วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์มีกี่ยุค

���������ҧ�� �.�. 2488 �֧ �.�. 2501 �繤���������������ʹ�ح�ҡ�ȫ������ѧ俿���٧ �֧�ջѭ������ͧ������͹��������ʹ�Ҵ���� �֧�������к��к�¤�����͹�����ҡ �����觧ҹ����������ͧ��������ʵ���Ţ�������ҡ�Ѻ��͹ ����ͧ����������ͧ�ؤ����բ�Ҵ�˭�� �� ���� �ѹ (MARK I), �չ��ͤ (ENIAC), �ٹ��Ǥ (UNIVAC)

���� �ѹ

    

วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์มีกี่ยุค
 

                                                                      �Թ��ͤ                                                                                                     

วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์มีกี่ยุค

�ٹ��Ǥ

�����������ؤ��� 2

�����������ؤ����ͧ ���������ҧ�� �.�. 2502 �֧ �.�. 2506 �繤��������������ҹ������� ����᡹�����÷���˹��¤����� ���ػ�ó��红��������ͧ��ٻ�ͧ���ͺѹ�֡������� �� �ҹ������� ��ǹ�ҧ��ҹ�Ϳ��������ա�þѲ�Ҵբ�� ������ö��¹��������������дѺ�٧��������ҷ����¹�繻���¤��褹����ö������ �� ���ҿ���᷹ ����⤺�� �繵� �����дѺ�٧������ա�þѲ�������ҹ�Ҩ��֧�Ѩ�غѹ

�����������ؤ��� 3

�����������ؤ������ ���������ҧ�� �.�. 2507 �֧ �.�. 2512 �繤�������������ǧ����� (Integrated Circuit : IC) ��ǧ��������е�Ǩ��շ�ҹ��������è����������ҡ��·��������ͧ������������͡Ẻ�Ѻ��͹�ҡ��� �������ö���ҧ����������� � 㹡�á�˹��ش����觵�ҧ � �ҧ��ҹ�Ϳ����������к��Ǻ�������դ�������ö�٧�����ٻ�к������ҡ�÷ӧҹ���Ѻ�ҹ���� � ���ҧ

               

วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์มีกี่ยุค
 
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์มีกี่ยุค
                                             

�����������ؤ��� 4

�����������ؤ������ ������ �.�. 2513 ���֧�Ѩ�غѹ ���ؤ�ͧ��������������ǧ������������٧�ҡ(Very Large Scale Integration : VLSI) �� ���������������èط�ҹ�������Ѻ���蹹Ѻ�ʹ��� ����颹Ҵ����ͧ�����������բ�Ҵ���ŧ����ö��駺������ӹѡ�ҹ���;�������͹�����������㹷���ҧ � �� ������ǡѹ�к��Ϳ���������Ѳ�Ңմ��������ö�٧����ҡ ������������������͡��ѹ�ҡ������Դ�����дǡ㹡����ҹ���ҧ���ҧ��ҧ


                                                       

วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์มีกี่ยุค
               
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์มีกี่ยุค

�����������ؤ��� 5
�����������ؤ������ �繤�����������������������������ͪ���㹡�õѴ�Թ������ѭ��������觢�� �¨��ա���纤����ͺ����ҧ � �����������ͧ ����ö���¡����д֧��������������������ҹ����繻���ª�� �����������ؤ����繼Ũҡ�Ԫҡ�ô�ҹ�ѭ�һ�д�ɰ� (Artificial Intelligence : AI) ����ȵ�ҧ� �����š�����Ҩ������Ѱ����ԡ� ����� ��л����㹷�ջ���û���ѧʹ㨤鹤�����оѲ�ҷҧ��ҹ���ѹ���ҧ��ԧ�ѧ

วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์มีกี่ยุค

HOME

วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ จุดกำเนิดของคอมพิวเตอร์ต้นกำเนิดของคอมพิวเตอร์อาจกล่าวได้ว่ามาจากแนวความคิด

ของระบบตัวเลข ซึ่งได้พัฒนาเป็นวิธีการคำนวณต่าง ๆ รวมทั้งอุปกรณ์ที่ช่วยในการคำนวณอย่างง่าย ๆคือ” กระดานคำนวณ” และ “ลูกคิด” ในศตวรรษที่ 17 เครื่องคำนวณแบบใช้เฟื่องเครื่องแรกได้กำเนิดขึ้นจากนักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศษคือ Blaise Pascalโดยเครื่องของเขาสามารถคำนวณการบวกการลบได้อย่างเที่ยงตรง และในศตวรรษเดียวกันนักคณิตศาสตร์ชาวเยร์มัน คือ Gottried Wilhelm von Leibnizได้สร้างเครื่องคิดเลขเครื่องแรกที่สามารถคูณและหารได้ด้วยในต้นศตวรรษที่ 19 ชาวฝรั่งเศษชื่อ Joseph Marie Jacquard ได้พัฒนาเครื่องทอผ้าที่สามารถตั้งโปรแกรมได้

