การแบ่งยุคของวรรณคดีไทยมีกี่ยุค

������ظ�� �����������Ѫ�������稾�����ҸԺ�շ�� � (���ͧ)
���֧�Ѫ��ž�����������Ǻ����   ���� � �͹

� �ؤ��ا�����ظ�ҵ͹��  (�.�.���� - ����)
      ��������¾��������ͧ ���֧�����������ҸԺ�շ�� �

� �ؤ��ا�����ظ�ҵ͹��ҧ  (�.�.���� - ����)
      ��������¾����ҷç����
      ���֧�������稾�й���³�����Ҫ

� �ؤ��ا�����ظ�ҵ͹����  (�.�.���� - ����)
      ��������¾�����������Ǻ����  �֧���¡�ا���駷�� �

บทที่ 3 ยุคสมัยของวรรณคดีไทย

วรรณคดีไทยแบ่งสมัยการแต่งได้ดังนี้

๑ . วรรณคดีสมัยสุโขทัย ( พ.ศ. ๑๘๐๐ – ๑๙๒๐ )
๒ . วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนต้น ( พ.ศ. ๑๘๙๓ – ๒๐๗๒ )
๓ . วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง ( ยุคทองของวรรณคดี พ.ศ. ๒๑๖๓ – ๒๒๓๑๔)
๔ . วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนปลาย ( พ.ศ. ๒๒๙๕ – ๒๓๑๐๕ )
๕ . วรรณคดีสมัยธนบุรี ( พ.ศ. ๒๓๑๐ – ๒๓๒๕๖ )
๖ . วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ ( พ.ศ. ๒๓๒๕ – ปัจจุบัน )

การแบ่งยุคของวรรณคดีไทยมีกี่ยุค

Share this:

  • Twitter
  • Facebook

Like this:

Like Loading...

��ó����� ������բ�鹵�������¡�ا��⢷�����Ҫ�ҹբͧ�� �Ҩ���ا�ѵ���Թ��� ��ó��������Դ��鹷ء�Ѫ��� ���Щй�����¢ͧ��ó������Ҩ���¡�����й���ͧ�����ҡ�ѵ����������ó����Դ��鹡��� ��㹷����������ԧ����ӴѺ���ҵ������ѵ���ʵ��ͧ�ҵ�������ѡ ��ѧ���仹��

การแบ่งยุคของวรรณคดีไทยมีกี่ยุค

การแบ่งยุคสมัยของวรรณคดี นิยมแบ่งตามช่วงระยะเวลาที่เกิดวรรณคดี โดยยึดราชธานีเป็นหลัก ดังนี้
1. สมัยกรุงสุโขทัย ประมาณ พ.ศ. 1800 -1920
เป็นเวลา 120 ปี ตั้งแต่การสร้างกรุงสุโขทัยจนถึงเสียอิสรภาพแก่กรุงศรีอยุธยา เมื่อ พ.ศ. 1920 มีหลักฐานทางวรรณคดีปรากฏอยู่เพียง 2 รัชสมัย คือ สมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช และสมัยพระมหาธรรมราชาที่ 1 (พระยาลิไท)
2. สมัยกรุงศรีอยุธยา แบ่งเป็น 3 ระยะ คือ
สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น ตั้งแต่สมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) จนถึงสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 (พระเชษฐา) พ.ศ. 1893 – 2072 เป็นระยะเวลา 179 ปี จากนั้นวรรณคดีว่างเว้นไป 90 ปี เพราะบ้านเมืองไม่ปกติสุข มีสงครามกับพม่า
สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนกลาง ตั้งแต่สมัยสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม จนถึงสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช พ.ศ. 2153 – 2231 เป็นเวลา 78 ปี จากนั้นวรรณคดีว่างเว้นไปอีก 44ปี
สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย สมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ จนถึงเสียกรุงศรีอยุธยา พ.ศ. 2275 – 2310 เป็นเวลา 35 ปี
3. สมัยกรุงธนบุรี พ.ศ. 2310 – 2325 เป็นเวลา 15 ปี
4. สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ แบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ
สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น ตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว พ.ศ. 2325 – 2394 เป็นระยะเวลา 69 ปี
สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ปัจจุบัน หรือสมัยรับอิทธิพลตะวันตก ตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พ.ศ. 2394 ถึงปัจจุบัน เป็นสมัยที่วรรณคดีไทยได้รับอิทธิพลจากตะวันตก รูปแบบของวรรณคดี เนื้อเรื่อง ตลอดจนความคิดในการเขียนเริ่มมีการเปลี่ยนแปลง

การแบ่งสมัยของวรรณคดีมีอยู่หลายแบบ แต่สรุปได้โดยถือเอาเมืองหลวงเป็นจุดศูนย์กลาง   จึงแบ่งออกเป็น ๔ สมัย

        ๑. สมัยสุโขทัย พ.ศ. ๑๘๐๐-๑๙๒๐         ๒. สมัยกรุงศรีอยุธยา พ.ศ. ๑๘๙๓-๒๓๑๐         ๓. สมัยกรุงธนบุรี พ.ศ. ๒๓๑๐-๒๓๒๕

        ๔. สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ พ.ศ. ๒๓๒๕- ๒๔๖๘

การแบ่งยุคของวรรณคดีไทยมีกี่ยุค


ยุคสมัยทางวรรณคดีไทยสมัยอยุธยาแบ่งออกเป็นกี่ระยะ

การแบ่งยุควรรณกรรม วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนต้น (ราว พ.ศ. 1893 - 2072) วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนปลาย (ราว พ.ศ. 2163 - 2310) วรรณคดีสมัยธนบุรี (ราว พ.ศ. 2311 - 2324) วรรณกรรมสมัยรัตนโกสินทร์ (ราว พ.ศ. 2325 - ปัจจุบัน)

พัฒนาการของวรรณคดีสมัยกรุงรัตนโกสินทร์แบ่งออกเป็นกี่ระยะ

๔. วรรณคดีสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ แบ่งออกตามพัฒนาการของ วรรณกรรมได้ ๒ ระยะ คือ ๔.๑ วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น เริ่มตั้งแต่ประมาณ พ.ศ. ๒๓๒๕-๒๓๙๔ โดยเริ่ม ตั้งแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธ ยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช จนถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า เจ้าอยู่หัว

วรรณคดีเกิดขึ้นในสมัยใด

วรรณคดี หมายถึง วรรณกรรมหรืองานเขียนที่ยกย่องกันว่าดี มีสาระ และมีคุณค่าทางวรรณศิลป์ การใช้คำว่าวรรณคดีเพื่อประเมินค่าของวรรณกรรมเกิดขึ้นในพระราชกฤษฎีกาตั้งวรรณคดีสโมสรในสมัยรัชกาลที่ 6 (พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว)

วรรณคดีสมัยอยุธยาสามารถแบ่งสมัยได้อย่างไร

แบ่งยุคของวรรณคดีไทยสมัยอยุธยาเป็น 3 ช่วง ดังนี้ วรรณคดีอยุธยาตอนต้น นับตั้งแต่สมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่1 จนถึงพระอาทิตยวงศ์ (พ.ศ.1893-2172) วรรณคดีอยุธยาตอนกลาง นับตั้งแต่สมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง จนถึงสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (พ.ศ.2172-2231) ที่เรียกกันว่า เป็นยุคทองของวรรณคดีไทยสมัยอยุธยา