การสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตมีกี่รูปแบบอะไรบ้าง

      การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต

   + ความหมายของอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตมีกี่รูปแบบอะไรบ้าง

            อินเทอร์เน็ต ( Internet ) คือ เครือข่ายของคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยงเครือข่าย  คอมพิวเตอร์ทั่วโลกเข้าด้วยกัน โดยอาศัยเครือข่ายโทรคมนาคมเป็นตัวเชื่อมเครือข่าย ภายใต้มาตรฐานการเชื่อมโยงด้วยโปรโตคอลเดียวกันคือ TCP/IP (Transmission Control Protocol / Internet Protocol) 

การสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตมีกี่รูปแบบอะไรบ้าง
เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในอินเทอร์เน็ตสามารถสื่อสารระหว่างกันได้ นับว่าเป็นเครือข่ายที่กว้างขวางที่สุดในปัจจุบัน เนื่องจากมีผู้นิยมใช้ โปรโตคอลอินเทอร์เน็ตจากทั่วโลกมากที่สุด

This slideshow requires JavaScript.

             +ประวัติความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต
การสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตมีกี่รูปแบบอะไรบ้าง

ในยุคแห่งสังคมข่าวสารเช่นปัจจุบัน การสื่อสารผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ยิ่งทวีความสำคัญมาก ขึ้นเป็นลำดับเครือข่าคอมพิวตอร์ให้แลกเปลี่ยนข่าวสารระหว่างกันได้โดยง่าย ในปัจจุบันมี เครือข่ายคอมพิวเตอร์เชื่อมโยงไปทั่วโลก ผู้ใช้ในซีกโลกหนึ่งสามารถติดต่อกับผู้ใช้ในซีกโลกหนึ่ง ได้อย่างรวดเร็วเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่รู้จักกันในชื่อของ”อินเทอร์เน็ต”(Internet) จัดว่าเป็น เครือข่ายที่มีบทบาทสำคัญที่สุดในยุคของสังคมข่าวสารปัจจุบัน อินเทอร์เน็ตมีขอบข่ายครอบ คลุมพื้นที่แทบทุกมุมโลกสมาชิกในอินเทอร์เน็ตสามารถใช้คอมพิวเตอร์ที่ตั้งอยู่ที่จุดใด ๆ เพื่อส่งข่าวสารและข้อมูลระหว่างกันได้บริการข้อมูลในอินเทอร์เน็ตมีหลากรูปแบบและมีผู้นิยมใช้ ้เพิ่มมากขึ้นทุกวัน

การสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตมีกี่รูปแบบอะไรบ้าง
จากการคาดการณ์โดยประมาณแล้วปัจจุบันมีเครือข่ายทั่วโลกที่เชื่อมเข้าเป็น อินเทอร์เน็ตราว 45,000เครือข่าย จำนวนคอมพิวเตอร์ในทุกเครือข่ายรวมกันคาดว่ามีประมาณ 4 ล้านเครื่อง หรือหากประมาณจำนวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทั่วโลกคาดว่ามีประมาณ 25 ล้านคน และ มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น เราจึงกล่าวได้ว่า อินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายมหึมาที่ครอบคลุมพื้นที่กว้างขวาง ที่สุด มีการขยายตัวสูงที่สุด และมีสมาชิกมากที่สุดเมื่อเทียบกับเครือข่ายอื่นที่ปรากฏอยู่ในปัจจุบัน พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ตมิได้เป็นเครือข่ายที่เกิดขึ้นโดยเฉพาะเจาะจงหากแต่มี ประวัติความเป็นมาและมีการ พัฒนามาอย่างต่อเนื่องนับตั้งแต่การเกิดของเครือข่ายอาร์พาเน็ต ในปี พ.ศ.2512ก่อนที่จะก่อตัวเป็น อินเทอร์เน็ตจนกระทั่งถึงทุกวันนี้อินเทอร์เน็ตมีพัฒนาการมา จากอาร์พาเน็ต (ARPAnet ) ซึ่งเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ภายใต้ การรับผิดชอบของ อาร์พา ( Advanced Research Projects Agency ) ในสังกัดกระทรวงกลาโห ของสหรัฐอเมริกาอาร์พาเน็ต ในขั้นต้นเป็นเพียงเครือข่ายทดลองที่ตั้งขึ้นเพื่อเป็นการสนับสนุนงานวิจัยด้านการทหารและ โดยเนื้อแท้แล้วอาร์พาเน็ตเป็นผลพวงมาจากการเมืองโลกในยุคสงครามเย็นระหว่างค่าย คอมมิวนิสต์และค่ายเสรีประชาธิปไตย ยุคสงครามเย็น ในทศวรรษของปีพ.ศ.2510นับเป็นเวลาแห่งความตึงเครียดเนื่องจากภาวะ สงครามเย็นระหว่างประเทศในค่ายคอมมิวนิสต์และค่ายเสรีประชาธิปไตย สหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นประเทศผู้นำ กลุ่มเสรีประชาธิปไตยได้ก่อตั้งห้องปฏิบัติการทดลองเพื่อค้นคว้าและพัฒนาเทคโนโลยีอย่างเร่งด่วน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเทคโนโลยีด้านระบบคอมพิวเตอร์ช่วงท้ายของทศวรรษ2510 ห้องปฏิบัติการวิจัย ในสหรัฐ ฯ และในมหาวิทยาลัยใหญ่ ๆล้วนแล้วแต่มีคอมพิวเตอร์ที่ทันสมัยในยุคนั้นติดตั้งอยู่

คอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่จะแยกกันทำงานโดยอิสระมีเพียงบางระบบที่ตั้งอยู่ใกล้กันเท่านั้นที่สื่อสารกันทางอิเล็กทรอนิกส์แต่ก็ด้วยความเร็วต่ำ ห้องปฏิบัติการหลายแห่งได้พัฒนาระบบสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ให้มีประสิทธิภาพ ยิ่งขึ้น หากแต่ยังไม่สามารถนำมาเปรียบเทียบได้กับเทคโนโลยีการสื่อสารที่มีใช้อยู่ในปัจจุบัน ปัญหาและ อุปสรรคสำคัญ คือคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมเข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายจะต้องอยู่ในสภาพทำงานทุกเครื่องหากเครื่องใดเครื่องหนึ่งหยุดทำงานลง การสื่อสารจะไม่สามารถดำเนินต่อไปได้จนกว่าจะตัดเครื่องออกไปจาก เครือข่ายข้อจำกัดนี้ทำให้ระบบเครือข่ายไม่อยู่ในสภาพที่เชื่อถือได้และลำบากต่อการควบคุมดูแล โครงการอาร์พาเน็ตอาร์พาเป็นหน่วยงานย่อยของกระทรวงกลาโหมของสหรัฐ ฯ ทำหน้าที่สนับสนุนงานวิจัยพื้นฐานทั้งด้านเทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ อาร์พาไม่ได้ทำหน้าที่วิจัยโดยตรงอีกทั้งยังไม่มีห้องทดลอง เป็นของตนเอง หากแต่กำหนดหัวข้องานวิจัยและให้ทุนแก่หน่วยงานอื่น ซึ่งส่วนใหญ่เป็นมหาวิทยาลัย และบริษัทเอกชนที่ทำงานวิจัยและพัฒนา อาร์พาได้จัดสรรทุนวิจัยเพื่อทดลองสร้างเครือข่ายให้คอมพิวเตอร์สามารถแลก เปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้ในชื่อโครงการ”อาร์พาเน็ต” ( ARPAnet ) โดยเริ่มต้นงานวิจัยในเดือนมกราคม พ.ศ. 2512 รูปแบบเครือข่ายอาร์พาเน็ตไม่ได้ต่อเชื่อมโฮสต์ ( Host ) คอมพิวเตอร์เข้าถึงกันโดย ตรง หากแต่ใช้คอมพิวเตอร์ เรียกว่าIMP ( Interface Message Processors ) ต่อเชื่อมถึงกันทางสาย โทรศัพท์เพื่อทำหน้าที่ด้านสื่อสารโดยเฉพาะ ซึ่งแต่ละIMP สามารถเชื่อมได้หลายโฮสต์

การสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตมีกี่รูปแบบอะไรบ้าง

           +พื้นฐานการทำงานของระบบอินเทอร์เน็ต

การสื่อสารทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์นั้นเป็นการรับ-ส่งข้อมูลหรือที่เรียกว่า การสื่อสารข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยกัน ซึ่งเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อและต้องการสื่อสารข้อมูลกับเครื่องคอมพิวเตอร์อื่นๆในเครือข่าย อาจจะมีฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ที่แตกต่างกัน ดังนั้น เพื่อให้สามารถสื่อสารข้อมูลถึงกันและแปลความหมายได้ตรงกัน จึงต้องมีการกำหนดระเบียบวิธีการติดต่อให้ตรงกันซึ่งเรียกว่า โพรโทคอล (Protocol)

การสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตมีกี่รูปแบบอะไรบ้าง

โพรโทคอล คือ ระเบียบวิธีที่กำหนดขึ้นสำหรับการสื่อสารข้อมูล โดยสามารถส่งข้อมูลผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไปยังปลายทางได้อย่างถูกต้อง โดยโพรโทคอลนั้น มีหลายชนิด เช่น โพรโทคอล IPX/SPX โพรโทคอล NetBEUI และโพรโทคอล Apple Talk ซึ่งออกแบบมาเพื่อใช้งานต่างกัน ดังนั้น การสื่อสารระบบอินเทอร์เน็ตซึ่งเป็นการสื่อสารทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์จึงต้องใช้ข้อตกลงโพรโทคอลเช่นเดียวกันซึ่งโพรโทคอลที่นิยมใช้ในการสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตในปัจจุบัน เป็นโพรโทคอลทีซีไอพี      (TCP/IP : Transmission Control Protocol/Internet Protocol)เป็นหลัก

   จุดเด่นของโพรโทคอล ทีซีพีไอพี (TCP/IP) คือเมื่อการเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์หรืออุปการณ์ใดๆ เข้าสู่ระบบเครือข่ายที่เป็นทีซีพีไอพี (TCP/IP) นั้น คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องหรืออุปกรณ์ที่ติดต่อสื่อสารร่วมกันจะต้องมีหมายเลขที่ใช้ในระบบเครือข่ายกำกับเสมอ เพื่อระบุแหล่งที่มาของข้อมูลต้นทางและนำข้อมูลไปยังเครือข่ายเครื่องปลายทางที่ถูกต้อง ดังนั้น เครื่องคอมพิวเตอร์ที่สื่อสารจะต้องมีการระบุหมายเลขขอเครื่องต่างๆที่ไม่ซ้ำกันไม่เช่นนั้นข้อมูลก็อาจจะไม่ถึงที่หมายปลายทางได้ หมายเลขของเครื่องหรืออุปกรณ์นี้เรียกว่า ไอพี (IP) โดยหมายเลขกำกับที่เป็นหมายไอพี จะเป็นเลขฐาน 2 ขนาด 32 บิต เลขแต่ละชุดจะถูกคั่นด้วยจุด ดังนั้น เลขแต่ละชุดจึงสามารถมีค่าตั้งแต่ 0-255

การสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตมีกี่รูปแบบอะไรบ้าง

จากหมายเลขไอพี ขนาด 32 บิต ที่ใช้ในปัจจุบัน เป็นไอพีเวอร์ชัน 4 สามารถใช้อุปกรณ์ในการเชื่อมต่อสื่อสารในระบบอินเทอร์เน็ตได้มากถึงสี่พันล้านเครื่องโดยประมาณซึ่งเป็นจำนวนที่มากหมายมหาศาลจากในอดีต แต่ปัจจุบันความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีมากขึ้น จึงทำให้หมายเลขไอพีที่ใช้ในปัจจุบันเริ่มไม่เพียงพอเนื่องจากการขยายตัวของระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่มีจำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์และอุกรณ์เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว จึงได้มีการพัฒนาเป็นไอพีเวอร์ชัน 6 ซึ่งกำหนดโดยมาตรฐานไอพีเวอร์ชัน 4 และมาตรฐานไอพีเวอร์ชัน 6 นี้จะใช้ระบบ 128 บิต ในการระบุหมายเลขไอพี

