษณาที่เหมาะสมกับความสนใจของท่านได้ ทั้งนี้ หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้ประเภทนี้ ท่านอาจได้รับข้อมูลและโฆษณาทั่วไปที่ไม่ตรงกับความสนใจของท่าน

รายละเอียดคุกกี้

  • _fbp (facebook)
  • fr (facebook)
  • __cf_bm (useinsider)
  • cid (ctnsnet)
  • gid_CAESEMeuJG4n53eGiYtwOVeALHM (ctnsnet)
  • IDE (doubleclick.net)
  • U (adsymptotic.com)
  • lidc (linkedin.com)
  • li_sugr (linkedin.com)
  • bcookie (linkedin.com)
  • bid (consentag.eu)
  • ts (creativecdn.com)
  • u (creativecdn.com)

บริษัท แอดไวซ์ ไอที อินฟินิท จำกัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) ตระหนักถึงสิทธิส่วนบุคคลในข้อมูลของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล (“ผู้ใช้บริการ”) เนื่องจากปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมทั้งการสื่อสารได้มีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว ทำให้การเข้าถึงข้อมูลส่วนบุคคลทำได้โดยง่าย สะดวก รวดเร็ว ส่งผลให้เกิดความเสียหายต่อเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลได้โดยง่าย เพื่อเป็นการป้องกันการละเมิดข้อมูลส่วนบุคคล และเพื่อให้เป็นไปตามแนวปฏิบัติที่ดีตาม พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 บริษัทฯ จึงได้กำหนดนโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้บริการ ให้เป็นมาตรการในการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคล เพื่อให้ผู้ใช้บริการมั่นใจได้ว่าข้อมูลจะถูกนำไปใช้ตรงตามความต้องการของผู้ใช้บริการภายใต้วัตถุประสงค์ และถูกต้องตามกฎหมาย

นโยบายฉบับนี้จัดทำเพื่อแจ้งให้ผู้ใช้บริการทราบถึงวัตถุประสงค์ของการเก็บรวบรวม ใช้ และ/หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล ตลอดจนสิทธิตามกฎหมายของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลส่วนบุคคล

หากพระราชบัญญัติและ/หรือกฎหมายลำดับรอง ข้อบังคับ ประกาศของหน่วยงานราชการ เกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลที่ออกมาใหม่มีการแก้ไขเปลี่ยนแปลง บริษัทฯ อาจทบทวน แก้ไข นโยบายฉบับนี้ เป็นครั้งคราวเพื่อให้สอดคล้องกับกฎหมายข้างต้น และ บริษัทฯ จะเผยแพร่นโยบายซึ่งปรับปรุงแก้ไขใน Website ของบริษัทฯ โดยเร็วที่สุด เพื่อให้ทันสมัยและสอดคล้องกับหลักเกณฑ์ใหม่นั้น

1. ข้อมูลส่วนบุคคล

หมายความว่า ข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลซึ่งทำให้สามารถระบุตัวบุคคลนั้นได้ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม โดยบริษัทฯ อาจเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้บริการ รวมถึงข้อมูลส่วนบุคคลที่มีความอ่อนไหวเป็นพิเศษ ทั้งนี้ข้อมูลส่วนบุคคลที่จะมีการเก็บรวบรวมบริษัทฯ จะเก็บเท่าที่จำเป็นตามความสัมพันธ์ระหว่างบริษัทฯ และผู้ใช้บริการตามบริการหรือผลิตภัณฑ์ที่ผู้ใช้บริการเข้าร่วมหรือต้องการ โดยมีรายละเอียดของประเภทข้อมูลส่วนบุคคลและข้อมูลส่วนบุคคลที่มีความอ่อนไหวที่บริษัทฯ เก็บรวบรวมดังต่อไปนี้

1.1 ข้อมูลส่วนบุคคล ได้แก่

(1) ข้อมูลส่วนตัว เช่น ชื่อ-นามสกุล เพศ วันเกิด อายุ สัญชาติ ถิ่นฐานประเทศ สถานที่เกิด ลายมือชื่อ สถานภาพการสมรส จำนวนบุตร ประวัติการศึกษา วุฒิการศึกษา ข้อมูลส่วนบุคคลภายในเอกสารที่หน่วยงานราชการออกให้ (เช่น บัตรประจำตัวประชาชน หนังสือเดินทาง หมายเลขประจำตัวผู้เสียภาษี ใบอนุญาตขับขี่ เอกสารการเปลี่ยนชื่อ-นามสกุล ใบอนุญาต ทำงาน โฉนดที่ดิน เอกสารที่เกี่ยวข้องกับวีซ่า เป็นต้น) ภาพถ่าย บันทึกเสียงการสนทนา บันทึกภาพนิ่งหรือบันทึกภาพเคลื่อนไหว จากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด และข้อมูลส่วนตัว หรือเอกสารทางกฎหมายอื่นๆ