โดยเครื่องทอผ้านี้ใช้บัตรขนาดใหญ่ซึ่งได้เจาะรูไว้เพื่อควบคุมรูปแบบของลายที่จะปัก บัตรเจาะรู(punched card) ที่ Jacquard ใช้นี้ได้ถูกพัฒนาต่อๆมาโดยผู้อื่น เพื่อใช้เป็นอุปกรณ์ป้อนข้อมูลและโปรแกรมเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคแรกๆต่อมาในศตวรรษเดียวกัน ชาวอังกฤษชื่อ Charles Babbage ได้ทำการสร้างเครื่องสำหรับแก้สมการโดยใช้พลังงานไอน้ำเรียกว่า difference engineและถัดจากนั้นได้เสนอทฤษฎีเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์สมัยใหม่ เมื่อเขาได้ทำการออกแบบ เครื่องจักรสำหรับทำการวิเคราะห์ (analytical engine)โดยใช้พลังงานจากไอน้ำ ซึ่งได้มีการออกแบบให้ใช้บัตรเจาะรูของ Jacquard ในการป้อนข้อมูล ทำให้อุปกรณ์ชิ้นนี้มีหน่วยรับข้อมูล หน่วยประมวลผลหน่วยแสดงผล และหน่วยเก็บข้อมูลสำรอง ครบตามรูปแบบของคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ แต่โชคไม่ดีที่แม้ว่าแนวความคิดของเขาจะถูกต้องแต่เทคโนโลยีในขณะนั้นไม่เอื้ออำนวยต่อการสร้างเครื่องที่สามารถทำงานได้จริง

อย่างไรก็ดี Charles Babbage ก็ได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาของคอมพิวเตอร์คนแรกและผู้ร่วมงานของเขาคือ Augusta Ada Byron ก็ได้รับการยกย่องว่าเป็นนักเขียนโปรแกรมคนแรกของโลก

วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์มีกี่ยุค
https://kamonwanbah.wordpress.com/2014/08/30/%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%92%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD/

วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์

ยุคของคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สามารถแบ่งออกได้โดยแบ่งส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ (Hardward ) เป็น 5 ยุคด้วยกัน
ยุคที่ 1 (The First Generation)ปี ค.ศ. 1951 – 1958
คอมพิวเตอร์ในยุคแรกนี้ ใช้หลอดสูญญากาศในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ของเครื่องคอมพิวเตอร์ ทำให้ต้องการกำลังไฟฟ้าเลี้ยงวงจรที่มีปริมาณมากและทำให้มีความร้อนเกิดขึ้นมากจึงต้องติดตั้งเครื่องในห้องปรับอากาศ ความเร็วในการทำงานเป็นวินาที เครื่องคอมพิวเตอร์มีขนาดใหญ่ สื่อที่ใช้ในการเก็บข้อมูล คือ บัตรเจาะรู
ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมเพื่อควบคุมการทำงาน คือ ภาษาเครื่องซึ่งเป็นภาษาที่ใช้รหัสเลขฐานสอง ทำให้เข้าใจยาก

ยุคที่ 2 (The Second Generation) ปี ค.ศ. 1959 – 1964
เครื่องคอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลง กินไฟน้อยลง ราคาถูกลง เพราะมีการประดิษฐ์ทรานซิสเตอร์ขึ้นมาใช้แทนหลอดสูญญากาศ ทำให้ทำงานได้เร็วขึ้น ความเร็วในการทำงานเท่ากับ 1/103 วินาที (มิลลิเซคคั่น) และได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องมากกว่าใช้หลอดสูญญากาศ ทรานซิสเตอร์มีขนาดเล็กกว่าหลอดสูญญากาศ 200 เท่า และได้มีการสร้างวงแหวนแม่เหล็ก (Magnetic core) มาใช้แทนดรัมแม่เหล็ก (Magnetic drum) เป็นหน่วยความจำภายในซึ่งใช้ในการเก็บข้อมูลและชุดคำสั่ง
ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้เขียนโปรแกรมในยุคที่ 2 นี้ คือ ภาษาแอสแซมบลี้ (Assembly) ซึ่งเป็นภาษาที่ใช้สัญลักษณ์แทนคำสั่งต่าง ๆ ทำให้เขียนโปรแกรมได้ง่ายกว่าภาษาเครื่องเครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคนี้ เช่น IBM 1620,IBM 401, Honeywell