            +ระบบชื่อโดเมน (Domain Name System)
การสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตมีกี่รูปแบบอะไรบ้าง

Domain Name คือชื่อที่ใช้ในการอ้างอิงเพื่อไปยัง Website ต่างๆ ที่อยู่บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตชื่อที่ใช้ต้องเป็นชื่อที่ไม่มีใครในโลกใช้เพราะถ้ามีคนใช้ชื่อใดแล้วเราจะไปจดชื่อซ้ำไม่ได้ ชื่อ Domain Name จะเป็นตัวอักษรพิมพ์ใหญ่หรือพิมพ์เล็ก ไม่แตกต่างกันเพราะ ระบบอินเตอร์เน็ตจะรับรู้ตัวอักษรเป็นตัวเล็กทั้งหมด เช่นITTradefair.com และ ittradefair.com ถือว่าเป็นชื่อเดียวกัน

การสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตมีกี่รูปแบบอะไรบ้าง

Domain Name ทำงานอย่างไร

ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ต จะใช้กลุ่มตัวเลข 4 กลุ่มที่คั่นด้วยจุด (ตัวเลขในแต่ละกลุ่มจะมีค่าได้ตั้งแต่ 0-255) เช่น 203.33.192.255 หรือที่รู้จักกันในชื่อของ IP Address ในการระบุตำแหน่งของ Website ต่างๆ เพื่อให้รู้ว่าอยู่บนเครื่องใดและอยู่ในเครือข่ายใด แต่เนื่องจาก IP Address อยู่ในรูปของตัวเลขซึ่งยากแก่การจดจำดังนั้นจึงเป็นการสะดวกกว่าที่จะใช้ชื่อหรือกลุ่มของตัวอักษร ซึ่งก็คือ Domain Name ในการอ้างอิงแทน โดยจะอาศัย DNS Server มาช่วยจับคู่ IP Address และ Domain name เข้าด้วยกัน ดังนั้นเมื่อมีผู้ต้องการที่จะเรียกดู Website ของท่าน ไม่ว่าจะทราบ IP Address หรือ Domain name เพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง ก็จะสามารถเข้าถึงได้โดยไม่ผิดพลาด

 การเตรียมการเพื่อจดชื่อโดเมน 

        ชื่อโดเมนที่ต้องการจดทะเบียน ผู้ให้บริการจดโดเมน ที่ต้องการไปจะจดกี่ปี ค่าบริการเท่าไรเจ้าของชื่อโดเมน (Registrant) ชื่อ พร้อมที่อยู่ หมายเลขโทรศัพท์ ถ้าหากเป็นองค์กร ให้ใส่ชื่อองค์กรผู้ดูแลชื่อโดเมน (Administrative Contact) ชื่อ พร้อมที่อยู่ หมายเลขโทรศัพท์ผู้ติดต่อทางเทคนิคโดเมน (Technical Contact) ชื่อ พร้อมที่อยู่ หมายเลขโทรศัพท์ผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการจดโดเมน (Billing Contact) ชื่อ พร้อมที่อยู่ หมายเลขโทรศัพท์

ชื่อและเลขที่อยู่ไอพี

คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่ต่ออยู่บนอินเทอร์เน็ตจะมีเลขที่อยู่ไอพี (IP-Address) และแต่ละเครื่องทั่วโลกจะต้องมีเลขที่อยู่ไอพีไม่ซ้ำกัน เลขที่อยู่ไอพีนี้จะได้รับการกำหนดเป็นกฎเกณฑ์ให้ แต่ละองค์กรนำไปปฏิบัติ เพื่อให้ระบบการเรียกชื่อง่ายขึ้นและการบริหารเครือข่ายทำได้ดี จึงมีการกำหนดชื่อแทนเลขที่อยู่ไอพี เรียกว่า ชื่อโดเมน โดยจะมีการตั้งชื่อสำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องที่อยู่บนเครือข่าย เช่นphiboon.org ซึ่งใช้แทนเลขที่อยู่ไอพี 202.142.221.5  การกำหนดให้มีการใช้ระบบชื่อโดเมนมีการกำหนดรูปแบบเป็นลำดับชั้น เช่น

Domain Name  .com หรือ .net และ .net.th แตกต่างกันอย่างไร

การสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตมีกี่รูปแบบอะไรบ้าง
    ระบบของ Domain Name จะมีการจัดแบ่งออกเป็นหลาย Level โดยเริ่มตั้งแต่ Top Level ซึ่งประกอบด้วย

Generic Domain (gTLD) 

ซึ่งได้แก่ Domain Name ที่ลงท้ายด้วย .com (Commercial),.net (Networking),

การสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตมีกี่รูปแบบอะไรบ้าง

           +บริการในระบบอินเตอร์เน็ต

           บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตมีแหล่งที่ให้บริการข้อมูล ข่าวสาร บทความรายงาน ผลงานวิจัยและความบันเทิงด้านต่างๆรูปแบบการให้บริการบนอินเตอร์เน็ต มีดังนี้

                1.ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail : E-Mail)

                    เป็นการรับ – ส่งจดหมายถึงกันผ่านเครือข่าย อินเตอร์เน็ต การส่งเอกสารข้อความมีลักษณะเหมือนการส่งจดหมาย แต่ระบบคอมพิวเตอร์ทำงานให้เองโดยอัตโนมัติทำให้เกิดความสะดวก รวดเร็ว สามารถติดต่อกันได้อย่างทั่วถึงทุกภูมิภาคที่ใช้เครือข่ายอินเตอร์เน็ต ผู้ใช้จดหมาย
การสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตมีกี่รูปแบบอะไรบ้าง
อิเล็กทรอนิกส์จะต้องมีที่อยู่ (E-mail address)เช่น ,  , ,

                2.การถ่ายโอนข้อมูล (File Transfer Protocol : FTP)

