อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ มีกี่รูปแบบ อะไรบ้าง

อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ คือ

     1.การกระทำการใด ๆ เกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ อันทำให้เหยื่อได้รับความเสียหาย และผู้กระทำได้รับผลประโยชน์ตอบแทน

     2.การกระทำผิดกฎหมายใด ๆ ซึ่งใช้เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ และในการสืบสวนสอบสวนของเจ้าหน้าที่เพื่อนำผู้กระทำผิดมาดำเนินคดี ต้องใช้ความรู้ทางเทคโนโลยีเช่นเดียวกัน 

     การประกอบอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ได้ก่อให้เกิดความเสียหาย ต่อเศรษฐกิจของประเทศจำนวนมหาศาล อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ จึงจัดเป็นอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ หรือ อาชญากรรมทางธุรกิจรูปแบบ หนึ่งที่มีความสำคัญ 

อาชญากรทางคอมพิวเตอร์ 

อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ มีกี่รูปแบบ อะไรบ้าง
 

1.  พวกเด็กหัดใหม่ (Novice)

2.  พวกวิกลจริต (Deranged persons)

3.  อาชญากรที่รวมกลุ่มกระทำผิด (Organized crime)

4.  อาชญากรอาชีพ (Career)

5.  พวกหัวพัฒนา มีความก้าวหน้า(Con artists)

6.  พวกคลั่งลัทธิ(Dreamer) / ช่างคิดช่างฝัน (Ideologues)

7.  ผู้ที่มีความรู้และทักษะด้านคอมพิวเตอร์อย่างดี (Hacker/Cracker )

     7.1  Hacker หมายถึง บุคคลผู้ที่เป็นอัจฉริยะ มีความรู้ในระบบคอมพิวเตอร์เป็นอย่างดี สามารถเข้าไปถึงข้อมูลในคอมพิวเตอร์โดยเจาะผ่านระบบ รักษาความปลอดภัยของ คอมพิวเตอร์ได้ แต่อาจไม่แสวงหาผลประโยชน์

     7.2  Cracker หมายถึง ผู้ที่มีความรู้และทักษะทางคอมพิวเตอร์เป็นอย่างดี จนสามารถเข้าสู่ระบบได้ เพื่อเข้าไปทำลายหรือลบแฟ้มข้อมูล หรือทำให้ เครื่องคอมพิวเตอร์ เสียหายรวมทั้งการทำลายระบบปฏิบัติการของเครื่องคอมพิวเตอร์

รูปแบบของอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ 

     ปัจุบันทั่วโลก ได้จำแนกประเภทอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ได้ 9 ประเภท

1.  การขโมยข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต รวมถึงการขโมยประโยชน์ในการลักลอบใช้บริการ

2.  การปกปิดความผิดของตัวเอง โดยใช้ระบบการสื่อสาร

3.  การละเมิดลิขสิทธิ์ ปลอมแปลงรูปแบบเลียนแบระบบซอฟแวร์โดยมิชอบ

4.  การเผยแพร่ภาพ เสียง ลามก อนาจาร และข้อมูลที่ไม่เหมาะสม

5.  การฟอกเงิน

6.  การก่อกวน ระบบคอมพิวเตอร์ เช่น ทำลายระบบสาธารณูปโภค เช่น ระบบจ่ายน้ำ จ่ายไฟ

7.  การหลอกลวงให้ร่วมค้าขาย หรือ ลงทุนปลอม (การทำธุรกิจที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย)

8.  การลักลอบใช้ข้อมูลเพื่อแสวงหาผลประโยชน์ในทางมิชอบ เช่น การขโมยรหัสบัตรเครดิต

9.  การใช้คอมพิวเตอร์ในการโอนบัญชีผู้อื่นเป็นของตัวเอง

อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ แบ่งเป็น 4 ลักษณะ คือ 

1.  การเจาะระบบรักษาความปลอดภัย ทางกายภาพ ได้แก่ ตัวอาคาร อุปกรณ์และสื่อต่างๆ

2.  การเจาะเข้าไปในระบบสื่อสาร และการ รักษาความปลอดภัยของซอฟต์แวร์ข้อมูลต่างๆ

3.  เป็นการเจาะเข้าสู่ระบบรักษาความปลอดภัย ของระบบปฏิบัติการ(Operating System)