(2) ข้อมูลการติดต่อ เช่น หมายเลขโทรศัพท์ หมายเลขโทรสาร อีเมล ไอดีไลน์ (LINE ID) บัญชี Facebook และบัญชีโซเชียลมีเดียอื่นๆ ที่สามารถระบุตัวตนผู้ใช้บริการได้ สถานที่อยู่ตามบัตรประจำตัวประชาชนหรือทะเบียนบ้าน สถานที่อยู่ปัจจุบัน ข้อมูลตำแหน่งที่ตั้ง

(3) ข้อมูลการทำงานหรือการประกอบอาชีพ เช่น อาชีพ ตำแหน่ง รายละเอียดการประกอบอาชีพปัจจุบัน สถานที่ทำงาน ประเภทของธุรกิจ ประเภทขององค์กรที่ทำงาน อายุการทำงาน ข้อมูลประกันสังคม ข้อมูลส่วนบุคคลที่ปรากฏในเอกสารที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ เช่น หนังสือรับรองธุรกิจ และเอกสารการเสียภาษีบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล เอกสารประกอบการดำเนินธุรกิจ เป็นต้น

(4) ข้อมูลทางการเงิน เช่น ระดับรายได้ แหล่งที่มาของรายได้และเงินลงทุน หนังสือรับรองเงินเดือน รายการเดินบัญชี สลิปเงินเดือน ข้อมูลสถานภาพทางการเงิน ชื่อและเลขที่บัญชีธนาคาร เลขที่บัตร ATM รหัสเข้าใช้บัตร ATM/เดบิต ข้อมูลสินเชื่อ หลักประกัน ภาระหนี้สิน หมายเลขบัตรเครดิต ข้อมูลเงินฝาก กองทุน หุ้น ทรัพย์สินปลอดภาระ ค่าใช้จ่าย ข้อมูลเครดิต งบการเงิน และข้อมูลการทางเงินอื่นๆ เป็นต้น

(5) ข้อมูลการทำธุรกรรม เช่น รายละเอียดการทำธุรกรรมกับบริษัทฯ วิธีการชำระเงินและการรับเงิน ข้อมูลการโอนเงิน เหตุผลในการทำธุรกรรม ข้อมูลทางธุรกรรมของผลิตภัณฑ์และบริการของบริษัทฯ ข้อมูลและรายละเอียดตามสัญญา ข้อมูลส่วนบุคคลตามเอกสารประกอบการทำธุรกรรม (เช่น สำเนาบัตรประชาชน สำเนาทะเบียนบ้าน รูปภาพ โฉนดที่ดิน รูปและภาพถ่ายพื้นที่) ประวัติการทำธุรกรรม เป็นต้น

(6) ข้อมูลด้านเทคโนโลยี เช่น ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ (Log) หมายเลขประจำเครื่องคอมพิวเตอร์ (IP Address) ข้อมูลตำแหน่งที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ (Location) โดยใช้เทคโนโลยีระบุตำแหน่ง ประเภทของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้เปิดดูเว็บไซต์ (Browser) ข้อมูลบันทึกการเข้าออกเว็บไซต์ ข้อมูลบันทึกประวัติการใช้เว็บไซต์ ข้อมูลบันทึกการเข้าสู่ระบบ (Login Log) ข้อมูลรายการการทำธุรกรรม (Transaction Log) สถิติการเข้าเว็บไซต์ เวลาที่เยี่ยมชมเว็บไซต์ (Access Time) ข้อมูลที่ถูกค้นหาหรือเข้าชม ข้อมูลการใช้สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) การใช้ฟังก์ชันต่าง ๆ ในเว็บไซต์ และข้อมูลที่บริษัทฯ ได้เก็บรวบรวมผ่านคุกกี้ (Cookie) หรือเทคโนโลยีอื่นที่คล้ายกัน เป็นต้น