                   เป็นบริการถ่ายโอนแฟ้มข้อมูล ข่าวสาร บทความ รวมถึงแฟ้มข้อมูลจากเครื่อง
การสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตมีกี่รูปแบบอะไรบ้าง
คอมพิวเตอร์หนึ่งสู่คอมพิวเตอร์อีกเครื่องหนึ่งในกรณีที่โอนย้ายข้อมูลจากคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นบนอินเตอร์เน็ต มาลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ของเราเรียกว่า ดาวน์โหลด  (download) ส่วนกระบวนการนำข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องหนึ่ง ไปไว้ยังเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นบนอินเตอร์เน็ตเรียกว่า อัพโหลด (upload)

                3. การเรียกใช้งานบนเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น (telnet)

                    ผู้ใช้งานสามารถเข้าถึงเครื่องคอมพิวเตอร์ระบบอื่นๆในที่ห่างไกล ช่วยให้ผู้ใช้ ไม่ต้องเดินทางไปที่เครื่องนั้นๆ 

                4.โกเฟอร์ (gopher)

                    บริการค้นหาไฟล์และฐานข้อมูลเป็นบริการที่คล้ายกับ FTP แต่การจัดเก็บสารบบรายการแฟ้มข้อมูล และไอคอนของโกเฟอร์
จะมีความเป็นระเบียบและแสดงรายละเอียดได้ดีกว่า FTP ซึ่งเสมือนกับตู้บัตรคำในห้องสมุดที่สามารถค้นหาข้อมูล โดยการระบุชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง ชื่อที่เกี่ยวข้อง

                5.การสนทนา (chat) และข่าวสาร (Usenet)

                   เป็นการจัดเก็บข่าวสารที่ส่งไปไว้ในคอมพิวเตอร์ที่เป็นศูนย์กลาง โดยที่ทุกคนสามารถ
การสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตมีกี่รูปแบบอะไรบ้าง
เข้าไปอ่านข่าวสาร มีการจัดกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนทัศนะและแสดง ความคิดเห็นในหัวข้อต่างๆผ่านทางอินเตอร์เน็ต

                6.เวิร์ลไวด์เว็บ  (World  Wide  Web : WWW)

                   เป็นเครือข่ายที่เชื่อมโยงแหล่งข้อมูลข่าวสารเข้าหากันและครอบคลุมทั่วโลก ลักษณะของข้อมูล ที่สืบค้นได้จะเป็นเอกสารไฮเปอร์เท็กซ์ที่สร้างด้วยภาษา HTML (Hypertext Markup Language)ซึ่งประกอบด้วย ข้อความ ภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว บริการนี้ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน เนื่องจากสร้างและแก้ไขง่าย ผู้คนหรือหน่วยงานต่างๆ จึงนิยมนำเสนอข้อมูลหรือขายสินค้าด้วยบริการนี้  การเข้าถึงข้อมูลแต่ละแห่งเปรียบเสมือนการเยี่ยมบ้านของแต่ละคนเราจึงมักได้ยินคำว่า โฮมเพจ (Homepage) หรือบ้านของแหล่งข้อมูลแต่ละแห่งและสามารถเชื่อมโยงไปยังหน้าเว็บเพจ (Webpage) อื่นๆได้อีก

           +การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต

การสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตมีกี่รูปแบบอะไรบ้าง

   การเชื่อมโยงโดยตรงด้วยเกตเวย์เป็นการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เข้ากับ Backbone ของอินเตอร์เน็ต โดยผ่านเกตเวย์ (Gateway) หรือ IP Router   สายสื่อสารความเร็วสูงมาก มักใช้กับองค์กรขนาดใหญ่ เนื่องจากมีค่าใช้จ่ายสูงมาก การเชื่อมโยงต่อผ่านInternet Service Providers(ISP)เป็นการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ เข้าสู่อินเตอร์เน็ตโดยผ่านบริษัทผู้ให้บริการจัดสรรการเชื่อมโยง

รูปแบบการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต 

การสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตมีกี่รูปแบบอะไรบ้าง

การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแบบใช้สาย (Wire Internet)

  1. การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตรายบุคคล (Individual Connection) การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตรายบุคคล คือ การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตจากที่บ้าน (Home user) ซึ่งยังต้องอาศัยคู่สายโทรศัพท์ในการเข้าสู่เครือข่ายอินเตอร์เน็ต ผู้ใช้ต้องสมัครเป็นสมาชิกกับผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ตก่อน จากนั้นจะได้เบอร์โทรศัพท์ของผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต รหัสผู้ใช้ (User name) และรหัสผ่าน(Password) ผู้ใช้จะเข้าสู่ระบบอินเตอร์เน็ตได้โดยใช้โมเด็มที่เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้หมุนไปยังหมายเลขโทรศัพท์ของผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต จากนั้นจึงสามารถใช้ งานอินเตอร์เน็ตได้

องค์ประกอบของการใช้อินเตอร์เน็ตรายบุคคล

  1. โทรศัพท์
  2. เครื่องคอมพิวเตอร์
  3. ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต ซึ่งจะให้เบอร์โทรศัพท์ รหัสผู้ใช้และรหัสผ่าน
  4. โมเด็ม (Modem)
  1. การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตแบบองค์กร (Corporate Connection) การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต                   แบบองค์กรนี้จะพบได้ทั่วไปตามหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน หน่วยงานต่างๆ เหล่านี้จะมีเครือข่ายท้องถิ่น (Local Area Network : LAN) เป็นของตัวเอง ซึ่งเครือข่าย LAN นี้เชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตตลอดเวลา ผ่านสายเช่า (Leased line) ดังนั้น บุคลากรในหน่วยงานจึงสามารถใช้อินเตอร์เน็ตได้ตลอดเวลา การใช้อินเตอร์เน็ตผ่านระบบ LAN ไม่มีการสร้างการเชื่อมต่อ(Connection) เหมือนผู้ใช้รายบุคคลที่ยังต้องอาศัยคู่สายโทรศัพท์ในการเข้าสู่เครือข่ายอินเตอร์เน็ต

     การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตแบบไร้สาย (Wireless Internet)