4.  เป็นการเจาะผ่านระบบรักษาความปลอดภัยส่วนบุคคล โดยใช้อินเตอร์เน็ตเป็นช่องทางในการกระทำความผิด

อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ มีกี่รูปแบบ อะไรบ้าง

อาชญากรรมคอมพิวเตอร์หมายถึง การกระทำผิดทางอาญาในระบบคอมพิวเตอร์หรือการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อกระทำผิดทางอาญา เช่น ทำลาย เปลี่ยนแปลง หรือขโมยข้อมูลต่าง ๆ เป็นต้น ระบบคอมพิวเตอร์ในทีนี้หมายรวมถึงระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เชื่อมกับระบบดังกล่าวด้วยสำหรับอาชญากรรมในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์อาจเรียกได้อีกอย่างหนึ่งคืออาชญากรรมไซเบอร์ (อังกฤษ: Cybercrime) อาชญากรที่ก่ออาชญากรรมประเภทนี้ มักถูกเรียกว่า แครกเกอร์

1.การกระทำการใด ๆ เกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ อันทำให้เหยื่อได้รับความเสียหาย และผู้กระทำได้รับผลประโยชน์ตอบแทน 2.การกระทำผิดกฎหมายใด ๆ ซึ่งใช้เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือและในการสืบสวนสอบสวนของเจ้าหน้าที่เพื่อนำผู้กระทำผิดมาดำเนินคดีต้องใช้ความรู้ทางเทคโนโลยีเช่นเดียวกันการประกอบอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ได้ก่อให้เกิดความเสียหายต่อเศรษฐกิจของประเทศจำนวนมหาศาลอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ จึงจัดเป็นอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ หรือ อาชญากรรมทางธุรกิจรูปแบบ หนึ่งที่มีความสำคัญ

1.พวกเด็กหัดใหม่ (Novice)

2.พวกวิกลจริต (Deranged persons)

3. อาชญากรที่รวมกลุ่มกระทำผิด (Organized crime)

4.อาชญากรอาชีพ (Career)

5.พวกหัวพัฒนา มีความก้าวหน้า (Con artists)

6.พวกคลั่งลัทธิ (Dremer) / พวกช่างคิดช่างฝัน (Ideologues)

7. ผู้ที่มีความรู้และทักษะด้านคอมพิวเตอร์อย่างดี (Hacker/Cracker)

Hacker หมายถึง บุคคลผู้ที่เป็นอัจฉริยะ มีความรู้ในระบบคอมพิวเตอร์เป็นอย่างดี สามารถเข้าไปถึงข้อมูลในคอมพิวเตอร์โดยเจาะผ่านระบบรักษาความปลอดภัยของ คอมพิวเตอร์ได้แต่อาจไม่แสวงหาผลประโยชน์ Cracker หมายถึง ผู้ที่มีความรู้และทักษะทางคอมพิวเตอร์เป็นอย่างดี จนสามารถเข้าสู่ระบบได้ เพื่อเข้าไปทำลายหรือลบแฟ้มข้อมูลหรือทำให้ เครื่องคอมพิวเตอร์เสียหายรวมทั้งการทำลายระบบปฏิบัติการของเครื่องคอมพิวเตอร์

รูปแบบของการก่ออาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์

1.การขโมยข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตซึ่งรวมถึงการขโมยประโยชน์ในการลักลอบใช้บริการ 2. อาชญากรนำเอาระบบการสื่อสารมาปกปิดความผิดของตนเอง 3. การละเมิดสิทธิ์ปลอมแปลงรูปแบบเลียนแบบระบบซอฟต์แวร์โดยมิชอบ 4. ใช้คอมพิวเตอร์แพร่ภาพเสียงลามกอนาจารและข้อมูลที่ไม่เหมาะสม 5. ใช้คอมพิวเตอร์ฟอกเงิน 6. อันธพาลทางคอมพิวเตอร์ที่เช้าไปก่อกวน ทำลายระบบสาธารณูปโภค เช่น ระบบจ่ายน้ำ จ่ายไป