ยุคที่ 3 (The Third Generation) ปี ค.ศ. 1965 – 1970
เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ถูกพัฒนามาใช้ในยุคนี้เป็นวงจรรวม หรือ เรียกว่าไอซี (IC : Integrated Circuit) ซึ่งเป็นวงจอิเล็กทรอนกส์ที่ถูกบรรจุลงในแผ่นซิลิคอน (silicon) บาง ๆ ที่ เรียกว่า ซิป (Chip) ในซิปแต่ละตัวจะประกอบด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์หลายพันตัว จึงทำให้คอมพิวเตอร์มีขนาดเล็ลงกว่าเดิมแต่ความเร็วในการทำงานสูงขึ้น ความเร็วในการทำงานเป็น 1/106 วินาที่ (ไมโครเซคคั่น) กินไฟน้อยลง ความร้อนลดลงปละประสิทธิภาพในการทำงานเพิ่มขึ้น แต่ก่อนที่คอมพิวเตอร์จะเป็นวงจรรวม คอมพิวเตอร์จะถูกออกแบบเพื่อใช้กับงานแต่ละอย่าง เช่น ใช้ในงานคำนวณหรือใช้กับงานธุรกิจ เมื่อคอมพิวเตอร์ถูกพัฒนามาใช้วงจรรวมก็สามารถใช้กับงานที่ซับซ้อนได้มากขึ้น
IBM 360 เป็นหนึ่งในคอมพิวเตอร์ที่ใช้วงจรรวมที่สามารถทำงานได้ทั้งการประมวลผลแฟ้มข้อมูล และวิเคราะห์ค่าทางคณิตศาสตร์ ต่อมาบริษัท DEC (Digital Equiptment Corporation) ได้หันมามุ่งผลิตคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก เพื่อหลีกเลี่ยงการแข่งขันกับ IBM มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) จึงถูกพัฒนาขึ้นเป็นครั้งแรก ในช่วงยุคที่ 2 และนิยมใช้กันแพร่หลาย DEC ได้แนะนำมินิคอมพิวเตอร์เครื่องแรก และ PDP1 เป็นหนึ่งในมินิคอมพิวเตอร์ยุคแรกที่นิยมใช้กันแพร่หลายโดยเฉพาะในกลุ่มของนักวิทยาศาสตร์ นักวิศวกร และนักวิจัยตามมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีทางด้านซอฟต์แวร์ก็เกิดขึ้น โปรแกรมมาตรฐานได้ถูกเขียนขึ้นเพื่อใช้งานกับคอมพิวเตอร์ที่เป็นวงจรรวม และใช้เครื่องมาหลังจากที่ได้มีการปรับปรุงทางด้านฮาร์ดแวร์

ยุคที่ 4 (The fourth Generation) ปี ค.ศ. 1971
ในยุคนี้ได้มีการพัฒนาเอาวงจรรวมหลาย ๆ วงจรมารวมเป็นวงจรขนาดใหญ่ เรียกว่า LSI (Large Scalue Integrated) ลงในซิปแต่ละอัน บริษัทอินเทล (Intel) ได้สร้างไมโครโปรเซสเซอร์ (Microprocessor) ซึ่งเป็นซิป 1 อัน ที่ประกอบด้วยวงจรทั้งหมดที่ต้องใช้ในการประมวลผลโปรแกรม ไมโครโปรเซสเซอร์ซิปที่ใช้ในเครื่องพีซี (PC : Personal Computer) มีขนาดกระทัดรัดประกอบด้วยส่วนประกอบของ ซีพียู (CPU) 2 ส่วน คือ หน่วยควบคุม (Control Unit) และ หน่วยคำนวณและตรรก (Arithmetic / Logic Unit)
ปัจจุบันได้มีการสร้างวงจรอิเล็กทรอนิกส์หลายหมื่นวงจรรวมอยู่ในซิปเดียว เป็นวงจร LSI (Large Scalue Integrated) และ VLSI (Very Large Scale Integrated) ในยุคนี้ได้มีการสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่