  1. การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตแบบไร้สายผ่านเครื่องโทรศัพท์บ้านเคลื่อนที่ PCT เป็นการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตผ่านคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก (Note book) และคอมพิวเตอร์แบบพกพา (Pocket PC) ผู้ใช้จะต้องมี โมเด็มชนิด PCMCIA ของ PCT ผู้ใช้สามารถใช้อินเทอร์เน็ตไร้ได้ ในเขตกรุงเทพ และปริมณฑลได้
  1. การใช้งานอินเตอร์เน็ตผ่านโทรศัพท์มือถือโดยตรง (Mobile Internet)
  2. WAP (Wireless Application Protocol) เป็นโปรโตคอลมาตรฐานของอุปกรณ์ไร้สายที่ใช้งานบนอินเตอร์เน็ต ใช้ภาษาWML (Wireless Markup Language) ในการพัฒนาขึ้นมา แทนการใช้ภาษา HTML (Hypertext markup Language) ที่พบใน www โทรศัพท์มือถือปัจจุบัน หลายๆยี่ห้อ จะสนับสนุนการใช้ WAP เพื่อท่องอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีความเร็วในการรับส่งข้อมูลที่ 9.6 kbps และการใช้ WAP ท่องอินเตอร์เน็ตนั้น จะมีการคิดอัตราค่าบริการเป็นนาทีซึ่งยังมีราคาแพง
  3. GPRS (General Packet Radio Service)    เป็นเทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นเพื่อให้โทรศัพท์มือถือสามารถเชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ตด้วยความเร็วสูง และสามารถส่งข้อมูลได้ในรูปแบบของมัลติมีเดีย ซึ่งประกอบด้วย ข้อความ ภาพกราฟิก เสียง และวีดิโอ ความเร็วในการรับส่งข้อมูลด้วยโทรศัพท์ที่สนับสนุน GPRS อยู่ที่ 40 kbps ซึ่งใกล้เคียงกับโมเด็มมาตรฐานซึ่งมีความเร็ว 56 kbps อัตราค่าใช้บริการคิดตามปริมาณข้อมูลที่รับ-ส่ง ตามจริง ดังนั้นจึงทำให้ประหยัดกว่าการใช้ WAP และยังสื่อสารได้รวดเร็วขึ้นด้วย€
  1. โทรศัพท์ระบบ CDMA (Code Division Multiple Access)      ระบบ CDMA นั้น สามารถ        รองรับการสื่อสารไร้สายความเร็วสูงได้เป็นอย่างดี โดยสามารถทำการรับส่งข้อมูลได้สูงสุด 153
    การสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตมีกี่รูปแบบอะไรบ้าง
    Kbpsซึ่งมากกว่าโมเด็มที่ใช้กับโทรศัพท์ตามบ้านที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้เพียง56 kbps นอกจากนี้ ระบบ CDMA ยังสนับสนุนการส่งข้อมูลระบบมัลติมีเดียได้ด้วย
  1. เทคโนโลยี บลูทูธ (Bluetooth Technology) เทคโนโลยีบลูทูธถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้กับการสื่อสารแบบไร้สาย โดยใช้หลักการการส่งคลื่นวิทยุ ที่อยู่ในย่านความถี่ระหว่าง 2.4 – 2.4 GHz ในปัจจุบันนี้ได้มีการผลิตผลิตภัณฑ์ต่างๆที่ใช้เทคโนโลยีไร้สายบลูธูทเพื่อใช้ในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หลายๆชนิด เช่น โทรศัพท์เคลื่อนที่ คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค คอมพิวเตอร์พ็อคเก็ตพีซี

           +การใช้บริการสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตด้วยจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-Mail)
การสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตมีกี่รูปแบบอะไรบ้าง

อีเมล (E-mail) หรือ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail) เป็นอีกรูปแบบของการบริการที่นิยมมากรองมาจากเวิลด์ ไวด์ เว็บ ในอินเทอร์เน็ตปัจจุบัน การส่งจดหมายอีเล็กทรอนิกส์ จะแตกต่างจากการส่งจดหมายทางไปรษณีย์คือ ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย สะดวก รวดเร็ว การส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์จะส่งได้ทั้งข้อความรูปภาพเสียงไฟล์วิดีโอแม้กระทั่งการส่งการ์ดในโอกาสต่างๆ

         การรับส่งอีเมลผ่านทางระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตจะประกอบด้วย3ส่วนหลักคือ

  1.เมลเซิร์ฟเวอร์ (Mail Server) คือเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายของผู้ให้บริการด้านอีเมลสำหลับเก็บอีเมล

  2.เมลไคลเอนท์ (Mail Client) คือเครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่ายของผู้ใช้บริการที่เป็นตัวเรียกอีเมลมาจากเซิร์ฟเวอร์

การสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตมีกี่รูปแบบอะไรบ้าง
  3.โปรโตคอมสำหรับส่งเมลคือระเบียบวิธีที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลด้านอีเมลบนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

การสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตมีกี่รูปแบบอะไรบ้าง

        โปรโตคอลสำหรับรับส่งอีเมล

         โปรโตคอลที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลด้านอีเมลบนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตประกอบด้วย

  • การสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตมีกี่รูปแบบอะไรบ้าง
    SMTP

         SMTP (SimpleMessageTransdferProtocol) ทำหน้าที่ส่งอีเมลจากเมลเซิร์ฟเวอร์ของผู้ส่งไปยังเมลเซิร์ฟของผู้รับ จากกรณีตัวอย่างในการส่งและรับอีเมลระหว่างคุณกุลราพี() และคุณเพลงพิณ () ดังนี้

         1.คุณกุลรพี ต้องการส่งอีเมล โดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในการส่งที่เรียกว่า เมลไคลเอนท์ เมื่อเขียนจดหมายพร้อมที่จุส่ง ต้องกำหนดชื่อผู้ส่งจดหมาย และชื่อผู้รับจดหมาย เมื่อได้ทำการคลิกเลือก ส่งจดหมาย ก็คือการสั่งให้เมลไคลเอนท์ทำการส่งจดหมายให้