ระบบการจราจร

7. หลอกลวงให้ร่วมค้าขายหรือลงทุนปลอม 8. แทรกแซงข้อมูลแล้วนำข้อมูลนั้นมาเป็นประโยชน์ต่อตนโดยมิชอบ 9. ใช้คอมพิวเตอร์แอบโอนเงินบัญชีผู้อื่นเข้าบัญชีตัวเอง

ตัวอย่างการถูกโจมตีบนอินเทอร์เน็ต

Denial of Service คือ การโจมตีเครื่อง หรือเครือข่าย เพื่อให้มีภาระหนัก จนไม่สามารถให้บริการได้หรือทำงานได้ช้าลง Scan คือ วิธีการเข้าสู่ระบบโดยใช้เครื่องมืออัตโนมัติ หรือเป็นโปรแกรมที่เขียนขึ้นเพื่อ scan สู่ระบบหรือ หาช่องจากการติดตั้งหรือการกำหนดระบบผิดพลาด

alicious Code คือการหลอกส่งโปรแกรมให้ โดยจริง ๆ แล้วอาจเป็นไวรัส เวิร์ม และม้าโทรจัน และถ้าเรียกโปรแกรมนั้น โปรแกรมที่แอบซ่อนไว้ก็จะทำงานตามที่กำหนด เช่น ทำลายข้อมูลในฮาร์ดดิสก์ หรือเป็นจุดที่คอยส่งไวรัสเพื่อแพร่ไปยังที่อื่นต่อไป เป็นต้น

การป้องกันอาชญากรรมคอมพิวเตอร์

1. การว่าจ้างอย่างรอบคอบ และระมัดระวัง (Hire carefully)

2. ระวังพวกที่ไม่พอใจ (Beware of malcontents)

3. การแยกหน้าที่รับผิดชอบของพนักงาน (Separate employee functions)

4. การจำกัดการใช้งานในระบบ (Restrict system use)

5. การป้องกันทรัพยากรข้อมูลด้วยรหัสผ่านหรือการตรวจสอบการมีสิทธิใช้งานของผู้ใช้(Protect resources with passwords or other user authorization checks a pass)

6. การเข้ารหัสข้อมูล และโปรแกรม (Encrypt data and programs)

7. การเฝ้าดูการเคลื่อนไหวของระบบข้อมูล (Monitor system transactions)

8. การตรวจสอบระบบอย่างสม่ำเสมอ (Conduct frequent audits)

9. การให้ความรู้ผู้ร่วมงานในเรื่องระบบความปลอดภัยของข้อมูล (Educate people in security measures)

https://www.dek-d.com/board/view/3111798/

จริยธรรมและพระราชบัญญัติ คอมพิวเตอร์

จริยธรรม(Ethics) ในความหมายทางคอมพิวเตอร์ หมายถึง หลักศีลธรรมจรรยาที่กำหนดขึ้น เพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติหรือควบคุมการใช้ระบบคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ หรือหลักเกณฑ์และมาตรฐานที่ประชาชนใช้ในการตัดสินใจ เพื่อการกระทำในสิ่งที่ถูกต้องและหลีกเลี่ยงการกระทำความผิดต่อผู้อื่น ตัวอย่างการกระทำความผิดในด้านจริยธรรมคอมพิวเตอร์ เช่น

-การใช้ถ้อยคำที่ไม่สุภาพ

-การโฆษณาชวนเชื่อเกินจริง

-การกระทำที่ก่อให้เกิดความรำคาญแก่ผู้อื่น

-การกล่าวพาดพิงถึงผู้อื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต

-การใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยผู้อื่นไม่เต็มใจ

การกระทำความผิดในด้านจริยธรรมนั้นเป็นความผิดที่ไม่มีข้อกำหนดทางกฎหมาย แต่เกิดจากจิตสำนึกหรือความรู้ผิดชอบชั่วดีของผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์เป็นหลัก ซึ่งการกระทำความผิดดังกล่าวมักจะนำไปสู่ความผิดทางกฎหมาย ปัจจุบันจึงได้มีการใช้พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโดยเกล้าโปรดกระหม่อม ให้ประกาศกฎหมายว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคำแนะนำและยินยอมของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ โดยสามารถสรุปลักษณะการกระทำความผิดและบทลงโทษได้ดังนี้

