อาชีพมีความสําคัญต่อการดําเนินชีวิตอย่างไร บอกมา 5 ข้อ

      1. �դ������ҧ�Ԫҡ�ô�ҹ��ҧ � �����ʹ������ҡ���
      2. ����ö�Ӥ�����������Ѻ�ҡ������¹���㹡�û�Сͺ�Ҫվ��С�þѲ���ԪҪվ�ͧ��
      3. �Ӥ���������㹡�ô��Թ���Ե��Ш��ѹ�ͧ�����ҧ�դس�Ҿ
      4. �鷴�ͺ��������ö�ͧ�� 㹡�����¹����к�����͹�ҧ�������Է������Դ
      5. ����ö���͹�ش�Ԫҷ�����Ѻ����ķ�Ժѵ�������ѡ�ٵá���֡���дѺ��ԭ�ҵ�����
��С�ȹ�ºѵâͧ �ʸ. ����ç���ҧ��ѡ�ٵûѨ�غѹ �������Ѥ��繹ѡ�֡������ͧ �ʸ.

          ความจําเป็นในการพัฒนาอาชีพในชุมชน สังคม ประเทศ และภูมิภาค 5 ทวีป ได้แก่ ทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลีย ทวีปอเมริกา ทวีปยุโรป และทวีปแอฟริกา ที่เหมาะสมกับตนเอง วิเคราะห์ความเป็นไปได้ต่าง ๆ ได้แก่ การลงทุน การตลาด กระบวนการผลิต การขนส่ง การบรรจุหีบห่อ การแปรรูป และผลกระทบต่อชุมชน และสิ่งแวดล้อม ความรู้ความสามารถของตนเองต่อสิ่งที่ ต้องการพัฒนา การลําดับความสําคัญของการพัฒนาที่มีความเป็นไปได้ เพื่อนําข้อมูลที่วิเคราะห์ไว้ นําไปปรึกษาผู้รู้ การตัดสินใจเลือกพัฒนาอาชีพที่เหมาะสมกับตนเอง โดยวิเคราะห์ความพร้อมของ ตนเอง ความต้องการของตลาด เทคนิคความรู้ ทักษะในอาชีพ และความรับผิดชอบต่อสังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

     เมื่อประชาชนในชาติมีการประกอบอาชีพ  มีรายได้มาเลี้ยงตนเองและครอบครัว  ทำให้อัตราการว่างงานลดน้อยลง  ย่อมเป็นการแก้ไขปัญหาสังคมให้กับรัฐบาล  สภาพสังคมมีความเป็นอยู่ที่ดี  มีการใช้ทรัพยากรภายในชุมชน  รายได้เกิดการหมุนเวียน  ทำให้เศรษฐกิจโดยรวมของประเทศก้าวหน้า ผลจากการที่ประชาชนประกอบอาชีพ มีงานทำ มีรายได้ชุมชนมีความเข้าแข็งและชำระภาษีให้แก่รัฐ เพื่อรัฐจะได้นำไปพัฒนาประเทศในด้านต่างๆ เช่น การสร้างถนน สะพาน เขื่อน โรงไฟฟ้า เป็นต้น การประกอบอาชีพของประชาชน ในชุมชนและในประเทศ จึงเป็นการช่วยพัฒนาประเทศชาติได้อีกทางหนึ่ง

อาชีพ หมายถึง การทำงานซึ่งมีผลตอบแทนออกมาในรูปของรายได้เพื่อบุคคลนำไปดำรงชีพทั้งของตนและครอบครัว งานที่ทำนั้นต้องเป็นงานที่สุจริต ก่อให้เกิดประโยชน์แก่สังคมโดยส่วนรวม โดยไม่ทำให้ตนเอง และผู้อื่นเดือดร้อน

 ความสำคัญของการประกอบอาชีพ

1. ทำให้มีรายได้ประจำเลี้ยงตนเองและครอบครัวโดยซื้อหรือจัดหาสิ่งจำเป็นสำหรับการดำรงชีวิต

2.ทำให้มีโอกาศใช้ความรู้ความสามารถที่มีอยู่ทำงานให้เป็นประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติ

3.ทำให้มีโอกาศสร้างชื่อเสียงให้แก่ตนเองและวงศ์ตระกูล เป็นที่ยอมรับของบุคคลในสังคม

4ใทำให้มีหลักฐานมั่นคง เป็นที่เคารพนับถือของบุคคลอื่นๆ

5.ทำให้รู้จักใช้เวลาว่าให้เป็นประโยชน์ จะได้ไม่ประพฤติตนไร้สาระ

6.ทำให้บึคคลเกิดความภาคภูมิใจในตนเอง ที่สามารถพึ่งตนเองได้ และยังทำประโยชน์แก่สังคมโดยส่วนร่วมด้วย

วิจัยในช้นั เรียน

เรือ่ ง การแก้ไขปัญหาการอา่ นออกเสียงคำควบกลำ้
โดยใช้แบบฝึกทกั ษะ ของนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 3

ผูส้ อน
นางสาวดาราวรรณ ธนนั ฐิตวิ ัชร์

ตำแหน่ง ครู คศ.๑

โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๒๔ จงั หวดั พะเยา
สงั กัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน

บทที่ 1

บทนำ

ความเป็นมาและความสำคญั ของปญั หา

การอ่านเป็นส่วนสำคัญในทักษะการเรียนรู้ทางภาษาไทย เพราะทักษะการอ่านนั้น เป็นทักษะ
พื้นฐานในการแสวงหาหาความรู้ ทำให้รู้ข่าวสารข้อมูลต่าง ๆ ทั่วโลก ซึ่งปัจจุบันเป็นโลกของข้อมูล
ข่าวสาร การอ่านจึงมีประโยชน์ในการพัฒนาตนเอง คือ พัฒนาการศึกษา พัฒนาอาชีพ พัฒนา
คุณภาพชีวิต ทำให้เป็นคนทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์ และมีความอยากรู้อยากเห็น การที่จะพัฒนา
ประเทศให้เจริญรุ่งเรืองก้าวหน้าได้ต้องอาศัยประชาชนที่มีความรู้ความสามารถ ซึ่งความรู้ต่าง ๆ ก็
ได้มาจากการอ่าน โดยเฉพาะการอ่านออกเสียง ซึง่ เป็นส่วนหนึ่งของทักษะการอา่ น เปน็ การเปลง่ เสียง
ตามตัวอักษร ถ้อยคำ และเครื่องหมายต่าง ๆ ที่กำหนดไว้ให้ โดยถือว่าการอา่ นออกเสียงถือเป็นการ
สื่อความหมายที่กอ่ ให้เกิดความเข้าใจในภาษา นักเรียนจะต้องอ่านออกเสียงให้ถูกต้อง ชัดเจน เพื่อให้
สามารถรับข้อมลู ข่าวสารได้อย่างถูกต้อง และตรงประเด็น

ดังที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ( 2551: 3 ) ได้กล่าวถึง
ความสำคัญของการเรียนภาษาไทยในสาระการอา่ นไว้ว่า การอานออกเสียงคํา ประโยค การอานบท
รอยแกว คําประพันธชนิดตางๆ การอานในใจเพื่อสรางความเขาใจ และการคิดวิเคราะห สังเคราะห
ความรจู ากสิง่ ที่อาน เพือ่ นําไปปรบั ใชในชีวิตประจําวนั แสดงให้เหน็ ชดั เจนว่าการอา่ นเป็นทักษะสำคัญ
ของการเรียนภาษาไทย และยงั เปน็ สว่ นสำคัญที่ทำให้เกิดความภาคภูมิใจในความเป็นไทย