         2.เมลไคเอนท์ขอคุณกุลรพี จะทำการสร้างทางเชื่อมต่อแบบ TCP กับเมลเซิฟเวอร์ ที่เราได้ขอเป็น

การสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตมีกี่รูปแบบอะไรบ้าง
สมาชิกอยู่ คือ mail.chaiyo.com เมื่อเมลเซิร์ฟเวอร์ได้รับจดหมายก็จะจัดเก็บไว้ในคิวเพื่อทำการส่งต่อไป

      3.เมลเซิร์ฟเวอร์ของคุณกุลรพี (mail.chaiyo.com)ก็จะสร้างเชื่อมต่อแบบ TCPกับเมลเซิร์ฟเวอร์ของคุณเพลงพิณ(mail.chaiyo.com)และจะทำการส่งข้อความในอีเมลระหว่างเมลเซิร์ฟเวอร์

         4.เมื่อเมลเซิร์ฟเวอร์ของคุณเพลงพิณ ได้รับอีเมลแล้วก็จะนำอีเมลนั้นจัดเก็บไว้ในเมลบ๊อกซ์(mail Box)ของคุณเพลงพิณเพื่อรอการเปิดอ่านต่อไป

         5.เมื่อคุณเพลงพิณ ต้องการอ่านอีเมลก็จะทำการสั่งให้เมลไคลเอนท์ของตนเองทำการดึงอีเมลที่อยู่ในเมลบ็อกซ์มาอ่าน

  • การสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตมีกี่รูปแบบอะไรบ้าง
    Pop

         กระบวน การส่งเมลจะสิ้นสุดเมื่อผู้ส่งสั่งให้เมลไคลเอนท์ส่งข้อมูลไปถึงเมลเซิร์ฟ เวอร์ชองผู้รับและอีกเมลนั้นจะถูกจัดเก็บไว้ในเมล์บ๊อกซ์ของรับที่เครื่องเม ลเซิร์ฟเวอร์ ดังนั้น เมื่อเราของสมัครเป็นสมาชิกของเมลเซิร์ฟเวอร์ใดแล้ว เราจะได้พื้นที่ของเมลเซิร์ฟเพื่อเป็นเมลบ๊อกซ์ ของเราเมื่อต้องการอ่านจดหมายที่อยู่ในเมลบ๊อกซ์ จะต้องทำการล๊อกอินเข้าไป ดังนั้น เจ้าของเมลบ๊อกซ์เท่านั้นจึงจะสามารถอ่านจดหมายในกล่องเมลบ๊อกซ์ได้ การอ่านจดหมายก็จะใช้โปรแกรมอ่านข้อความ และเมลไคลเอนท์ จะต้องใช้โปรโตคอล เช่น pop,Imap เพื่อดึงอีเมลจากเซิร์ฟเวอร์มากเก็บไว้ที่เครื่องไคลเอนท์ผู้ใช้ เพื่ออ่านอีเมลที่มีผู้ส่งมาถึงต่อไป

Pop (Post Office portocol) คือ โปรโตคอลที่ใช้สำหรับอ่านเมลในเมล์บ๊อกซ์ ซึ่งปัจจุบัน

การสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตมีกี่รูปแบบอะไรบ้าง
ใช้pop เวอร์ชั่น 3 (pop3) การทำงานเริ่มจากไคลเอนท์สร้างการเชื่อมต่อแบบ TCP  กับเมลเซิร์ฟเวอร์ ซึ่งในระหว่างการเชื่อมต่อจะมีขั้นตอนในการเชื่อมต่ออยู่ 3 ระยะ คือ

ระยะที่ 1 เมื่อไคลเอนท์สร้างการเชื่อมต่อกับเซิร์ฟ เมื่อผู้ใช้บริการต้องการที่จะรับส่งอีเมลก็ต้องทำการล๊อกอิน คือ ชื่อผู้ใช้(Username)และรหัสผ่าน(password)เพื่อตรวจสอบสิทธ์ของการใช้งานในเมลบ๊อกซ์

ระยะที่ 2 เป็นระยะของการดาวน์โหลดอีเมลจากเครื่องเมลเวอร์และระยะนี้ไคลเอนท์สามารถกำหนดการลบเมลออกจากเมลบ๊อกซ์

ระยะที่ 3 เป็นระยะสุดท้ายในการสิ้นสุดการเชื่อมต่อ เมลเซิร์ฟเวอร์จะทำการลบอีเมลที่ผู้ใช้ต้องการ และสิ้นสุดการเชื่อมต่อ

ซึ่ง pop3 นี้ผู้ใช้จะไม่สามารถจัดการเมลบ๊อกซ์ของตนเองได้ โดยสามารถทำได้เพียงการดาวน์โหลดเมล และลบเมลที่ไม่ต้องการเท่านั้น ถ้าจำนวนของจดหมายที่เข้ามาในเมลบ๊อกซ์มีจำนวนมากขึ้น จะทำให้

การสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตมีกี่รูปแบบอะไรบ้าง
การค้นหาเมลทำได้อยาก ผู้ใช้จะไม่สามารถสร้างโฟลเดอร์เพื่อใช้ในการจัดการข้อมูลในเซิร์ฟเวอร์ได้

  • การสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตมีกี่รูปแบบอะไรบ้าง
    IMAP

IMAP (Internet Message Access Protocol) คือโปรโตคอลที่ใช้ในการจัดการเมลบ๊อกซ์ซึ่งนำมาใช้แก้ปัญหาของ pop3 โดยโปรโตคอล IMAP  จะอนุญาตให้ผู้ใช้สามารถจัดการเมลบ๊อกซ์ที่เซิร์ฟเวอร์ได้ และยังสามารถย้ายเมลจากโฟลเดอร์หนึ่งไปยังอีกโฟลเดอร์หนึ่งได้ และนอกจากนี้ยังได้จัดเก็บรายละเอียดของสถานะของเมลว่าได้ เช่น ดาวน์โหลดเฉพาะส่วนหัวข้ออีเมล หรือถ้าเป็นอีเมลที่มีไฟล์แนบ (Attachment)มาด้วย ผู้ใช้อาจกำหนดให้ดาวน์โหลดเฉพาะข้อความเท่านั้น ส่วนไฟล์ที่แนบอาจจะเก็บไว้ที่เซิร์ฟเวอร์ก่อน