มาตรา 1-4 กล่าวถึง ข้อกำหนดการใช้และความหมายของคำสำคัญที่เกี่ยวข้องกับพระราชบัญญัติ คอมพิวเตอร์

มาตรา 5-17 อยู่ในหมวด 1 ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ เป็นมาตราที่เกี่ยวข้องกับบุคคลทั่วไป ซึ่งสามารถสรุปการกระทำความผิดและบทลงโทษไว้ดังนี้

มาตรา 5 ห้ามไม่ให้เข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นที่มีมาตรการป้องกัน หากกระทำความผิดต้องจำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

มาตรา 6 ห้ามไม่ให้นำข้อมูลของผู้อื่นไปเผยแพร่จนเกิดความเสียหาย หากกระทำความผิดต้องจำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

มาตรา 7 ห้ามไม่ให้เข้าถึงข้อมูลของผู้อื่นที่มีมาตรการป้องกัน หากกระทำความผิดต้องจำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 40,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

มาตรา 8 ห้ามไม่ให้ดักรับข้อมูลของผู้อื่นที่อยู่ในระหว่างการส่งในระบบคอมพิวเตอร์หรือข้อมูลนั้นไม่ได้มีไว้เพื่อประโยชน์สาธารณะหรือสำหรับบุคคลทั่วไป หากกระทำความผิดต้องจำคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 60,000 หรือทั้งจำทั้งปรับ

มาตรา 9 ห้ามทำให้ข้อมูลของผู้อื่นเสียหาย ห้ามทำลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง และเพิ่มเติม บางส่วนหรือทั้งหมด หากกระทำความผิดต้องจำคุกไม่เกิน 5 ปี หรือปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

มาตรา 10 ห้ามทำให้การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นถูกระงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนจนไม่สามารถทำงานตามปกติได้ หากกระทำความผิดต้องจำคุกไม่เกิน 5 ปี หรือปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

มาตรา 11 ห้ามส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แก่ผู้อื่นโดยปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มาของข้อมูล ที่เป็นการรบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นหากกระทำความผิดต้องปรับไม่เกิน 100000 บาท

มาตรา 12 ถ้ากระทำความผิดในมาตรา 9 หรือ 10 แล้วก่อให้เกิดความเสียหายแก่ประชาชน ต้องจำคุกไม่เกิน 10 ปี และปรับไม่เกิน 200000 บาท แต่หากก่อให้เกิดความเสียหายต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวกับการรักษาความมั่นคงของประเทศความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือ การบริการสาธารณะจะต้องจำคุกตั้งแต่ 3-15 ปี และปรับตั้งแต่ 60000-300000 บาท แต่หากการกระทำความผิดดังกล่าวมีผลทำให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย จะต้องจำคุกตั้งแต่ 10-20 ปี

มาตรา 13 ห้ามจำหน่ายหรือเผยแพร่ชุดคำสั่งเพื่อนำไปเป็นเครื่องมือในการกระทำผิดตามมาตรา 5-11 หากกระทำความผิดต้องจำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 20000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

มาตรา 14 ห้ามเข้าใช้หรือนำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ที่มีข้อมูลปลอมหรือเป็นเท็จที่ทำให้เกิดความเสียหายต่อผู้อื่น ประเทศชาติ ประชาชน หรือเกี่ยวกับการก่อการร้าย หรือ ข้อมูลที่มีลักษณะลามก หรือ เผยแพร่ข้อมูลดังกล่าว หากกระทำความผิดต้องจำคุกไม่เกิน 5 ปี หรือปรับไม่เกิน 100000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

มาตรา 15 ห้ามให้บริการ สนับสนุน หรือยินยอมให้ผู้อื่นปฏิบัติตามความผิดในมาตรา 14 ในระบบคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในความควบคุมของตน หากกระทำความผิดต้องมีโทษเช่นเดียวกับผู้กระทำความผิดนั้น

มาตรา 16 ห้ามเข้าถึงข้อมูลภาพที่สร้างขึ้น ตัดต่อ เติม หรือ ดัดแปลง โดยทำให้ผู้อื่นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย หากกระทำความผิดต้องจำคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 60000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