นอกจากนี้หลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ได้กำหนดผล
การเรียนรู้ที่คาดหวังให้ผู้เรียนที่จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ว่าต้องสามารถ อานออกเสียงบทรอยแกว
และบทรอยกรอง เปนทํานองเสนาะไดถูกตอง เขาใจความหมายโดยตรงและความหมายโดยนัย
จับใจความสําคัญและรายละเอียดของสิ่งที่อาน แสดงความคิดเหน็ และขอโตแยงเกี่ยวกับเรื่องที่อาน
และเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด ยอความ เขียนรายงานจากสิ่งที่อานได วิเคราะห วิจารณ อยางมี
เหตผุ ล ลาํ ดับความอยางมีขั้นตอนและความเปนไปไดของเรื่องที่อาน รวมทั้งประเมินความถูกตองของ
ขอมูลที่ใชสนบั สนนุ จากเรือ่ งที่อาน ( กรมวิชาการ, 2551: 6 ) การมีความรู้ในดา้ นการอ่านที่ถกู ต้อง จึง
สามารถทำให้ผู้เรียนได้ตอ่ ยอดการเรียนรู้ภาษาไทยในช้ันเรียนที่สงู ขึ้น รวมถึงมีประโยชน์ต่อการศึกษา
และการใช้ชีวิตประจำวนั

สภาพปัญหาที่ผู้วิจัยได้ศึกษาจากการวิเคราะห์สภาพปัญหาในการจัดการเรียนการสอนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 24 จงั หวดั พะเยา ผู้วิจัยรวบรวมข้อมูลจากการสังเกต
และแบบทดสอบก่อนเรียน พบปัญหาด้านการเรียนการสอนภาษาไทยใน สาระที่ 1 การอ่าน คือ

นักเรียนอ่านออกเสียงคำควบกล้ำได้ไม่ชัดเจน เช่น การออกเสียง ร, ล และคำควบกล้ำ ร ล ว อาทิ
เชน “ร”ู้ ออกเสียงเปน “ล”ู้ “กราบ” ออกเสียงเปน “กาบ” “ปราบปราม” ออกเสียงเปน “ปลาบปลาม”
หรือ “ปาบปาม” “เปลี่ยนแปลง” ออกเสียงเปน “เปยนแปง” “เกรงกลัว” ออกเสียงเปน “เกงกัว” ซึ่ง
ส่งผลกระทบต่อความสามารถด้านการอ่านออกเสียง ทำให้นักเรียนอ่าน หรือสื่อสารในรายวิชาไม่
ชัดเจน ผิดเพีย้ นไป และอาจทำให้เสยี บคุ ลกิ ภาพได้

การวิจัยในครั้งนี้ผู้วิจัยสนใจศึกษานวัตกรรมที่หลากหลาย และได้นำแบบฝึกทักษะมาใช้ใน
การแก้ไขปัญหาการออกเสียงคำควบกล้ำ ซึ่งแบบฝึกทักษะ เป็นแบบฝึกที่ช่วยส่งเสริมทักษะ
การเรียนภาษาไทย สำหรับให้นักเรียนฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง เพื่อให้มีทักษะการอ่านที่ดีขึ้น เนื่องจาก
แบบฝึกทักษะ ประกอบดว้ ยกจิ กรรมทีห่ ลากหลาย นา่ สนใจที่จะนำมาใช้ เพือ่ ให้ผู้เรยี นได้ฝึกฝนทบทวน
ปฏิบัติเพิ่มเติมขึ้น เพื่อจะได้เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการเรียนรู้ให้เกิดความคล่องแ คล่ว
ความชำนาญ ตลอดจนเกิดความแม่นยำ ซึง่ เป็นไปโดยอตั โนมตั ิ ดว้ ยการทบทวนเนอื้ หาความรู้ต่างๆ ที่
เรียน ดังนั้นแบบฝึกทักษะจึงมีความจำเป็นต่อการเรียนการสอนและสามารถช่วยให้ผู้เรียนได้แก้ไข
ข้อบกพร่องทางการเรียนได้ ดังที่วิมลรตั น์ สุนทรโรจน์ ( 2545: 13 ) กล่าวถึงความสำคัญของแบบฝกึ
ทักษะว่า เป็นเทคนิคการสอนที่สนุกอีกวิธีหนึ่ง คือการให้นักเรียนทำแบบฝึกมากๆ สิ่งที่จะช่วยให้
นกั เรยี นมีพัฒนาการดา้ นภาษาดขี นึ้ คือ แบบฝึกทกั ษะ เพราะนักเรียนนำความรู้ที่เรียนมาแล้ว มาฝึกให้
เกิดความรู้ความเข้าใจที่กว้างขวางยิ่งขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับ มนทิรา ภักดีณรงค์ ( 2540: 99-100 )
ที่กล่าวว่า แบบฝึกเป็นเครื่องมือที่ช่วยในการเสริมทักษะและพัฒนาการเรียนการสอนให้บรรลุ
วตั ถุประสงคข์ องหลกั สูตร โดยเฉพาะวิชาภาษาไทยซึ่งเปน็ วิชาทกั ษะ หากได้มกี ารปฏิบัตอิ ย่างถูกวิธีจะ
ทำให้การเรียนการสอนประสบความสำเร็จมากขึ้น นอกจากนี้ยังสอดคล้องกับนิมิตร เพชรจำนงค์
( 2547: 37 ) ที่กล่าวว่า แบบฝึกทักษะมีความสำคัญและมีประโยชน์ต่อการเรียนการสอนวิชาที่เป็น
ทักษะมาก เพราะชว่ ยให้ผู้เรยี นเข้าใจบทเรียนไดด้ ียิ่งข้นึ สามารถจดจำเนอื้ หาในบทเรียนได้คงทน ทำให้
เกิดความสนุกสนานในขณะเรียน ผู้เรยี นทราบความก้าวหน้าของตนเอง สามารถนำแบบฝึกมาทบทวน
เนือ้ หาเดมิ ดว้ ยตนเองได้ นำมาวัดผลการเรียนหลังจากทีเ่ รียนแลว้ ตลอดจนสามารถทราบข้อบกพร่อง
ของนักเรยี น และนำไปปรับปรงุ แก้ไขไดท้ นั ทว่ งที

จากแนวคิดของนักวิชาการและปัญหาการออกเสียงคำควบกลำ้ ที่กล่าวไปนั้น ผู้สอนจึงจัดการ
เรียนการสอนโดยนำแบบฝึกทักษะมาเป็นส่อื การสอนเพือ่ ส่งเสริมให้นกั เรียนสามารถอ่านออกเสียงคำ
ควบกลำ้ ได้ถกู ต้องและชัดเจนขนึ้

วตั ถุประสงค์การวิจัย

1. เพื่อแก้ไขปญั หาการอ่านออกเสียงคำควบกลำ้
2. เพือ่ ศึกษาผลสัมฤทธิห์ ลงั การเรียนการสอนโดยใช้แบบฝึกทักษะ