ได้แก่ ไมโครคอมพิวเตอร์ มินิคอมพิวเตอร์ เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ และซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ได้รับความนิยมมากเพราะมีขนาดเล็ก กระทัดรัดและราคาถูกแต่มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ทำงานเร็วขึ้น ความเร็วในการทางานเป็น 1/109 วินาที (นาโนเซคคั่น) และ 1/1012 วินาที (พิโคเซคคั่น) นอกจากนี้วงจร LSI ยังได้ถูกนำไปใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่เป็นการลด ค่าใช้จ่ายพร้อมกับเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน

เนื่องจากการเพิ่มความจุของหน่วยบันทึกข้อมูลสำรองนี่เอง ซอฟต์แวร์ชนิดใหม่ได้พัฒนาขึ้น เพื่อให้สามารถเก็บรวมรวบและบันทึกแก้ไขข้อมูลจำนวณมหาศาลที่ถูกจัดเก็บไว้ นั่นคือ ซอฟร์แวร์ ฐานข้อมูล (Data base ) นอกจากนี้ ยังมีการถือกำเนิดขึ้นของเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลในปี 1975 คือเครื่อง Altair ซึ่งใช้ชิฟ intel 8080 และถัดจากนั้นก็เป็นยุคของเครื่อง และ ตามลำดับ ในส่วนของซอฟต์แวร์ก็ได้มีการพัฒนาให้เป็นมิตรกับผู้ใช้ มีขนาดใหญ่และซับซ้อนมากขึ้นเรื่อย ๆ รวมทั้งมีการนำเทคนิคต่าง ๆ เช่น OOP (Object-Oriented Programming) และ Visual Programming มาเป็นเครื่องมือช่วยในการพัฒนา
การพัฒนาที่สำคัญอื่นๆในยุคที่ 4 คือการพัฒนาเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์ความเร็วสูง ทำให้คอมพิวเตอร์สามารถเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนกันได้ โดยการใช้งานภายในองค์กรนั้น ระบบเครื่อข่ายท้องถิ่น (Local Araa Networks) ซึ่งนิยมเรียกว่า แลน (LANs) จะมีบทบาทในการเชื่องโยงเครื่องนับร้อยเข้าด้วยกันในพื้นที่ห่างไกลกันนัก ส่วนระบบเครื่องข่ายระยะไกล ( Wide Area Networks ) หรือ แวน (WANs) จะทำหน้าที่เชื่อมโยงเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ห่างไกลคนละซีกโลกเข้าด้วยกัน

ยุคที่ 5 (The Fifth Generation) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1980 – 1989
ในยุคที่ 4 และยุคที่ 5 ก็จัดเป็นยุคของคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันแต่ในยุคที่ 5 นี้มีการใช้คอมพิวเตอร์ เพื่อช่วยการจัดการและนำมาใช้สนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหารจึงเกิดสาขา MIS (Management Information System) ขึ้น
ในปี ค.ศ 1980 ญี่ปุ่นได้พยายามที่จะสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ให้สามารถคิดและ ตัดสินใจได้เอง โดยสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ให้มี “สติปัญญา” เพื่อใช้ในการตัดสินใจแทนมนุษย์จึงเกิดสาขาใหม่ขึ้นเรียกว่า สาขาปัญญาประดิษฐ์ (AI : Artificial Intelligence) สาขาปัญญาประดิษฐ์เป็นสาขาที่เน้นถึงความพยายามในการนำเอากระบวนการทางความคิดของมนุษย์มาใช้ในการ แก้ปัญหาด้วยระบบคอมพิวเตอร์ นอกจากนี้มีการตื่นตัวในการจัดเก็บข้อมูลเป็นระบบฐานข้อมูล (Database) การนำคอมพิวเตอร์มาใช้กับงานทางด้านกราฟิก และมีการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Software) เพื่อใช้กับงานเฉพาะอย่าง เช่น งานการเงิน งานงบประมาณ งานบัญชี งานสต๊อกสินค้า เป็นต้น