มาตรา 17 ถ้าผู้ใดกระทำความผิดนอกประเทศไทย แต่ผู้กระทำผิดเป็นคนไทย ให้รัฐบาลแห่งประเทศที่ผู้กระทำผิดได้ก่อเหตุหรือผู้เสียหายได้ร้องขอให้ลงโทษในประเทศนั้น ๆ หรือ ถ้าผู้กระทำความผิดเป็นคนต่างด้าว และรัฐบาลไทยหรือคนไทยเป็นผู้เสียหายจะต้องรับโทษภายในประเทศไทย

มาตรา 18-30 อยู่ในหมวด 2 พนักงานเจ้าหน้าที่ เป็นมาตราที่กำหนดขึ้นเพื่อประโยชน์ในการสืบสวน สอบสวน และข้อกำหนดของพนักงานเจ้าหน้าที่ในการดำเนินการต่อผู้กระทำความผิด

https://bracer1short.wordpress.com/พรบ.คอมพิวเตอร์

บทที่7อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ (ComputerCrime) อาชญากรรมคอมพิวเตอร์หมายถึง การกระทำผิดทางอาญาในระบบคอมพิวเตอร์หรือการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อกระทำผิดทางอาญา เช่น ทำลาย เปลี่ยนแปลง หรือขโมยข้อมูลต่าง ๆ เป็นต้น ระบบคอมพิวเตอร์ในทีนี้หมายรวมถึงระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เชื่อมกับระบบดังกล่าวด้วยสำหรับอาชญากรรมในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ อาจเรียกได้อีกอย่างหนึ่งคืออาชญากรรมไซเบอร์ (อังกฤษ: Cybercrime) อาชญากรที่ก่ออาชญากรรมประเภทนี้ มักถูกเรียกว่า แครกเกอร์

1.การกระทำการใด ๆ เกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ อันทำให้เหยื่อได้รับความเสียหาย และผู้กระทำได้รับผลประโยชน์ตอบแทน 2.การกระทำผิดกฎหมายใด ๆ ซึ่งใช้เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือและในการสืบสวนสอบสวนของเจ้าหน้าที่เพื่อนำผู้กระทำผิดมาดำเนินคดีต้องใช้ความรู้ทางเทคโนโลยีเช่นเดียวกันการประกอบอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ได้ก่อให้เกิดความเสียหายต่อเศรษฐกิจของประเทศจำนวนมหาศาลอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ จึงจัดเป็นอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ หรือ อาชญากรรมทางธุรกิจรูปแบบ หนึ่งที่มีความสำคัญ

1.พวกเด็กหัดใหม่ (Novice)

2.พวกวิกลจริต (Deranged persons)

3. อาชญากรที่รวมกลุ่มกระทำผิด (Organized crime)

4.อาชญากรอาชีพ (Career)

5.พวกหัวพัฒนา มีความก้าวหน้า (Con artists)

6.พวกคลั่งลัทธิ (Dremer) / พวกช่างคิดช่างฝัน (Ideologues)

7. ผู้ที่มีความรู้และทักษะด้านคอมพิวเตอร์อย่างดี (Hacker/Cracker)

Hacker หมายถึง บุคคลผู้ที่เป็นอัจฉริยะ มีความรู้ในระบบคอมพิวเตอร์เป็นอย่างดี สามารถเข้าไปถึงข้อมูลในคอมพิวเตอร์โดยเจาะผ่านระบบรักษาความปลอดภัยของ คอมพิวเตอร์ได้แต่อาจไม่แสวงหาผลประโยชน์ Cracker หมายถึง ผู้ที่มีความรู้และทักษะทางคอมพิวเตอร์เป็นอย่างดี จนสามารถเข้าสู่ระบบได้ เพื่อเข้าไปทำลายหรือลบแฟ้มข้อมูลหรือทำให้ เครื่องคอมพิวเตอร์เสียหายรวมทั้งการทำลายระบบปฏิบัติการของเครื่องคอมพิวเตอร์