สมมตุ ิฐานการวิจยั

ผลการแก้ไขปัญหาการอ่านออกเสียงคำควบกล้ำโดยใช้แบบฝึกทักษะ มีผลสัมฤทธิ์ไม่ต่ำกว่า
ร้อยละ 70

ขอบเขตของการวิจัย

ขอบเขตดา้ นกลุม่ เป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่กำลังศึกษาใน

ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 2 คน ได้รับการคัดเลือกอย่างเจาะจงโดยพิจารณาจากการ

คดั กรองการอา่ น

ขอบเขตด้านเน้อื หา

การวิจัยครั้งนี้กำหนดขอบเขตของเนื้อหาในการวิจัย คือ การอ่านคำควบกล้ำ ซึ่งเป็น

คำศพั ท์ ในหนงั สือเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3

ขอบเขตดา้ นตัวแปร

ตัวแปรต้น คือ การสอนโดยใช้แบบฝึกทกั ษะ

ตัวแปรตาม คือ ความสามารถในการอา่ นคำควบกล้ำ

ขอบเขตดา้ นระยะเวลา

ระยะเวลาในการศึกษาและค้นคว้าในการวิจัยครง้ั นี้ คือ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา

2563 จำนวน 6 แผน แผนละ 2 ช่ัวโมง รวม 6 ช่วั โมง ใช้ระยะเวลา 2 สัปดาห์ สัปดาหล์ ะ 6 ช่วั โมง

ดงั นี้

แผนที่ 1 เรือ่ ง การอานออกเสียงควบกล้ำ กร กล กว จำนวน 2 ชั่วโมง

แผนที่ 2 เรือ่ ง การอานออกเสียงควบกล้ำ ขว คว จำนวน 2 ช่ัวโมง

แผนที่ 3 เรือ่ ง การอานออกเสียงควบกล้ำ ขร ขล จำนวน 2 ชวั่ โมง

แผนที่ 4 เรื่อง การอานออกเสียงควบกล้ำ คร คล ตร จำนวน 2 ชั่วโมง

แผนที่ 5 เรือ่ ง การอานออกเสียงควบกล้ำ ปร ปล จำนวน 2 ชว่ั โมง

แผนที่ 6 เรื่อง การอานออกเสียงควบกล้ำ พร พล ผล จำนวน 2 ชวั่ โมง

นยิ ามศพั ท์เฉพาะ

ในการวิจยั ครงั้ นีผ้ ู้วิจยั ได้กำหนดนิยามศพั ทเ์ ฉพาะที่ใช้ในการวิจยั ไว้ดงั นี้

การแกไ้ ขปญั หา หมายถึง ความสามารถในการนำความรู้ ประสบการณ์ มาบริหารจัดการกับ
สภาวะที่ไม่สมดุล ให้ได้ผลดีขึ้นกว่าเดิม โดยจะต้องพิจารณาปัญหาอย่างรอบคอบ ถึงสาเหตุ และ
ผลกระทบ ตลอดจนหาแนวทางทีเ่ หมาะสมทีส่ ุดเพือ่ นำมาแก้ไขปญั หาทีเ่ กิดขนึ้

แบบฝึกทักษะ หมายถึง สิ่งที่สร้างขึ้นเพือ่ ประกอบการเรียนการสอน เสริมสร้างทักษะให้แก่
นักเรยี น มีลักษณะเป็นแบบฝึกหดั ให้นักเรยี นทำกิจกรรม ทบทวนความรู้ หรือฝึกทำซ้ำ

คำควบกล้ำ หมายถึง พยัญชนะสองตวั เขียนเรียงกนั อยู่ต้นพยางค์ และใช้สระเดยี วกัน
การอ่านออกเสียงคำควบกล้ำ หมายถึง การอ่านออกเสียงพยัญชนะสองตัวพร้อมกัน
กล้ำเป็นพยางค์เดยี วกับเสยี งวรรณยุกตข์ องพยางค์ ซึ่งจะผันเปน็ ไปตามเสยี งพยญั ชนะตัวหน้า
นักเรียน หมายถึง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 24
จังหวัดพะเยา จำนวน 2 คน ได้รับการคดั เลอื กอย่างเจาะจงโดยพิจารณาจากการคดั กรองการอา่ น

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รบั

1. ได้ศึกษาวิเคราะหป์ ญั หาจากสภาพจริง ในการเรียนการสอนภาษาไทย และแก้ไขปญั หาที่
เกิดขนึ้ อยา่ งเหมาะสม

2. ได้นวตั กรรมการสอน แนวทางในการจัดกิจกรรม มาปรับใช้ให้เกิดประสิทธิภาพใน
การเรียนการสอน

3. ได้ชว่ ยแก้ไขปญั หานกั เรียนที่อา่ นออกเสียงคำควบกลำ้ ให้สามารถอา่ นได้ ถูกต้อง ชัดเจน
4. ได้แผนการจดั การเรียนรู้ที่มคี วามเหมาะสมในการจดั การเรียนการสอนภาษาไทย

บทที่ 2

วรรณกรรมทีเ่ กีย่ วขอ้ ง

วิจัยในชั้นเรียน เรือ่ ง การแก้ไขปญั หาการอา่ นออกเสียงคำควบกลำ้ โดยใช้แบบฝึกทักษะ
ของนกั เรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๓ ผู้วิจยั ขอเสนอเอกสารและงานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้องเพือ่ แสดงถึงองค์
ความรทู้ ีน่ ำมาใช้โดยเสนอเป็นประเด็นหลกั ดังนี้

1. หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน 2551 สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย
1.1 สาระภาษาไทย
1.2 มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ช้ีวดั กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3
1.3 คุณภาพของผู้เรยี นกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย เมื่อจบช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3

2. การอ่าน
2.1 การอ่านออกเสียง
2.2 การอ่านออกเสียงควบกลำ้

3. แนวคิดทฤษฎีทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับแบบฝึกเสรมิ ทักษะ
3.1 ความหมายของแบบฝึกเสริมทกั ษะ
3.2 ประโยชนข์ องแบบฝึกเสริมทกั ษะ

4. เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง

1. หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน 2551 สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย
สาระการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย กำหนด

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ( กรมวิชาการ, 2551: 34 ) ดงั ตอ่ ไปนี้
1.1 สาระภาษาไทย มีรายละเอียดของหลักสูตรภาษาไทยทีเ่ ปน็ องค์ความรู้ ทกั ษะหรือ

กระบวนการเรียนรู้และคุณธรรม จริยธรรมและคา่ นยิ มประกอบดว้ ย
สาระที่ 1 : การอา่ น
สาระที่ 2 : การเขียน
สาระที่ 3 : การฟงั การดู และการพดู
สาระที่ 4 : หลักการใช้ภาษา
สาระที่ 5 : วรรณคดแี ละวรรณกรรม

1.2 มาตรฐานการเรยี นรู้และตัวชี้วัดกล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย
ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 3 มีดงั นี้

มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอา่ นสร้างความรแู้ ละความคิด เพื่อนำไปใช้ตดั สินใจ
แก้ปญั หาในการดำเนนิ ชีวิตและมีนิสัยรักการอา่ น ประกอบดว้ ยตวั ช้ีวัด