(7) ข้อมูลด้านพฤติกรรม เช่น รายละเอียดเกี่ยวกับพฤติกรรม การดำรงชีวิต ทัศนคติ การแสดงความคิดเห็น และข้อเท็จจริงเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้ผลิตภัณฑ์หรือบริการของผู้ใช้บริการ ข้อมูลความคิดเห็นของผู้ใช้บริการต่อประเภทผลิตภัณฑ์หรือบริการที่ท่านได้รับ ข้อมูลความสนใจของผู้ใช้บริการด้านการตลาดบริษัทฯ ข้อมูลการร้องเรียน และข้อมูลการใช้สิทธิเรียกร้องตามกฎหมายของผู้ใช้บริการ

1.2 ข้อมูลส่วนบุคคลที่มีความอ่อนไหว ได้แก่

ข้อมูลส่วนบุคคลที่เป็นข้อมูลอ่อนไหว หมายถึง ข้อมูลตามมาตรา 26 ตามพ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 โดยบริษัทฯ มีการจัดเก็บข้อมูลส่วนบุคคลที่เป็นข้อมูลอ่อนไหว ได้แก่ เชื้อชาติ ศาสนา ประวัติอาชญากรรม ข้อมูลสุขภาพ ความพิการ ข้อมูลชีวภาพ (เช่น ข้อมูลจำลองลายนิ้วมือ ข้อมูลจำลองใบหน้า

2. วัตถุประสงค์การเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล

2.1 เพื่อการปฏิบัติตามสัญญาซึ่งผู้ใช้บริการเป็นคู่สัญญาหรือเพื่อใช้ในการดำเนินการตามคำขอของผู้ใช้บริการ หรือการอื่นที่จำเป็นภายใต้กฎหมาย

2.2 เพื่อการประมวลผล การบริหารจัดการ การดำเนินการเกี่ยวกับ สินเชื่อ ธุรกรรมทางการเงินการธนาคาร การประกันภัย รวมถึงบริการต่าง ๆ ที่ผู้ใช้บริการทำกับบริษัทฯ เครือข่าย หรือพันธมิตรทางธุรกิจของบริษัทฯ

2.3 เพื่อใช้ข้อมูลประกอบการวิเคราะห์ หรือปรับปรุงผลิตภัณฑ์หรือบริการของบริษัทฯ

2.4 เพื่อปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับ กฎหมายของบริษัทฯ หรือตามกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง

2.5 เพื่อใช้ดำเนินการสอบทาน ตรวจสอบ ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้บริการ

2.6 เพื่อให้ข้อมูลเกี่ยวกับบริการทางการเงิน สินเชื่อหรือบริการอื่น ๆ ที่บริษัทฯ ออกใหม่ หรือปรับปรุงผลิตภัณฑ์/บริการ หรือใช้ในการประสานงาน

2.7 เพื่อใช้ในการพิสูจน์ตัวตนของผู้ใช้บริการหรือตรวจสอบข้อเท็จจริงของผู้ใช้บริการ

2.8 เพื่อการดำเนินการที่จำเป็นภายใต้ประโยชน์โดยชอบด้วยกฎหมายของบริษัทฯ บุคคลอื่น หรือหน่วยงานอื่นภายใต้กรอบของกฎหมาย

2.9 เพื่อให้ผู้ใช้บริการได้รับประโยชน์สูงสุดจากการใช้ผลิตภัณฑ์หรือบริการต่างๆของบริษัทฯ เครือข่ายบริษัทฯ หรือ พันธมิตรบริษัทฯ ตามที่ผู้ใช้บริการให้ความยินยอมไว้

3. แหล่งที่มาของข้อมูลส่วนบุคคล

3.1 ข้อมูลจากผู้ใช้บริการโดยตรง ซึ่งให้ข้อมูลไว้ในเอกสารคำขอใช้บริการ รวมถึงเอกสารประกอบและข้อมูลการสื่อสารต่าง ๆ เช่น สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน สำเนาทะเบียนบ้าน ฯลฯ ที่ผู้ใช้บริการได้มอบให้กับบริษัทฯ ในรูปแบบหนังสือหรือวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์

3.2 ข้อมูลจากแหล่งอื่น ข้อมูลจากหน่วยงานต่าง ๆ ข้อมูลที่ได้รับจากพันธมิตรทางธุรกิจ เป็นต้น เพื่อประโยชน์ของผู้ใช้บริการในการให้บริการทางการเงิน ซึ่งบริษัทฯ จะเก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งอื่นต่อเมื่อได้รับความยินยอมจากผู้ใช้บริการตามที่กฎหมายกำหนด เว้นแต่บริษัทฯ มีความจำเป็นตามกรณีที่กฎหมายอนุญาต

4. ระยะเวลาในการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคล

หากผู้ใช้บริการยุติความสัมพันธ์หรือถอนความยินยอมซึ่งการเก็บรวบรวม ใช้ และ/หรือการเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล บริษัทฯ จะเก็บข้อมูลส่วนบุคคลต่อไปตาม ระเบียบ ข้อบังคับ และคู่มือปฏิบัติในเรื่องการจัดเก็บ ทำลายเอกสารต่างๆ ของบริษัทฯ และตามที่กฎหมายกำหนด

5. การเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล

บริษัทฯ จะจัดเก็บรักษาข้อมูลส่วนบุคคลไว้เป็นความลับตามที่กฎหมายกำหนด และตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดข้างต้น ทั้งนี้ บริษัทฯ อาจเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลให้แก่หน่วยงานที่มีอำนาจตามกฎหมาย เช่น การส่งข้อมูลให้แก่หน่วยงานของรัฐ หรือองค์การที่มีอำนาจตามกฎหมายในการกำกับดูแลสถาบันการเงิน /บุคคลภายนอกที่กฎหมายอนุญาตให้สามารถส่งได้ หรือพันธมิตรหรือหน่วยงานอื่น ๆที่เกี่ยวข้องกับบริษัทฯ ตามสัญญา

6. การส่งข้อมูลหรือโอนข้อมูลส่วนบุคคลไปยังต่างประเทศ

บริษัทฯ อาจจะส่งหรือโอนข้อมูลส่วนบุคคล ที่บริษัทฯ เก็บรวบรวม ใช้ และ/หรือเปิดเผย ไปยังต่างประเทศ ที่จำเป็นเพื่อการปฏิบัติตามสัญญาที่เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลเป็นคู่สัญญาหรือเพื่อดำเนินการตามคำขอดังกล่าว หรือเพื่อการดำเนินธุรกิจตามปกติของบริษัทฯ ซึ่งประเทศปลายทางหรือองค์การระหว่างประเทศที่รับข้อมูลส่วนบุคคลต้องมีมาตรฐานการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลที่เพียงพอตามหลักเกณฑ์ที่กฎหมายกำหนด

7. สิทธิของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล

7.1 ขอเข้าถึงและขอรับสำเนาข้อมูลส่วนบุคคลที่เกี่ยวกับผู้ใช้บริการ ซึ่งอยู่ในความรับผิดชอบของบริษัทฯ หรือขอให้เปิดเผยถึงการได้มาซึ่งข้อมูลส่วนบุคคล ดังกล่าวที่ผู้ใช้บริการไม่ได้ให้ความยินยอม

7.2 ร้องขอให้บริษัทฯ แก้ไข เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติมข้อมูลส่วนบุคคลให้เป็นปัจจุบัน

7.3 ขอรับข้อมูลส่วนบุคคลที่เกี่ยวกับผู้ใช้บริการจากบริษัทฯ ได้ ในกรณีที่บริษัทฯ ได้ทำให้ข้อมูลส่วนบุคคลนั้นอยู่ในรูปแบบที่สามารถอ่านหรือใช้งานโดยทั่วไปได้ด้วยเครื่องมือหรืออุปกรณ์ที่ทำงานได้โดยอัตโนมัติ และสามารถใช้หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลได้ด้วยวิธีการอัตโนมัติ

7.4 คัดค้านการเก็บรวบรวม ใช้ และเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลที่เกี่ยวกับผู้ใช้บริการ

7.5 ขอให้บริษัทฯ ระงับการใช้ หรือดำเนินการลบหรือทำลาย หรือทำให้ข้อมูลส่วนบุคคลเป็นข้อมูลที่ไม่สามารถระบุตัวบุคคลที่เป็นผู้ใช้บริการได้ในกรณีที่กฎหมายกำหนด

7.6 ถอนความยินยอมการให้จัดเก็บรวบรวม ใช้ และเปิดเผยเมื่อใดก็ได้ โดยแจ้งเป็นลายลักษณ์อักษรล่วงหน้า ตามวิธีที่บริษัทฯ กำหนดภายใต้บทบัญญัติของกฎหมาย