ยุคที่ 6 (Sixth Generation) ปี ค.ศ. 1990- ปัจจุบัน
ที่ผ่านมาทั้ง 5 ยุค พัฒนาการของคอมพิวเตอร์จะเป็นไปในทางการปรับปรุงการผลิต และการ เสริมสร้างความสามารถทางด้านการคำนวณของคอมพิวเตอร์
เป็นส่วนใหญ่ ซึ่งเป็นการจำกัด ความสามารถทางด้านการป้อนข้อมูล ในปัจจุบัน ความต้องการทางด้านการป้อนข้อมูลอย่างอิสระ โดยใช้เสียงและภาพ ซึ่งถือเป็น
การป้อนข้อมูลโดยธรรมชาตินั้นสูงขึ้นเรื่อยๆ ความต้องการคอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ที่ไม่เป็นเพียงแต่เครื่องคำนวณ จึงสูงขึ้นเรื่อย ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งความต้องการ
ประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในการแก้ปัญหาสังคม เศรษฐกิจ อุตสาหกรรม เทคโนโลยี การติดต่อระหว่างประเทศและอื่น ๆ ในช่วงทศวรรษปี 1990 เช่น

  1. การพัฒนาด้านการผลิตของอุตสาหกรรม การตลาด ธุรกิจ
  2. การพัฒนาทางด้านการติดต่อสื่อสารระหว่างประเทศ
  3. การช่วยเหลือทางด้านการประหยัดพลังงาน
  4. การแก้ไขปัญหาของสังคม การศึกษา การแพทย์ความสามารถที่คอมพิวเตอร์ยุคที่ 6 ควรจะมี อาจแบ่งได้ดังนี้
  • การพัฒนาปัญญาให้คอมพิวเตอร์ เพื่อที่จะสามารถนำไปใช้เป็นผู้ช่วยของมนุษย์ได้ สำหรับการพัฒนาด้านปัญญาของคอมพิวเตอร์หรือที่เรียกว่า AI (artificial intelligence) อาจกล่าวได้ว่าเป็นการพัฒนาด้านการป้อนข้อมูลด้วยเสียงและภาพ ความสามารถในการโต้ตอบด้วยภาษาพูด ความสามารถในการเก็บข้อมูลในด้านความรู้และการนำความรู้ไปใช้ การค้นหาความรู้จากข้อมูลมหาศาสล และอื่น ๆ
  • การลดความยากลำบากในการผลิตซอฟต์แวร์ เป็นการพัฒนาทางด้านการเขียนโปรแกรม พัฒนา ภาษาของโปรแกรมให้ง่ายขึ้น วิธีการติดต่อกับผู้ใช้ และอื่น ๆ
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์มีกี่ยุค
https://kamonwanbah.wordpress.com/2014/08/30/%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%92%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD/

01/.ม.ค./1951(วันที่ประมาณการ)

การวิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์มีกี่ยุค

นับตั้งแต่มีการประดิษฐ์คอมพิวเตอร์เครื่องแรกมาจนกระทั่งปัจจุบัน เราสามารถแบ่ง ยุคของการพัฒนาคอมพิวเตอร์ออกเป็นยุคต่างๆ ได้ 5 ยุค โดยพิจารณาจากเทคโนโลยีที่ใช้ ในการสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์

วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ในยุคแรกคือยุคใด

1. คอมพิวเตอร์ยุคที่ 1 (1946 - 1959) เครื่องคอมพิวเตอร์ยุคนี้ใช้หลอดสูญญากาศเป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ หลอดสูญญากาศนี้มีหน้าตาคล้ายๆ หลอดไฟใสๆ ทำหน้าที่เหมือนสวิทช์เปิด ปิด วงจรไฟฟ้าต่างๆ ให้เชื่อมต่อกัน ซึ่งมีข้อเสียหลายอย่าง คือ ต้องใช้หลอดสูญญากาศจำนวนมาก ทำให้เครื่องมีขนาดใหญ่มาก ประมาณว่าเป็นห้องๆ เลยทีเดียว และการ ...

ยุคของคอมพิวเตอร์มีอะไรบ้าง

เครื่องคอมพิวเตอร์ในแต่ละยุค.
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 1 (พ.ศ. 2497-2501).
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 2 (พ.ศ. 2502-2507).
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 3 (พ.ศ. 2508-2513).
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 4 (พ.ศ. 2514-2523).
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 5 (พ.ศ. 2524-ปัจจุบัน).

คอมพิวเตอร์ยุคที่ 5 ชื่อ อะไร

Very Large Scale Integration : VLSI Page 18 ตัวอย่างคอมพิวเตอร์ยุคที่4 Page 19 ตัวอย่างคอมพิวเตอร์ยุคที่4 Page 20 ตัวอย่างคอมพิวเตอร์ยุคที่4 Page 21 5. คอมพิวเตอร์ยุคที่ห้า (ค.ศ. 1980-ปัจจุบัน) คอมพิวเตอร์ยุคนี้เรียกว่า ปัญญาประดิษฐ์ (ARTIFICIAL.