1. อา่ นออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองไดถ้ กู ต้อง และเหมาะสมกบั
เรื่องที่อา่ น

2. ระบคุ วามแตกต่างของคำที่มีความหมายโดยตรง และความหมายโดยนัย
3. ระบใุ จความสำคญั และรายละเอียดของข้อมูลที่สนบั สนนุ จากเรอ่ื งที่อ่าน
4. อา่ นเรือ่ งต่าง ๆ แล้วเขียนกรอบแนวคิดผังความคิดบันทึก ยอ่ ความและ
รายงาน
5. วเิ คราะหว์ ิจารณ์ และประเมินเรือ่ งที่อ่านโดยใช้กลวิธีการเปรียบเทียบ
เพือ่ ให้ผู้อา่ นเข้าใจไดด้ ขี นึ้
6. ประเมินความถกู ต้องของข้อมลู ที่ใช้สนับสนุนในเรื่องที่อา่ น
7. วิจารณ์ความสมเหตุสมผลการลำดบั ความและความเป็นไปได้ของเรื่อง
8. วิเคราะหเ์ พือ่ แสดงความคิดเห็นโต้แย้งเกีย่ วกบั เรือ่ งที่อา่ น
9. ตีความและประเมินคุณค่า และแนวคิด ทีไ่ ดจ้ ากงานเขียนอยา่ งหลากหลาย
เพื่อนำไปใช้แก้ปญั หาในชีวิต
10. มีมารยาทในการอ่าน
มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียนเขียนส่ือสาร เขียนเรียงความ ยอ่ ความ และ
เขียนเรื่องราวในรูปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมลู สารสนเทศ และรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมี
ประสิทธิภาพ ประกอบดว้ ยตัวช้ีวัด
1. คดั ลายมือตัวบรรจงครง่ึ บรรทดั
2. เขียนข้อความโดยใช้ถอ้ ยคำได้ถกู ต้องตามระดับภาษา
3. เขียนชีวประวตั หิ รืออัตชีวประวตั โิ ดยเล่าเหตกุ ารณ์ข้อคิดเหน็ และทัศนคติ
ในเรือ่ งต่างๆ
4. เขียนยอ่ ความ
5. เขียนจดหมายกิจธรุ ะ
6. เขียนอธิบายชีแ้ จง แสดงความคิดเห็นและโต้แย้งอยา่ งมีเหตผุ ล
7. เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรคู้ วามคิดเห็น หรือโต้แย้งในเรือ่ ง
ต่างๆ
8. กรอกแบบสมคั รงานพร้อมเขียนบรรยายเกี่ยวกบั ความรแู้ ละทักษะของ
ตนเองทีเ่ หมาะสมกบั งาน

9. เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าและโครงงาน
10. มีมารยาทในการเขียน
มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟงั และดอู ย่างมวี ิจารณญาณ และพดู แสดงความรู้
ความคิด และความรู้สึกในโอกาสตา่ งๆ อยา่ งมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์
1. แสดงความคิดเห็นและประเมินเรื่องจากการฟังและการดู
2. วิเคราะหแ์ ละวิจารณเ์ รื่องทีฟ่ งั และดูเพือ่ นำข้อคิดมาประยกุ ตใ์ ช้ใน
การดำเนนิ ชีวิต
3. พดู รายงานเรือ่ งหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้า จากการฟงั การดู และ
4. พดู ในโอกาสต่างๆได้ตรงตามวัตถปุ ระสงค์
5. พูดโน้มน้าวโดยนำเสนอหลกั ฐานตามลำดับเนอื้ หาอยา่ งมีเหตุผลและ
นา่ เชื่อถือ
6. มีมารยาทในการฟงั การดแู ละการพดู
มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลย่ี นแปลงของ
ภาษาและพลังของภาษา ภมู ิปัญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบตั ิของชาติ
1. จำแนกและใช้คำภาษาตา่ งประเทศที่ใช้ในภาษาไทย
2. วิเคราะหโ์ ครงสร้างประโยคซบั ซ้อน
3. วเิ คราะห์ระดบั ภาษา
4. ใช้คำทับศัพทแ์ ละศพั ทบ์ ัญญัติ
5. อธบิ ายความหมายคำศัพทท์ างวิชาการและวิชาชีพ
6. แตง่ บทรอ้ ยกรอง
มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเหน็ วิจารณว์ รรณคดแี ละวรรณกรรมไทย
อยา่ งเหน็ คณุ คา่ และนำมาประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตจริง
1. สรุปเนือ้ หาวรรณคดวี รรณกรรมและวรรณกรรมท้องถิน่ ในระดับทีย่ าก
ยิง่ ข้นึ
2. วิเคราะหว์ ิถีไทย และคณุ ค่าจากวรรณคดี และวรรณกรรมทีอ่ ่าน
3. สรปุ ความรู้และขอ้ คิดจากการอา่ น เพือ่ นำไปประยกุ ต์ใช้ในชีวิตจริง
4. ท่องจำและบอกคณุ คา่ บทอาขยานตามที่กำหนดและบทรอ้ ยกรองที่มี
คณุ คา่ ตามความสนใจและนำไปใช้อ้างอิง
1.3 คุณภาพของผเู้ รยี นกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย เมือ่ จบช้ันมธั ยมศึกษาปี
ที่ 3
1. อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองเป็นทำนองเสนาะได้ถูกต้อง
เข้าใจความหมายโดยตรงและความหมายโดยนัย จับใจความสำคัญและรายละเอียดของสิ่งที่อ่าน

แสดงความคิดเห็นและข้อโต้แย้งเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน และเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด ย่อความ
เขียนรายงานจากสิ่งที่อ่านได้ วิเคราะห์ วิจารณ์ อย่างมีเหตุผล ลำดับความอย่างมีขั้นตอนและความ
เปน็ ไปได้ของเรื่องที่อา่ น รวมทั้งประเมินความถูกต้องของข้อมูลทีใ่ ช้สนบั สนนุ จากเรื่องทีอ่ า่ น

2. เขียนส่อื สารดว้ ยลายมือทีอ่ า่ นงา่ ยชดั เจน ใช้ถอ้ ยคำได้ถูกต้องเหมาะสมตาม
ระดับภาษาเขียน คำขวัญ คำคม คำอวยพรในโอกาสต่างๆ โฆษณา คติพจน์ สุนทรพจน์ ชีวประวัติ
อัตชีวประวัติและประสบการณ์ต่างๆ เขียนย่อความ จดหมายกิจธุระ แบบกรอกสมัครงาน เขียน
วิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรคู้ วามคิดหรือโต้แย้งอยา่ งมีเหตุผล ตลอดจนเขียนรายงานการศึกษา
ค้นคว้าและเขียนโครงงาน

3. พูดแสดงความคิดเห็น วิเคราะห์ วิจารณ์ ประเมินสง่ิ ที่ได้จากการฟงั และดู
นำข้อคิดไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน พูดรายงานเรือ่ งหรือประเด็นทีไ่ ด้จากการศึกษาค้นคว้าอย่าง
เปน็ ระบบมีศิลปะในการพูด พูดในโอกาสตา่ งๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ และพดู โน้มน้าวอย่างมีเหตุผล
น่าเชื่อถอื รวมท้ังมมี ารยาทในการฟัง ดู และพูด