8. ผลการถอนความยินยอมในข้อมูลส่วนบุคคล

8.1 การถอนความยินยอมของผู้ใช้บริการจะไม่ส่งผลกระทบต่อการเก็บรวบรวม ใช้ และเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลที่ผู้ใช้บริการได้ให้ความยินยอมไปแล้วก่อนหน้านั้น

8.2 กรณีที่ผู้ใช้บริการประสงค์ที่จะถอนความยินยอมกับบริษัทฯ ในการเก็บรวบรวม ใช้ และเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล อาจจะมีผลกระทบต่อการให้ความยินยอมเกี่ยวกับการพิจารณาผลิตภัณฑ์/บริการใดๆ ที่เกี่ยวข้องและส่งผลให้บริษัทฯ ไม่สามารถปฏิบัติตามสัญญาได้ รวมถึงส่งผลกระทบต่อการใช้ผลิตภัณฑ์ และ/หรือบริการต่างๆ ของผู้ใช้บริการตามข้อ 9.1

8.3 หลังจากถอนความยินยอมแล้วบริษัทฯ จะเก็บข้อมูลส่วนบุคคลต่อไปตาม ระเบียบ ข้อบังคับ และคู่มือวิธีปฏิบัติในเรื่องการจัดเก็บ ทำลายเอกสารต่างๆ ของบริษัทฯ และตามที่กฎหมายกำหนด

9. ขั้นตอนการดำเนินการขอใช้สิทธิต่างๆ

สิทธิของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลเป็นสิทธิตามกฎหมายโดยสามารถขอใช้สิทธิต่างๆ ได้ภายใต้ข้อกำหนดของกฎหมาย และนโยบายที่กำหนดไว้ในขณะนี้หรือที่จะมีการแก้ไขเพิ่มเติมในอนาคต ตลอดจนหลักเกณฑ์ตามที่บริษัทฯ กำหนดขึ้น และในกรณีผู้ใช้บริการมีอายุไม่ครบ 20 ปีบริบูรณ์ หรือถูกจำกัดความสามารถในการทำนิติกรรมตามกฎหมาย ผู้ใช้บริการสามารถขอใช้สิทธิโดยให้บิดาและมารดา ผู้ใช้อำนาจปกครอง หรือมีผู้อำนาจกระทำการแทนเป็นผู้แจ้งความประสงค์

9.1 สิทธิขอถอนความยินยอม ในกรณีการเก็บรวบรวม ใช้ และเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลซึ่งกฎหมายกำหนดให้ต้องได้รับความยินยอมจากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล หากผู้ใช้บริการได้ให้ความยินยอมให้บริษัทฯ เก็บรวบรวม ใช้ และ/หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล (ไม่ว่าจะเป็นความยินยอมที่ให้ไว้ก่อนวันที่กฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลใช้บังคับหรือหลังจากนั้น) ผู้ใช้บริการมีสิทธิที่จะถอนความยินยอมเมื่อใดก็ได้ตลอดระยะเวลาที่ข้อมูลส่วนบุคคลอยู่กับบริษัทฯ เว้นแต่มีข้อจำกัดสิทธินั้นโดยกฎหมายหรือมีสัญญาที่ให้ประโยชน์แก่ผู้ใช้บริการอยู่ ทั้งนี้ การถอนความยินยอมอาจส่งผลกระทบต่อการใช้ผลิตภัณฑ์ และ/หรือบริการต่างๆ เช่น ผู้ใช้บริการจะไม่ได้รับสิทธิประโยชน์ โปรโมชั่นหรือข้อเสนอใหม่ๆ ไม่ได้รับผลิตภัณฑ์หรือบริการที่ดียิ่งขึ้นและสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้บริการ หรือไม่ได้รับข้อมูลข่าวสารอันเป็นประโยชน์แก่ผู้ใช้บริการ เป็นต้น เพื่อประโยชน์ จึงควรศึกษาและสอบถามถึงผลกระทบก่อนเพิกถอนความยินยอม

9.2 สิทธิขอเข้าถึงข้อมูล ผู้ใช้บริการมีสิทธิขอเข้าถึงข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้บริการที่อยู่ในความรับผิดชอบของบริษัทฯ และขอให้บริษัทฯ ทำสำเนาข้อมูลดังกล่าวให้แก่ผู้ใช้บริการ รวมถึงขอให้บริษัทฯ เปิดเผยการได้มาซึ่งข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้บริการ