รูปแบบของการก่ออาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์

1.การขโมยข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตซึ่งรวมถึงการขโมยประโยชน์ในการลักลอบใช้บริการ 2. อาชญากรนำเอาระบบการสื่อสารมาปกปิดความผิดของตนเอง 3. การละเมิดสิทธิ์ปลอมแปลงรูปแบบเลียนแบบระบบซอฟต์แวร์โดยมิชอบ 4. ใช้คอมพิวเตอร์แพร่ภาพเสียงลามกอนาจารและข้อมูลที่ไม่เหมาะสม 5. ใช้คอมพิวเตอร์ฟอกเงิน 6. อันธพาลทางคอมพิวเตอร์ที่เช้าไปก่อกวน ทำลายระบบสาธารณูปโภค เช่น ระบบจ่ายน้ำ จ่ายไป

ระบบการจราจร

7. หลอกลวงให้ร่วมค้าขายหรือลงทุนปลอม 8. แทรกแซงข้อมูลแล้วนำข้อมูลนั้นมาเป็นประโยชน์ต่อตนโดยมิชอบ 9. ใช้คอมพิวเตอร์แอบโอนเงินบัญชีผู้อื่นเข้าบัญชีตัวเอง

ตัวอย่างการถูกโจมตีบนอินเทอร์เน็ต

Denial of Service คือ การโจมตีเครื่อง หรือเครือข่าย เพื่อให้มีภาระหนัก จนไม่สามารถให้บริการได้หรือทำงานได้ช้าลง Scan คือ วิธีการเข้าสู่ระบบโดยใช้เครื่องมืออัตโนมัติ หรือเป็นโปรแกรมที่เขียนขึ้นเพื่อ scan สู่ระบบหรือ หาช่องจากการติดตั้งหรือการกำหนดระบบผิดพลาด

alicious Code คือการหลอกส่งโปรแกรมให้ โดยจริง ๆ แล้ว อาจเป็นไวรัส เวิร์ม และม้าโทรจัน และถ้าเรียกโปรแกรมนั้น โปรแกรมที่แอบซ่อนไว้ก็จะทำงานตามที่กำหนด เช่น ทำลายข้อมูลในฮาร์ดดิสก์ หรือเป็นจุดที่คอยส่งไวรัสเพื่อแพร่ไปยังที่อื่นต่อไป เป็นต้น

การป้องกันอาชญากรรมคอมพิวเตอร์

1. การว่าจ้างอย่างรอบคอบ และระมัดระวัง (Hire carefully)

2. ระวังพวกที่ไม่พอใจ (Beware of malcontents)

3. การแยกหน้าที่รับผิดชอบของพนักงาน (Separate employee functions)

4. การจำกัดการใช้งานในระบบ (Restrict system use)

5. การป้องกันทรัพยากรข้อมูลด้วยรหัสผ่านหรือการตรวจสอบการมีสิทธิใช้งานของผู้ใช้(Protect resources with passwords or other user authorization checks a pass)

6. การเข้ารหัสข้อมูล และโปรแกรม (Encrypt data and programs)

7. การเฝ้าดูการเคลื่อนไหวของระบบข้อมูล (Monitor system transactions)

8. การตรวจสอบระบบอย่างสม่ำเสมอ (Conduct frequent audits)

9. การให้ความรู้ผู้ร่วมงานในเรื่องระบบความปลอดภัยของข้อมูล (Educate people in security measures)

https://www.dek-d.com/board/view/3111798/

จริยธรรมและพระราชบัญญัติ คอมพิวเตอร์

จริยธรรม(Ethics) ในความหมายทางคอมพิวเตอร์ หมายถึง หลักศีลธรรมจรรยาที่กำหนดขึ้น เพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติหรือควบคุมการใช้ระบบคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ หรือหลักเกณฑ์และมาตรฐานที่ประชาชนใช้ในการตัดสินใจ เพื่อการกระทำในสิ่งที่ถูกต้องและหลีกเลี่ยงการกระทำความผิดต่อผู้อื่น ตัวอย่างการกระทำความผิดในด้านจริยธรรมคอมพิวเตอร์ เช่น