4. เข้าใจและใช้คำราชาศัพท์ คำบาลสี ันสกฤต คำภาษาตา่ งประเทศอืน่ ๆ คำ
ทบั ศัพท์ และศพั ทบ์ ัญญัติในภาษาไทย วิเคราะหค์ วามแตกตา่ งในภาษาพดู ภาษาเขียน โครงสร้างของ
ประโยครวม ประโยคซ้อน ลกั ษณะภาษาทีเ่ ปน็ ทางการ กึ่งทางการและไม่เป็นทางการ และแตง่ บทร้อย
กรองประเภทกลอนสภุ าพ กาพย์ และโคลงสีส่ ุภาพ

5. สรปุ เนือ้ หาวรรณคดแี ละวรรณกรรมทีอ่ ่าน วิเคราะห์ตัวละครสำคญั วิถี
ชีวิตไทย และคุณคา่ ทีไ่ ดร้ บั จากวรรณคดวี รรณกรรมและบทอาขยาน พร้อมท้ังสรุปความรู้ขอ้ คิดเพื่อ
นำไปประยุกตใ์ ช้ในชีวิตจริง

2. การอา่ น
2.1 การอ่านออกเสียง

กูดแมน (Goodman) (1967:126-135) ไดกลาวถึงการอานคําถูกอักขรวิธีวาเปนกระบวน
การอานที่มีแบบแผนประกอบดวยความถูกตอง รายละเอียดเปนความเขาใจทีเ่ ปนไปตามลาํ ดบั ข้ัน และ
ยงั หมายถึงการพิจารณาตัวอักษร คําสะกดและหนวยของภาษาที่กวางออกไป

ปรชี า ชางขวญั ยืน (2517:94-98) ไดกลาวสรุปลษั ณะของการอานออกเสยี งที่ดี คือ กอนอาน
ผูอานตองศึกษาเรื่องที่จะอาน ตลอดทั้งความหมายของคําศัพทตางๆ การแบงวรรคตอนใหชัดเจน
ไมควรอานเร็วหรือชาเกินไป เพราะการอานออกเสียง เปนการอานใหผูอื่นฟง ผูฟงแตละคนเขาใจเร็ว
ตางกนั ตองพยายามใหคนสวนใหญเข้าใจ ถาเปนเรือ่ งสนุกก็อานเร็วไดถาเปนเรือ่ งที่ตองการสาระวิชา
ควรอานชา ควรแบงประโยคเปนขอความสั้นๆ จะชวยใหผูฟงเขาใจ และผูอานจะไดหยุดพักหายใจ
เปนระยะๆ ทําใหอานชัดถอยชัดคาํ

มหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช (2529:384) ไดรวบรวมขั้นตอนกระบวนการอานออกเสียงไว
ดังนี้

1. ตามองเหน็ ขอความหรอประโยค
2. จากคาํ หรือขอความที่มองเหน็ เด็กจะอานคํานั้นในสมอง
3. เมือ่ อานคาํ ไดจะรคู วามหมายของคํา โดยเลอื กความหมายทีถ่ ูกตอง
4. ระบบประสาทและกลามเนือ้ ของอวยั วะในการออกเสียง บงั คับการออกเสียง
ขอความ หรือประโยคใหถกู ตอง
5. เด็กอานคาํ ขอความ ประโยคไดถกู ต้อง
นพดล จันทรเพ็ญ (2531:75) ไดกลาวถึงการอานออกเสียง คือ การเปลงเสียงถ้อยคําและ
เครื่องหมายตางๆ ที่เขียนไวออกมาใหชัดถอยชัดคำ และเปนที่เขาใจแกผูฟง ซึ่งการอานออกเสียงเปน
กระบวนการตอเนื่องระหวางสายตา สมอง และการเปล่งเสียง คือ สายตาจะตองจองตัวอักษร และ
เคร่ืองหมายตางๆ ที่เขยนไว้ สมองประมวลเปนถอยคาํ แลวจึงเปลงเสยี งออกมาอยางสาํ เร็จรูป
การอานออกเสียงเปนการอานขั้นฐานของการอานทุกประเภท เพราะวาการทีบ่ ุคคลจะอานในระดับสูง
ไปใหไดดี ประสบความสาํ เร็จนั้น ตองมีความสามารถในการอานออกเสียงไดดมี ากอน
2.2 การอานออกเสียงควบกล้ำ
ประเทือง คลายสุบรรณ (2529:118-119) ไดกลาวถึงลักษณะของคําควบกล้ำวา หมายถึง
พยัญชนะใด ๆ ที่เขียนควบกล้ำกับพยัญชนะ ร ล ว เวลาออกเสียงใหออกเสียงควบกล้ำกัน เปนการ
อานอยางอักษรควบแท ซึ่งหมายถึง การอานออกเสียงพยัญชนะตัวตนและพยัญชนะตวั ควบพรอมกนั
เชน เปลี่ยนแปลง อานวา เปลี่ยน-แปลง ครอบครอง อานวา ครอบครอง, กลมเกลียว อานวา กลม-
เกลียว
ประสงค รายณสขุ (2532:84-91) ไดกลาวถึงปญหาการออกเสยี งคําควบกลำ้ ร เปน ล และ
ไมออกเสียงคําควบกล้ำ ร ล ไววา คําที่ใชพยญชนะควบกล้ำ ร ล นั้น คนไทยจํานวนไมนอย ไมวาจะ
เปนเด็กหรือผูใหญออกเสียงไมถูกตอง ไมชัดเจน คือ มักจะออกเสียงผิดในลักษณะออกเสียงหนึ่ง
เปนอีกเสียงหนึ่ง หรือใชเสียงอื่นแทนเสียงที่ถูกต้อง เชน ปราบ ออกเสียงเปน ปลาบ กรอบ ออกเสียง
เปน กลอบ และในลักษณะไมออกเสียงคาํ ควบกลำ้ เชน ปลา ออกเสียง เปน ปา หรือ ครู ออกเสียงเปน
คู เปนตน จึงสมควรแกไขปรบั ปรงุ การออกเสียงดังกลาวใหถกู ตอง
สุจริต เพียรชอบ (2543:1-7) ไดกลาววาในปจจุบันไมวาจะเปนวงสนทนา ฟงวิทยุ หรือ
ชมโทรทัศน แมแตชมการแสดงละคร เรามักจะพบวามีคนพดู ออกเสียง ร ล และคําควบกล้ำ ไมช่ ัดเจน
เปนจํานวนมาก ทําใหการสื่อสารไมสัมฤทธิ์ผลเท่าที่ควร และไดเสนอวิธีการฝกฝนการออกเสียง ร ล
และคําควบกล้ำ ไวดังนี้ การฝกออกสียงนั้น กอนฝกจะตองทดสอบกอนวาตนเองมีความบกพรองใน
การออกเสียง ร ล และคําควบกล้ำอยางไร เมื่อพบขอบกพร่องควรรีบแกไขทันทีตองแกปญหาดวย
ตนเอง โดยการฝกรัวลิ้นบ่อยๆ แลวลองเปลงเสียง ร ล เชน รัก-ลัก, รอด-ลอด ตองมีความศรัทธา