ในการเชื่อมต่อแต่ครั้งของโตคอล IMAP เซิร์ฟเวอร์จะมีอยู่ 4 สถานะ ได้แก่ (จตุชัย แพงจันทร์ และคณะ 2547 : 228)

  1. Non-Authenticated State สถานะเริ่มเมื่อมีการสร้างการเชื่อมต่อในตอนแรกโดยในขั้นตอนนี้ไคลเอนท์ต้องชื่อล๊อกอิน และรหัสผ่าน เพื่อตรวจสอบสอบการใช้งานได้เท่านั้น
  2. Authenticated Stale :  เมื่อเซิร์ฟตรวจสอบผู้ใช้ผ่านแล้ว ขั้นตอนต่อไปผู้ใช้ต้องส่ง ข้อมูลว่าต้องการอ่าน หรือจัดการเมลที่อยู่ในโฟลเดอร์ใด
  3. Selected State :เมื่อเลือกโฟลเดอร์แล้วผู้ใช้ถึงมีสิทธ์จัดการเมลได้ เช่น ดาวน์โหลดย้ายโฟลเดอร์   4. ลบเมล หรือดาวน์โหลดบางส่วนเมล เป็นต้น
    การสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตมีกี่รูปแบบอะไรบ้าง
       Logout State  สถานะนี้เริ่มเมื่อผู้ใช้สิ้นสุดการเชื่อมต่อ หรือเซิร์ฟเวอร์ยกเลิกก็ได้

      +เทคนิคการค้นหาความรู้ข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต

การสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตมีกี่รูปแบบอะไรบ้าง

เป็นแหล่งรวบรวมข้อมูลขนาดใหญ่ซึ่งมีข้อมูลหลากหลายประเภทและมีแนวโน้มจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ดังนั้นการค้นหาข้อมูลที่ต้องการได้อย่างรวดเร็วนั้น ไม่ใช่เรื่องง่าย ๆ สำหรับผู้ที่ไม่คุ้นเคยกับแหล่งข้อมูลนี้ นั่นคือ มักประสบปัญหาไม่ทราบว่าข้อมูลที่ต้องการนั้นอยู่ในเว็บไซต์ใด ดังนั้นจึงได้มีเว็บไซต์ที่ให้บริการค้นหาข้อมูลต่าง ๆ บนอินเทอร์เน็ต ที่เรียกว่า  เครื่องมือช่วยค้น หรือ เซิร์ชเอ็นจิน (Search Engine)

การสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตมีกี่รูปแบบอะไรบ้าง
การค้นหาในรูปแบบ
 Search Engine

โปรแกรมที่ช่วยในการสืบค้นหาข้อมูล โดยเฉพาะข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต โดยครอบคลุมทั้งข้อความ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว เพลง ซอฟต์แวร์ แผนที่ ข้อมูลบุคคล กลุ่มข่าว และอื่น ๆ ซึ่งแตกต่างกันไปแล้วแต่โปรแกรมหรือผู้ให้บริการแต่ละราย. เสิร์ชเอนจินส่วนใหญ่จะค้นหาข้อมูลจากคำสำคัญ (คีย์เวิร์ด) ที่ผู้ใช้ป้อนเข้าไป จากนั้นก็จะแสดงรายการผลลัพธ์ที่มันคิดว่าผู้ใช้น่าจะต้องการขึ้นมา ในปัจจุบัน เสิร์ชเอนจินบางตัว เช่น กูเกิล จะบันทึกประวัติการค้นหาและการเลือกผลลัพธ์ของผู้ใช้ไว้ด้วย และจะนำประวัติที่บันทึกไว้นั้น มาช่วยกรองผลลัพธ์ในการค้นหาครั้งต่อ ๆ ไป

ขั้นตอนการสืบค้นคำศัพท์ด้วย Search Engine

  1. ทำการเปิดเว็บไซต์ที่ให้บริการ http://dict.longdo.com
  2. พิมพ์คำศัพท์ที่ต้องการสืบค้นลงในช่อง text box
  3. เลือกบริการ “dictionary”
  4. กดที่ปุ่ม “submit”
  5. ระบบจะทำการค้นหาคำศัพท์ที่ต้องการพร้อมคำแปล
    การสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตมีกี่รูปแบบอะไรบ้าง

การค้นหาในรูปแบบ Index Directory

วิธีการค้นหาข้อมูลแบบ Index นี้ข้อมูลจะมีความเป็นระเบียบเรียบร้อยมากกว่าการค้นหาข้อมูลด้วย วิธีของ Search  Engineเพราะจะสามารถคัดแยกข้อมูลออกมาเป็นหมวดหมู่ และจัดแบ่งแยก Site ต่างๆ ออก เป็นประเภท สำหรับวิธีใช้งานสามารถที่จะ Clickเลือกข้อมูลที่ต้องการจะดูได้เลยใน Web Browser จากนั้นที่หน้าจอก็จะแสดงรายละเอียดของหัวข้อปลีกย่อยลึกลงมาอีกระดับหนึ่ง ปรากฏขึ้นมาให้เราเลือกอีก ส่วนจะแสดงออกมาให้เลือกมากเท่าไรก็ขึ้นอยู่กับขนาดของฐานข้อมูลใน Index  ว่าในแต่ละประเภท จัดรวบรวมเก็บเอาไว้มากน้อยเพียงใด เมื่อได้ข้อมูลตรงกับความต้องการแล้ว สามารถ Click ลงไปยัง Link  เพื่อขอเชื่อมต่อทางเว็บไซต์ก็จะนำเอาผลของข้อมูลดังกล่าวออกมาแสดงผลทันที

ในการค้นหาข้อมูลด้วย Search Engine ส่วนใหญ่แล้วปัญหาที่ผู้ใช้งานทั่วไปมักจะพบเห็น หรือประสบอยู่เสมอๆก็คงจะหนีไปไม่พ้นข้อมูลที่ค้นหาได้มีขนาดมากจนเกินไป ดังนั้นเพื่อ ความสะดวกในการใช้งานคุณจึงน่าที่จะเรียนรู้เทคนิคต่างๆเพื่อช่วยลดหรือ จำกัดคำที่ค้น หาให้แคบลงและตรงประเด็นกับเรามากที่สุด   ดังวิธีการต่อไปนี้