9.3 สิทธิขอถ่ายโอนข้อมูล ผู้ใช้บริการมีสิทธิขอรับข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้บริการในกรณีที่บริษัทฯ ได้จัดทำข้อมูลส่วนบุคคลนั้นอยู่ในรูปแบบให้สามารถอ่านหรือใช้งานได้ด้วยเครื่องมือหรืออุปกรณ์ที่ทำงานได้โดยอัตโนมัติ และสามารถใช้หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลได้ด้วยวิธีการอัตโนมัติ รวมทั้งมีสิทธิขอให้บริษัทฯ ส่งหรือโอนข้อมูลส่วนบุคคลในรูปแบบดังกล่าวไปยังผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลอื่นเมื่อสามารถทำได้ด้วยวิธีการอัตโนมัติ และมีสิทธิขอรับข้อมูลส่วนบุคคลที่บริษัทฯ ส่งหรือโอนข้อมูลส่วนบุคคลในรูปแบบดังกล่าวไปยัง ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลอื่นโดยตรงเว้นแต่ไม่สามารถดำเนินการได้เพราะเหตุทางเทคนิค ทั้งนี้ ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้บริการข้างต้นต้องเป็นข้อมูลส่วนบุคคลที่ผู้ใช้บริการได้ให้ความยินยอมแก่บริษัทฯ ในการเก็บรวบรวม ใช้ และ/หรือเปิดเผย หรือเป็นข้อมูลส่วนบุคคลที่บริษัทฯ จำเป็นต้องเก็บรวบรวม ใช้ และ/หรือเปิดเผยเพื่อให้ผู้ใช้บริการสามารถใช้ผลิตภัณฑ์และ/หรือบริการของบริษัทฯ ได้ตามความประสงค์ซึ่งผู้ใช้บริการเป็นคู่สัญญาอยู่กับบริษัทฯ หรือเพื่อใช้ในการดำเนินการตามคำขอของผู้ใช้บริการก่อนใช้ผลิตภัณฑ์และ/หรือบริการขอบริษัทฯ หรือเป็นข้อมูลส่วนบุคคลอื่นตามที่ผู้มีอำนาจตามกฎหมายกำหนด

9.4 สิทธิขอคัดค้าน ผู้ใช้บริการมีสิทธิขอคัดค้านการเก็บรวบรวม ใช้ และ/หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้บริการในเวลาใดก็ได้ หากการเก็บรวบรวม ใช้ และ/หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้บริการที่ทำขึ้นเพื่อการดำเนินงานที่จำเป็นภายใต้ประโยชน์โดยชอบด้วยกฎหมายของบริษัทฯ หรือของบุคคลหรือหน่วยงานนี้สมเหตุสมผลภายใต้กรอบของกฎหมาย หรือเพื่อดำเนินการตามภารกิจเพื่อสาธารณประโยชน์ หากผู้ใช้บริการยื่นคัดค้าน บริษัทฯ จะยังคงดำเนินการเก็บรวบรวม ใช้ และ/หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้บริการต่อไปเฉพาะที่บริษัทฯ สามารถแสดงเหตุผลตามกฎหมายได้ว่ามีความสำคัญยิ่งกว่าสิทธิขั้นพื้นฐานของผู้ใช้บริการหรือเป็นไปเพื่อการยืนยันสิทธิตามกฎหมาย การปฏิบัติตามกฎหมาย หรือการต่อสู้ในการฟ้องร้องตามกฎหมาย ตามแต่ละกรณี

นอกจากนี้ ผู้ใช้บริการยังมีสิทธิขอคัดค้านการเก็บรวบรวม ใช้ และ/หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้บริการที่ทำขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์เกี่ยวกับการตลาดหรือเพื่อวัตถุประสงค์เกี่ยวกับการศึกษาวิจัยทาวิทยาศาสตร์ ประวัติศาสตร์ หรือสถิติได้อีกด้วย

9.5 สิทธิขอให้ลบหรือทำลายข้อมูล ผู้ใช้บริการมีสิทธิขอลบหรือทำลายข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้บริการ หรือทำให้ข้อมูลส่วนบุคคลเป็นข้อมูลที่ไม่สามารถระบุตัวผู้ใช้บริการได้ หากผู้ใช้บริการเชื่อว่าข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้บริการถูกเก็บรวบรวม ใช้ และ/หรือเปิดเผยโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายที่เกี่ยวข้อง หรือเห็นว่าบริษัทฯ หมดความจำเป็นในการเก็บรักษาไว้ตามวัตถุประสงค์ที่เกี่ยวข้องในนโยบายฉบับนี้ หรือเมื่อผู้ใช้บริการได้ใช้สิทธิขอถอนความยินยอมหรือใช้สิทธิขอคัดค้านตามที่แจ้งไว้ข้างต้นแล้ว ​