มุงมั่น เห็นความสาํ คัญที่จะแกไข และฝกจากแบบฝก ในการฝกออกเสียงคําแตละคําใหดูความหมาย
ควบค่ไู ปดว้ ย เพราะถาออกเสียงผิด ความหมายก็จะผิดเพี้ยนไป และควรฝกออกเสียงอยางสม่ำเสมอ
ทกุ คร้ังทีอ่ อกเสียง ควรระมัดระวัง อาจใหคนใกลเคียง เชน พอ แม พี่ นอง หรือเพือ่ น ชวยประเมินให
นอกจากฝกออกเสียงจากแบบฝกที่สรางขึ้นแลว ยังสามารถใชบทเพลง หรือ บทละคร ทีเ่ ปนคําที่ออก
เสยี ง ร ล และคําควบกล้ำ จะทาํ ใหเกิดความสนุกสนาน เพลดิ เพลนิ และมีทักษะในการออกเสียง ร ล
และคําควบกล้ำไดถกู ตองมากมายยิ่งข้นึ

3. แนวคิดทฤษฎีทีเ่ กีย่ วขอ้ งกับแบบฝึกเสรมิ ทักษะ
3.1 ความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะ
แบบฝึกทกั ษะสามารถแทนดว้ ยคำต่าง ๆ เช่น แบบฝึก แบบฝึกเสริมทกั ษะ แบบฝึกทักษะ

ซึ่งแบบฝึกทักษะมีความจำเป็นต่อการเรียนการสอนและสามารถช่วยให้ผู้เรียนได้แก้ไขข้อบกพร่อง
ทางการเรียนดว้ ยการฝึกฝนจากแบบฝึกทค่ี รสู ร้างข้นึ จึงมผี ู้กลา่ วถึงความหมายของแบบฝึกไว้ดงั นี้

กันต์ดนัย วรจิตติพล ( 2542: 42 ) ให้ความหมายของแบบฝึกสรุปได้ว่าแบบฝึก คือ
เครื่องมือทางการเรียนอย่างหนึ่งของนักเรียนที่มุ่งให้นักเรียนฝึกทำด้วนตนเอง เพื่อจะได้มีทักษะหรือ
ความ-ชำนาญเพิ่มขึ้น หลังจากที่ได้เรียนรู้ในภาคทฤษฎีหรือด้านเนื้อหาแล้ว และในแบบฝึกควร
ประกอบดว้ ย คำแนะนำในการทำข้อคำถามหรือกิจกรรม และชอ่ งว่างให้นกั เรยี นตอบคำถาม

สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ ( 2544: 147 ) กล่าวว่า แบบฝึก
หรือแบบฝึกหดั เปน็ สือ่ การเรียนประเภทหนึ่งสำหรับให้นักเรียนฝึกปฏิบัติเพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ
และทักษะเพิ่มข้ึน

จากการให้ความหมายดังกล่าว สรุปได้ว่า แบบฝึกทักษะ หมายถึง สิ่งที่สร้างขึ้นเพื่อ
ประกอบการเรียนการสอน เสริมสร้างทักษะให้แก่นักเรียน มีลักษณะเป็นแบบฝึกหัดให้นักเรียนทำ
กิจกรรม ทบทวนความรู้ หรือฝึกทำซ้ำ ฉะนั้นแบบฝึกจงึ มีความสำคญั ตอ่ การเรียนการสอน เพราะช่วย
พัฒนาความสามารถของนักเรียน ตรวจสอบความเข้าใจและแก้ไขขอ้ บกพร่องทางการเรียนด้วยการฝึก
ปฏิบัติ

3.2 ประโยชน์ของแบบฝึกเสริมทกั ษะ
การสร้างแบบฝึกนั้น นอกจากจะใช้เป็นการฝึกฝนทักษะต่างๆ แล้วยังมีประโยชน์อื่นๆ

อีกมากไม่ว่าจะใช้เป็นเครื่องมือในการวัดผลหรือการแก้ไขข้อบกพร่องของการเรียนการสอนแล้ว
ประโยชน์ของแบบฝึกยงั มีอีกมากซึ่งนกั การศึกษาหลายทา่ นได้กล่าวไว้ดงั นี้

กาญจนา คณุ านุรกั ษ์ ( 2539: 8–10 ) ได้กล่าวถึงประโยชนข์ องแบบฝึก ไว้ดงั นี้
1) ชว่ ยลดเวลาการสอนของครูและเพ่มิ ประสิทธิภาพการเรียนรู้ไดเ้ ป็นอยา่ งดี
2) เป็นประโยชน์อย่างยิ่งแก่ผู้เรียน เพราะเป็นการเน้นความแตกต่างระหว่างบุคคลซึ่ง
ถ้าครูเพิกเฉยต่อแบบการเรียนรู้ที่แตกต่างกันของนักเรียนแต่ละบุคคลจะทำให้เกิดประสิทธิภาพการ
สอนไม่เกิดผลเท่าที่ควร แบบฝึกจงึ เหมาะสมกับเอกัตภาพของผู้เรยี นแตล่ ะคน

3) ประโยชน์ต่อการประเมินผลเพื่อปรับปรุงการเรียนการสอน การประเมินแบบอิง
เกณฑ์ โดยประเมินผู้เรียนแต่ละคนเปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดไว้หรือเปรียบเทียบกับ
จดุ ประสงค์

กนั ตด์ นัย วรจติ ติพล ( 2542: 37 ) กล่าววา่ แบบฝึกชว่ ยให้นกั เรียนได้ฝึกฝนทักษะการ
ใช้ภาษาและมีทักษะทางภาษาที่คงทน ช่วยให้ครูประหยัดเวลาในการที่ต้องเตรียมแบบฝึกหัดอยู่
ตลอดเวลาและทราบถึงปัญหาต่างๆ ของนักเรียนได้ชัดเจนขึ้น นอกจากนี้แบบฝึกยังช่วยให้นักเรียน
สามารถทบทวนส่งิ ทีเ่ รียนไปแลว้ ได้ด้วยตนเอง และทราบถึงความก้าวหน้าในการเรียนของตน

เชาวณี คำเลิศลักษณ์ ( 2542: 37 ) กล่าวว่า แบบฝึกมีส่วนช่วยให้นักเรียนฝึกฝนเพื่อ
เพิ่มความสามารถในการใช้ทักษะทางภาษา อีกท้ังนกั เรยี นจะมีทักษะทางภาษาที่คงทน เนื่องจากได้รับ
การฝึกเสริมเพิ่มเติมจากแบบฝึกที่มีอยู่ในแบบเรียนจะช่วยครูผู้สอนให้รับรู้ระดับความสามารถของ
ผู้เรียนและปัญหาของผู้เรยี นเพิม่ มากขึน้

ประไพ ปลายเนตร ( 2544: 30–31 ) ได้กล่าวถึงประโยชน์ของแบบฝึกตามแนวคิดของ
เพทต้ี (Petty) ไว้ว่า

1) เป็นส่วนเพิ่มหรือเสริมหนังสือเรียนในการเรียนทักษะ เป็นอุปกรณ์การสอนที่ช่วย
ลดภารของครไู ดม้ าก เพราะแบบฝึกเปน็ ส่งิ ที่จัดทำขนึ้ อยา่ งเป็นระบบระเบียบ