เทคนิค 11 ประการที่ควรรู้ในการค้นหาข้อมูล

  1. เลือกรูปแบบการค้นหาให้ตรงกับสิ่งที่คุณต้องการมากที่สุด(อย่างที่บอกไว้มีอยู่ 2 แบบ) ส่วนจะเลือกใช้วิธีไหนก็ตามแต่จะเห็นว่า เหมาะสม ยกตัวอย่างเช่น ถ้าต้องการจะค้นหาข้อมูลที่มีลักษณะทั่วไป ไม่ชี้ เฉพาะเจาะจง ก็ควรเลือกบริการสืบค้นข้อมูลแบบ Index อย่างของ yahoo เพราะ โอกาสที่จะเจอนั้น เปอร์เซ็นต์สูงกว่าจะมานั่งสุ่มหาโดยใช้วิธีแบบ Search Engine
  2. ใช้คำมากกว่า1 คำที่มีลักษณะเกี่ยวข้องกันช่วยค้นหา เพราะจะได้ผลลัพธ์ที่มีขนาด แคบลงและชี้เฉพาะมากขึ้น (ย่อมจะดีกว่าหาคำเดียวโดดๆ)
  3. ใช้บริการของผู้ให้บริการเฉพาะด้านเช่นการค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องราวของ ภาพยนตร์ก็น่าที่จะเลือกใช้ Search Engine ที่ให้บริการใกล้เคียงกับเรื่องพวกนี้ เพราะผลลัพธ์ที่ได้น่าจะเป็นที่น่าพอใจกว่า
  4. ใส่เครื่องหมายคำพูดครอบคลุมกลุ่มคำที่ต้องการเพื่อบอกกับ Search Engine ว่าเรา ต้องการผลการค้นหาที่มีคำในกลุ่มนั้นครบและตรงตามลำดับที่เราพิมพ์ทุกคำ เช่น “free shareware” เป็นต้น
  5. การขึ้นต้นของตัวอักษรตัวเล็กเท่ากันหมดSearch Engine จะเข้าใจว่าเราต้องการ ให้มันค้นหาคำดังกล่าวแบบไม่ต้องสนใจว่าตัวอักษรที่ได้จะมีขนาดเล็กหรือใหญ่ ดังนั้นหากคุณต้องการอยากที่จะให้มันค้นหาคำตรงตามแบบที่เขียนไว้ก็ให้ใช้ ตัว อักษรใหญ่แทน
  6. ใช้ตัวเชื่อมทางLogic หรือตรรกศาสตร์เข้ามาช่วยค้นหา มีอยู่ 3 ตัวด้วยกันคือ – AND สั่งให้หาโดยจะต้องมีคำนั้นๆมาแสดงด้วยเท่านั้น! โดยไม่จำเป็นว่าจะต้องติดกัน เช่น phonelink AND pager เป็นต้น – OR สั่งให้หาโดยจะต้องนำคำใดคำหนึ่งที่พิมพ์ลงไปมาแสดง -NOT สั่งไม่ให้เลือกคำนั้นๆมาแสดง เช่น food and cheese not butter หมายความว่า ให้ทำการหาเว็บที่เกี่ยวข้องกับ food และ cheese แต่ต้องไม่มี butter เป็นต้น
  7. ใช้เครื่องหมายบวกลบคัดเลือกคำ+ หน้าคำที่ต้องการจริงๆ – (ลบ)ใช้นำหน้าคำที่ไม่ต้องการ () ช่วยแยกกลุ่มคำ เช่น(pentium+computer)cpu
  8. ใช้เป็นตัวร่วมเช่น com* เป็นการบอกให้หาคำที่มีคำว่า com ขึ้นหน้าส่วนด้านท้ายเป็น อะไรไม่

การสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตมีกี่รูปแบบอะไรบ้าง
 สนใจ *tor เป็นการให้หาคำที่ลงท้ายด้วย tor ด้านหน้าจะเป็นอะไรไม่สนใจ

9.หลีก เลี่ยงการใช้ตัวเลข พยายามเลี่ยงการใช้คำค้นหาที่เป็นคำเดี่ยวๆ หรือเป็นคำที่มีตัวเลขปน แต่ถ้าเลี่ยงไม่ได้ คุณก็อย่าลืมใส่เครื่องหมายคำพูด (” “) ลงไปด้วย เช่น “windows 98”

  1. หลีก เลี่ยงภาษาพูดหลีกเลี่ยงคำประเภท Natural Language หรือเรียกง่ายๆ ว่าคำหรือข้อความที่เป็นภาษาพูด หรือเป็นประโยค คุณควรสรุปเป็นเพียงกลุ่มคำหรือวลี ที่มีความหมายรวมทั้งหมดไว้ Advanced Search อย่าลืมที่จะใช้ Advanced Search เพราะจะมีส่วนช่วยคุณได้มาก ในการบีบประเด็นหัวข้อ ให้แคบลง ซึ่งจะทำให้คุณได้รายชื่อเว็บไซต์ ที่ตรงกับความต้องการของคุณมากขึ้น
  2. อย่าละเลยHelp ซึ่งในแต่ละเว็บ จะมี ปุ่ม help หรือ Site map ไว้คอยช่วยเหลือคุณ แต่คนส่วนใหญ่มักจะมองข้าม ซึ่ง help/site map จะมีประโยชน์มากในการอธิบาย option หรือการใช้งาน/แผนผังปลีกย่อยของแต่ละเว็บไซต์

This slideshow requires JavaScript.

ที่มา :   https://sites.google.com                                               https://sites.google.com/site/airadatmk/thekhnikh-kar-sub-khun/kar-khnha-ni-rup-baeb-index-directory-                                                                           http://www.thaigoodview.com/node/144754               http://pangpondbenjawan03.blogspot.com/                       http://siwaporn1.blogspot.com/2012/11/blog-post.html   http://kanjanazqx.blogspot.com/p/mail-3-1.html