9.6 สิทธิขอให้ระงับการใช้ข้อมูล ผู้ใช้บริการมีสิทธิขอให้ระงับการใช้ข้อมูลส่วนบุคคลชั่วคราวในกรณีที่บริษัทฯ อยู่ระหว่างตรวจสอบตามคำร้องขอใช้สิทธิขอแก้ไขข้อมูลส่วนบุคคลหรือขอคัดค้านของผู้ใช้บริการ หรือกรณีอื่นใดที่บริษัทฯ หมดความจำเป็นและต้องลบหรือทำลายข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้บริการตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องแต่ผู้ใช้บริการขอให้บริษัทฯ ระงับการใช้แทน

9.7 สิทธิขอให้แก้ไขข้อมูล ผู้ใช้บริการมีสิทธิขอแก้ไขข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้บริการให้ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน สมบูรณ์ และไม่ก่อให้เกิดความเข้าใจผิด

9.8 สิทธิร้องเรียน ผู้ใช้บริการมีสิทธิร้องเรียนต่อผู้มีอำนาจตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง หากผู้ใช้บริการเชื่อว่าการเก็บรวบรวม ใช้ และ/หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้บริการเป็นการกระทำในลักษณะที่ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

9.9 การใช้สิทธิของผู้ใช้บริการดังกล่าวข้างต้นอาจถูกจำกัดภายใต้กฎหมายที่เกี่ยวข้อง และมีบางกรณีที่มีเหตุจำเป็นที่บริษัทฯ อาจปฏิเสธหรือไม่สามารถดำเนินการตามคำขอใช้สิทธิข้างต้นของผู้ใช้บริการได้ เช่น ต้องปฏิบัติตามกฎหมายหรือคำสั่งศาล เพื่อประโยชน์สาธารณะ การใช้สิทธิอาจละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพของบุคคลอื่น เป็นต้น หากบริษัทฯ ปฏิเสธคำขอข้างต้น บริษัทฯ จะแจ้งเหตุผลของการปฏิเสธให้ผู้ใช้บริการทราบด้วย

ทั้งนี้ ผู้ใช้บริการสามารถดำเนินการขอใช้สิทธิต่างๆ ได้ผ่านช่องทางดังต่อไปนี้

สิทธิช่องทางการขอใช้สิทธิระยะเวลาดำเนินการ*
Email
สิทธิขอถอนความยินยอม 7 วัน
สิทธิขอเข้าถึงข้อมูล 30 วัน
สิทธิขอถ่ายโอนข้อมูล 30 วัน
สิทธิขอคัดค้าน 30 วัน
สิทธิขอให้ลบหรือทำลายข้อมูล 30 วัน
สิทธิขอให้ระงับการใช้ข้อมูล 30 วัน
สิทธิขอให้แก้ไขข้อมูล 3 วัน

* นับแต่วันที่ผู้ใช้บริการได้ยื่นคำขอและเอกสารประกอบครบถ้วน

บริษัทฯ อาจขยายระยะเวลาดำเนินการตามสิทธิของผู้ใช้บริการข้างต้นออกไปอีก 60 วัน นับแต่สิ้นสุดระยะเวลาดำเนินการตามที่ระบุไว้ หากบริษัทฯ พิจารณาว่ามีเหตุจำเป็นตามสมควรที่บริษัทฯ ไม่สามารถดำเนินการตามสิทธิของผู้ใช้บริการได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด นอกจากนี้ ในกรณีที่ผู้ใช้บริการมีการขอรับสำเนาเพิ่มเติมมากจนเกินความจำเป็น บริษัทฯ อาจพิจารณาเรียกเก็บค่าธรรมเนียมในการจัดการได้ตามสมควรแก่กรณี

ผู้ใช้บริการสามารถใช้สิทธิของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล โดย ผ่านช่องทาง https://www.advice.co.th/policy/privacy หรือ Email. [email protected]