2) ชว่ ยเสริมทกั ษะทางการใช้ภาษา แบบฝึกเป็นเครือ่ งมือที่ช่วยให้เด็กฝึกทักษะการใช้
ภาษาดขี นึ้ แตต่ ้องอาศยั การส่งเสริมและเอาใจใส่จากผสู้ อน

3) ช่วยในเรื่องของความแตกต่างระหว่างบุคคล เนื่องจากเด็กมีความสามารถ ทาง
ภาษาแตกต่างกัน การให้เด็กทำแบบฝึกที่เหมาะสมกับความสามารถของเขา จะช่วยให้เขาประสบ
ผลสำเรจ็ ดา้ นจติ ใจมากขึน้

4) แบบฝึกชว่ ยเสริมให้ทกั ษะทางภาษาคงทน โดยกระทำดงั นี้
- ฝึกทันทีหลังจากที่นกั เรยี นได้เรยี นรู้เรอ่ื งน้ันๆ แล้ว
- ฝึกซำ้ หลายๆ ครง้ั
- เน้นเฉพาะเรื่องทีต่ ้องการฝกึ

5) แบบฝึกจะใช้เปน็ เคร่อื งมือวัดผลทางการเรียนหลังจากจบบทเรียนในแตล่ ะครั้ง
6) แบบฝึกที่จัดทำขึ้นเป็นรูปเล่ม นักเรียนสามารถเก็บรักษาไว้ใช้เป็นแนวทางเพื่อ
ทบทวนดว้ ยตนเองได้ตอ่ ไป
7) การให้นักเรียนทำแบบฝึก ช่วยให้ครูเห็นจุดเด่นหรือปัญหาต่างๆ ของนักเรียนได้
ชัดเจน ซึง่ จะช่วยให้ครูดำเนนิ การปรับปรุงแก้ไขปัญหานน้ั ได้ทนั ท่วงที
8) แบบฝึกที่จัดทำขึ้นนอกเหนือจากที่อยู่ในหนังสือเรียนจะช่วยให้นักเรียนได้ฝึกฝน
เตม็ ที่

9) แบบฝึกที่จัดพิมพ์ไว้เรียบร้อย จะช่วยให้ครูประหยัดทั้งแรงงานและเวลาที่จะต้อง
เตรียมแบบฝึกอยเู่ สมอ ในดา้ นผเู้ รียนก็ไม่ต้องเสยี เวลาลอกแบบฝึกจากตำราเรียน ทำให้มีโอกาสฝึกฝน
ทักษะตา่ ง ๆ ได้อย่างเตม็ ที่มากข้ึน

10) แบบฝึกจะช่วยประหยัดคา่ ใช้จ่าย เพราะการจัดพิมพ์ขึ้นเป็นรูปเล่มทีแ่ น่นอน ย่อม
ลงทุนต่ำกว่าที่จะพิมพ์ในกระดาษไขทกุ ครั้ง และผู้เรียนสามารถบันทึกและมองเห็นความก้าวหน้าของ
ตนเองได้อยา่ งเป็นระบบระเบียบ

4. เอกสารงานวิจัยที่เกีย่ วขอ้ ง
สดุ ารตั น เอกวานชิ (2520:25) ไดศึกษาการสรางแบบฝึกการอ่านคําทีใ่ ชอักษร ร ล ว
ควบกลำ้ สําหรับนักเรียนชนประถมศึกษาปที่ 4 โดยทดลองกบั นกั เรยี นโรงเรียนมารแตรเดอีวิทยาลัย
จาํ นวน 10 คน พบวาแบบฝกการอานคําทีม่ ีร ล ว ควบกลำ้ จาํ นวน 21 แบบฝก เมื่อนําไปใชกบั นกั เรียน
แลว ทําใหนกั เรยี นสามารถอานคาํ ทีใ่ ชอกั ษร ร ล ว ควบกล้ำเพิม่ ขนึ้
ศรีประภา ปาลสุทธิ์ (2523:34) ไดสรางแบบฝึกการอ่านคาํ ที่ใชอักษร ร ล ว ควบกล้ำสําหรับ
นักเรยี นช้ันประถมศึกษาปที่ 5 ของโรงเรียนวดั ดอนทอง อําเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา จํานวน 70 คน
ผลการวิจยั พบวา นักเรยี นมีความสามารถในการอานออกเสยี งคําที่ใชอักษร ร ล ว ควบกล้ำกอนและ
หลังฝกแตกตางกนั อยางมีนยั สําคัญทีร่ ะดับ .01
สมบัติ ตัญตรัยรัตน (2525) ศึกษาการสรางแบบฝกความพรอมในการอานสําหรับเด็กที่พดู
ภาษาถิ่นในจังหวัดขอนแกน โดยใชแบบฝกที่เปนเกม และแบบฝกประเภทรูปภาพ นําไปทดลองกับ
กลุมทดลอง 18 คน โดยใช้เวลาทดลอง 25 ครั้ง จํานวน 100 คาบ ผลปรากฏวา ความพรอมใน
การเรียนอานของกลุมทดลองที่ผานการสอนดวยแบบฝกที่ผูวิจัยสรางขึ้นสูงกวากอนสอนอยางมี
นยั สาํ คัญ ที่ .01 แสดงวาภายหลังการใชแบบฝึกเด็กมีความพรอมในการอานออกเสียงมากขนึ้
พรรณธิภา ออนแสง ( 2530 : 88 ) ไดศึกษาปญหาการออกเสียงคาํ ควบกล้ำ ร ล ว โดยการ
เปรียบเทียบความสามารถในการอานออกเสียงคําควบกล้ำของนักเรียนที่พูดภาษาถิ่นไทยลาว ใน
ระดบั ช้ันประถมศึกษาปที่ 2 ระหวางกลมุ ที่ไดรับการสอนโดยใชแบบฝึกเสรมิ สรา้ งกระบวนการคิดอย่าง
มีระบบกับกลุมที่ไดรับการสอนโดยแบบฝกทั่วไป โรงเรียนนครไทยวิทยาคม อําเภอนครไทย จังหวัด
พิษณโุ ลก แบงนกเรยี นออกเปน 4 กลุม กลุ่มที่ 1 ไดรบั การสอนโดยผูวิจยั กลมุ ที่ 2 ไดรับการสอนโดย
ครูประจําการ กลุมควบคุมที่ 1 ไดรับการสอนโดยผูวิจัย และกลุมควบคุมที่ 2 ไดรับการสอนโดยครู
ประจําการ ผลการวิจัยพบวา นักเรียนกลุมที่ไดรับการสอนโดยใช้ แบบฝกเสริมสรางกระบวนการ
การคิดอยางมีระบบมีความสามารถในการอานออกเสียงคําควบกล้ำสูงกวานักเรียนกลุมที่ไดรับการ
สอนโดยใชแบบฝึกทัว่ ไป อยางมีนยั สําคญั ทางสถิติทีร่ ะดบั .01
สุวิมล ตนั ปติ ( 2536 : 76 ) ไดศึกษาเปรยี บเทียบความสามารถในการอ่านออกเสียงคําที่
มี ร ล ว ควบกล้ำ ของนักเรยี นช้ันประถมศึกษาปที่ 2 ที่ไดรับการฝกทกั ษะโดยใชเกมและการฝก