-การใช้ถ้อยคำที่ไม่สุภาพ

-การโฆษณาชวนเชื่อเกินจริง

-การกระทำที่ก่อให้เกิดความรำคาญแก่ผู้อื่น

-การกล่าวพาดพิงถึงผู้อื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต

-การใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยผู้อื่นไม่เต็มใจ

การกระทำความผิดในด้านจริยธรรมนั้นเป็นความผิดที่ไม่มีข้อกำหนดทางกฎหมาย แต่เกิดจากจิตสำนึกหรือความรู้ผิดชอบชั่วดีของผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์เป็นหลัก ซึ่งการกระทำความผิดดังกล่าวมักจะนำไปสู่ความผิดทางกฎหมาย ปัจจุบันจึงได้มีการใช้พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโดยเกล้าโปรดกระหม่อม ให้ประกาศกฎหมายว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคำแนะนำและยินยอมของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ โดยสามารถสรุปลักษณะการกระทำความผิดและบทลงโทษได้ดังนี้

มาตรา 1-4 กล่าวถึง ข้อกำหนดการใช้และความหมายของคำสำคัญที่เกี่ยวข้องกับพระราชบัญญัติ คอมพิวเตอร์

มาตรา 5-17 อยู่ในหมวด 1 ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ เป็นมาตราที่เกี่ยวข้องกับบุคคลทั่วไป ซึ่งสามารถสรุปการกระทำความผิดและบทลงโทษไว้ดังนี้

มาตรา 5 ห้ามไม่ให้เข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นที่มีมาตรการป้องกัน หากกระทำความผิดต้องจำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

มาตรา 6 ห้ามไม่ให้นำข้อมูลของผู้อื่นไปเผยแพร่จนเกิดความเสียหาย หากกระทำความผิดต้องจำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

มาตรา 7 ห้ามไม่ให้เข้าถึงข้อมูลของผู้อื่นที่มีมาตรการป้องกัน หากกระทำความผิดต้องจำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 40,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

มาตรา 8 ห้ามไม่ให้ดักรับข้อมูลของผู้อื่นที่อยู่ในระหว่างการส่งในระบบคอมพิวเตอร์หรือข้อมูลนั้นไม่ได้มีไว้เพื่อประโยชน์สาธารณะหรือสำหรับบุคคลทั่วไป หากกระทำความผิดต้องจำคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 60,000 หรือทั้งจำทั้งปรับ

มาตรา 9 ห้ามทำให้ข้อมูลของผู้อื่นเสียหาย ห้ามทำลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง และเพิ่มเติม บางส่วนหรือทั้งหมด หากกระทำความผิดต้องจำคุกไม่เกิน 5 ปี หรือปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

มาตรา 10 ห้ามทำให้การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นถูกระงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนจนไม่สามารถทำงานตามปกติได้ หากกระทำความผิดต้องจำคุกไม่เกิน 5 ปี หรือปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

มาตรา 11 ห้ามส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แก่ผู้อื่นโดยปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มาของข้อมูล ที่เป็นการรบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นหากกระทำความผิดต้องปรับไม่เกิน 100000 บาท

มาตรา 12 ถ้ากระทำความผิดในมาตรา 9 หรือ 10 แล้วก่อให้เกิดความเสียหายแก่ประชาชน ต้องจำคุกไม่เกิน 10 ปี และปรับไม่เกิน 200000 บาท แต่หากก่อให้เกิดความเสียหายต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวกับการรักษาความมั่นคงของประเทศความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือ การบริการสาธารณะจะต้องจำคุกตั้งแต่ 3-15 ปี และปรับตั้งแต่ 60000-300000 บาท แต่หากการกระทำความผิดดังกล่าวมีผลทำให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย จะต้องจำคุกตั้งแต่ 10-20 ปี

มาตรา 13 ห้ามจำหน่ายหรือเผยแพร่ชุดคำสั่งเพื่อนำไปเป็นเครื่องมือในการกระทำผิดตามมาตรา 5-11 หากกระทำความผิดต้องจำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 20000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