10. ความมั่นคงปลอดภัยในการเก็บรักษาข้อมูลส่วนบุคคล

บริษัทฯ ได้จัดทำและ/หรือเลือกใช้ระบบการจัดเก็บข้อมูลส่วนบุคคลให้มีกลไกและเทคนิคที่เหมาะสม และมีมาตรการรักษาความมั่นคงปลอดภัยตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งจำกัดการเข้าถึงข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้บริการจากพนักงาน ลูกจ้าง และตัวแทนของบริษัทฯ เพื่อป้องกันไม่ให้ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้บริการถูกนำไปใช้ เปิดเผย ทำลาย หรือเข้าถึงโดยไม่ได้รับอนุญาต

11. ความรับผิดชอบของบุคคลซึ่งทำหน้าที่ควบคุมข้อมูล

บริษัทฯ กำหนดให้เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ปฏิบัติตามนโยบายและปฏิบัติในการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของบริษัทฯ ที่ประกาศใช้อย่างเคร่งครัด

12. บันทึกผู้เข้าชมเว็บไซต์ (Log Files)

เว็บไซต์ของ บริษัทฯ มีการเก็บบันทึกการเข้าออกโดยอัตโนมัติที่สามารถเชื่อมโยงข้อมูลดังกล่าวกับข้อมูลที่ระบุตัวบุคคลได้ เช่น หมายเลขไอพี (IP Address) เว็บไซต์ที่เข้าออกก่อนและหลัง และประเภทของโปรแกรมบราวเซอร์ (Browser) เป็นต้น ทั้งนี้เป็นไปตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550

13. ช่องทางการติดต่อ

กรณีผู้ใช้บริการต้องการติดต่อ มีข้อสงสัย หรือต้องการสอบถายรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล การใช้สิทธิของผู้ใช้บริการ สามารถติดต่อบริษัทฯ หรือเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของบริษัทฯ ได้ดังช่องทางต่อไปนี้

(1) ผู้ใช้บริการสามารถติดต่อบริษัทฯ ได้ ดังนี้

ติดต่อบริษัทฯ : ผ่านช่องทางเว็บไซต์ www.advice.co.th

(2) ผู้ใช้บริการสามารถติดต่อเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (Data Protection Officer) ดังนี้

เจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล: Email. [email protected]

Battery Notebook ใช้ได้ กี่ชั่วโมง

หลายท่านเวลาที่ต้องการนำโน๊ตบุ๊ค ไปใช้ต่างสถานที่ และอยากให้แบตเตอรี่อยู่ได้นานๆ เช่น ไปนั่งพิมพ์งานที่ร้านกาแฟ หรือ แม้กระทั่งเวลาไปเรียน ซึ่งแบตเตอรี่จะต้องสามารถอยู่ได้ 3 ชั่วโมงเป็นอย่างต่ำ โดยการตั้งค่านั้นจะเน้นไปทาง Maximize Battery Life, Low Power, Power Saving.

ทำไมโน๊ตบุ๊คแบตหมดเร็ว

ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้แบตเตอรี่ โน๊ตบุ๊ค แบตหมดเร็ว เสื่อมไว การที่ใช้งานแบตเตอรี่ให้หมดเกลี้ยงจนถึง 0% แล้วปล่อยให้เครื่องดับบ่อยๆ เพราะการชาร์จจาก 0% นั้น จะต้องใช้แรงดันไฟมากกว่าปกติ ทำให้แบตเตอรี่ร้อน และเสื่อมได้ไวกว่าปกติครับ ทางที่ดีควรเหลือแบตเตอรี่ไว้อย่างน้อย 20% ขึ้นไปครับ

ชาร์จแบตโน๊ตบุ๊ค ครั้งแรก กี่ชั่วโมง

เมื่อได้แบเตอร์รี่มาใหม่ (กรณีซื้อ Notebook มาใหม่ๆ) 1. ควรชาร์โดยการปิดเครื่อง Notebook ไว้ประมาณ 8-10 ชั่วโมง ทำให้ได้แบบนี้ประมาณ 3 ครั้ง โดยไม่จำเป็นต้อง 3 ครั้งติดต่อกัน 2. อย่าใช้แบตเตอรี่จนหมด หรือเหลือเปอร์เซ็นต์น้อยมากๆ ต่ำสุดควรอยู่ที่ 15%-20% การใช้แบตเตอรี่ที่ถูกต้อง

เปลี่ยนแบตโน๊ตบุ๊ค Asus กี่บาท

ลิสต์ราคา แบตเตอรี่โน๊ตบุ๊ค ASUS ยอดนิยมปี 2022.