มาตรา 14 ห้ามเข้าใช้หรือนำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ที่มีข้อมูลปลอมหรือเป็นเท็จที่ทำให้เกิดความเสียหายต่อผู้อื่น ประเทศชาติ ประชาชน หรือเกี่ยวกับการก่อการร้าย หรือ ข้อมูลที่มีลักษณะลามก หรือ เผยแพร่ข้อมูลดังกล่าว หากกระทำความผิดต้องจำคุกไม่เกิน 5 ปี หรือปรับไม่เกิน 100000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

มาตรา 15 ห้ามให้บริการ สนับสนุน หรือยินยอมให้ผู้อื่นปฏิบัติตามความผิดในมาตรา 14 ในระบบคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในความควบคุมของตน หากกระทำความผิดต้องมีโทษเช่นเดียวกับผู้กระทำความผิดนั้น

มาตรา 16 ห้ามเข้าถึงข้อมูลภาพที่สร้างขึ้น ตัดต่อ เติม หรือ ดัดแปลง โดยทำให้ผู้อื่นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย หากกระทำความผิดต้องจำคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 60000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

มาตรา 17 ถ้าผู้ใดกระทำความผิดนอกประเทศไทย แต่ผู้กระทำผิดเป็นคนไทย ให้รัฐบาลแห่งประเทศที่ผู้กระทำผิดได้ก่อเหตุหรือผู้เสียหายได้ร้องขอให้ลงโทษในประเทศนั้น ๆ หรือ ถ้าผู้กระทำความผิดเป็นคนต่างด้าว และรัฐบาลไทยหรือคนไทยเป็นผู้เสียหายจะต้องรับโทษภายในประเทศไทย

มาตรา 18-30 อยู่ในหมวด 2 พนักงานเจ้าหน้าที่ เป็นมาตราที่กำหนดขึ้นเพื่อประโยชน์ในการสืบสวน สอบสวน และข้อกำหนดของพนักงานเจ้าหน้าที่ในการดำเนินการต่อผู้กระทำความผิด

https://bracer1short.wordpress.com/พรบ.คอมพิวเตอร์

https://www.youtube.com/watch?v=UYP0PaXhEa0

รูปแบบอาชญากรรมคอมพิวเตอร์มีกี่ประเภท

การโจรกรรมหรือการขโมยข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต.
การปกปิดความผิดของตัวเอง เช่น ใช้คอมพิวเตอร์ปกปิดความผิดตนเองโดยตั้งรหัสไม่ให้คนอื่นรู้.
การละเมิดลิขสิทธ์.
ใช้คอมพิวเตอร์แพร่ภาพหรือเสียงลามกอนาจาร.
การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อฟอกเงิน.
อันตพาลทางคอมพิวเตอร์ที่เข้าไปก่อกวน.
การหลอกลวงให้ร่วมค้าขายหรือลงทุนปลอม.

อาชญากรรมออนไลน์มีทั้งหมดกี่ประเภท

1. การหลอกลวงผ่านอีเมล (Email scam) ... .
2. การหลอกลวงขายสินค้า (Sales scam) ... .
3. การหลอกรักออนไลน์ (Romance Scam) ... .
4. การหลอกลวงลงทุน (Hybrid Scam) ... .
5. การหลอกลวงด้วยการโทรศัพท์โดยแก๊งคอลเซ็นเตอร์ (Vishing Phishing).

อาชญากรรมแบ่งได้กี่ประเภท มีอะไรบ้าง

เนื้อหา.
2.1 อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์.
2.2 การเสพและค้ายาเสพติด.
2.3 การทารุณกรรมสัตว์.
2.4 การข่มขืนกระทำชำเรา.
2.5 การหลอกลวง.
2.6 การค้ามนุษย์และการค้าประเวณี.
2.7 ความรุนแรงในครอบครัว.

ข้อใดเป็นลักษณะของอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์

อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ (Computer crime หรือ cyber crime) เป็นการกระทำที่ผิดกฎหมายโดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ เช่น การโจรกรรมข้อมูลหรือความลับของบริษัท การบิดเบือนข้อมูล การฉ้อโกง การฟอกเงิน การถอดรหัสโปรแกรมคอมพิวเตอร์ รวมถึงการก่อกวนโดยกลุ่มแฮกเกอร์ (Hacker) เช่น ไวรัสคอมพิวเตอร์ การทำลายข้อมูลและอุปกรณ์ เป็นต้น