ทักษะโดยใชกิจกรรมในคูมือครู โรงเรียนพรานิลวชระ ั สังกัดสํานักงานการประถมศึกษา จังหวัด
สมุทรปราการ จํานวน 60 คน แบ งเป็นกลุ่มทดลอง 30 คน และกลุ มควบคุม 30 คน พบว่า
ความสามารถในการอานออกเสยี งคําทีม่ ี ร ล ว ควบกลำ้ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 2 กลุมที่ได
รับการฝึกทักษะโดยใชเกมมีความสามรถในการอานออกเสียงคาํ ที่มี ร ล ว ควบกล้ำ สูงกวากลุมที่ได
รับการฝกทักษะโดยใชกิจกรรมในคูมือครู คะแนนเฉลี่ยของความแตกตางระหว่างการทดสอบหลังการ
ทดลองกบั กอนการทดลอง พบวาทั้งสองกลุมมีคะแนนเฉลย่ี สูงขึ้น คือกลุมที่ไดรับการฝกทักษะโดยใช
เกม มีคะแนนเฉลี่ยเทากับ 55.33 สวนนักเรียนกลุมที่ไดรับการฝึกโดยใช้ 11 กิจกรรมในคูมือครู
มีคะแนนเฉลี่ยเทากับ 46.80 จากคะแนนเต็ม 70 คะแนน แสดงใหเห็นวา วิธีฝกทักษะ 2 แบบ สงผล
ตอความสามารถทางการออกเสียงของนักเรียนเชนกัน ผลการวิจัย ชี้ใหเห็นวา การฝกทักษะการอาน
ออกเสียงโดยใชเกม ทําใหความสามรถในการอานออกเสียงคําที่มี ร ล ว ควบกล้ำ ของนกั เรยี นสูงกว่า
ใชวิธีฝกทักษะตามกิจกรรมในคูมือครู และเกมที่ใชในการศึกษาครั้งนี้เหมาะที่จะนามาช่วยฝกทักษะ
การอ่านออกเสียงคําที่มี ร ล ว ควบกล้ำ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2 เพราะเกมดังกลาว
มีกติกาไมซับซอน มีสื่อที่เราความสนใจ นักเรียนไดมีโอกาสฝกปฏิบตั ิดวยตนเอง ในขณะที่ฝกปฏิบัติ
นักเรยี นไดทราบผลของการปฏิบตั ิทนั ที พรอมท้ังไดรบั การเสริมแรงควบคูกนั ไป ซึง่ เปนวิธีการที่สนอง
ความตองการของนักเรียน ในระดับประถมศึกษา ผลการวิจัย พบวานักเรียนที่ไดรับการสอนดวยวิธี
ฝกทักษะโดยใชเกมมีความสามรถในการอานออกเสียงในคูมือครูอยางมีนัยสาํ คญั ทางสถิติที่ระดบั .01

วิวัฒนา กองวิชา ( 2546 : 69 ) ไดศึกษาและสรางชดุ ฝกทักษะการออกเสียงคําควบกลำ้ ร ล ว
ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนพยุหะศึกษาคาร อําเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์
กลุมตัวอยางนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนพยุหะศึกษาคาร ปการศึกษา 2545 จํานวน 22
คน โดยใชชุดฝกการออกเสียงคําควบกล้ำ 12 ชุด ใชเวลาในการฝก คาบละ 50 นาที พบวา นักเรียน
กลุมตัวอยางที่ฝกออกเสียงโดยใชชุดฝกการออกเสียงคําควบกล้ำที่ผูวิจัยสรางขึ้นมีความสามารถใน
การอานออกสียงควบกล้ำไดถูกตองชัดเจนมากยิ่งขึ้น เพราะชุดฝกการออกเสียงคําควบกล้ำ ที่ผูวิจัย
สรางขึ้น นั้นเปนชุดฝกที่เป็นระบบคือเริ่มฝกตั้งแต คําพยางคเดียว คําสองพยางค คําสามพยางค
คําหลายพยางคและประโยคขอความ ที่เปนทั้งรอยแกว รอยกรอง และบทเพลง ซึ่งนักเรียนสามารถ
ฝกไดดวยตนเอง ฝกกบั ครู ฝกกบั เพื่อน ๆ ก็ได ทําใหนกั เรยี นมีความสนุกสนานในการฝึกและต้ังใจฝก
โดยเฉพาะกิจกรรมฝกที่เปนบทเพลง นักเรียนก็จะฝกออกเสียงดวยการรองเพลงพรอมๆกัน ทําใหนกั
เรียนฝกอยางสม่ำเสมอ ผลการวิจัยพบวา คะแนนความกาวหน้าในการออกเสียงคําควบกล้ำของ
นักเรียนกลุมตัวอยาง คะแนนหลังฝกสูงกวาคะแนนกอนฝกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05
แสดงวานกั เรียนที่ฝกออกเสียงคําควบกล้ำดวยชุดฝกที่ผูวิจยั สรางขึ้น มีความรูและสามารถออกเสียง
คาํ ควบกล้ำได้ถูกต้อง ตามสมมติฐานทต่ี ้ังไว

เกศแกว เพ็งพริง้ ( 2547 : 51 ) ไดศึกษาความสามารถในการอานและเขียนคําถกู อกั ขรวิธี ของ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาป ที่ 6 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน พบวา

ความสามารถในการอานคําและการเขียนคําถกอู ักขรวิธีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 รวมทุก
กลุมแผนการเรียน ซึ่งแตละแผนการเรียนจัดนักเรียนแบบคละความสามรถภายในแตละหองเรียน
สงผลใหระดับความสามารถของทุกดานอยูในระดับปานกลาง แตเมื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ย
ความสามารถในการอานคําถูกอักขรวิธีกับการเขียนคำถูกอักขรวิธีพบวา คะแนนเฉลีย่ ความสามารถ
ทางการเขียนคําถูกอักขรวิธีสูงกวาการอ่านคำถูกอักขรวิธี และความสามารถในการอานคําและการ
เขียนคําถูกอักขรวิธี เปรียบเทียบตามกลุ่มแผนการเรียน พบวานักเรียนกลุมแผนการเรียนตางกันมี
ความสามารถการอานคําถูกอักขรวิธีแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ ระดับ .01 และมี
ความสามารถโดยรวม การอานคาํ กับการเขียนคาํ ทีถ่ ูกอกั ขรวิธีแตกตางกันอย่างมีนยั สาํ คัญทางสถิติที่
ระดับ .05 โดยพบวา กลุมแผนการเรียนที่ 1 ( คณิตศาสตร์ - วิทยาศาสตร ) มีระดับคะแนนเฉลี่ย
ความสามารถการอานคําถูกอักขรวิธี และความสามารถโดยรวมการอ านคํากับการเขียนคําถูก
อักขรวิธีสูงที่สุด รองลงมาไดแกกลุมการเรียนที่ 3 ( ภาษาตางประเทศ ) และกลุมแผนการเรียนที่ 2
( คณิตศาสตร - ภาษาอังกฤษ ) และ ( ภาษาอังกฤษ - คณิตศาสตร ก ) ตามลําดับ และพบวา
ความสามารถในการอานคาํ และการเขียนคําถูกอักขรวิธี เปรยี บเทยบระหวาง เพศ พบวา นักเรยี นหญิง
และนกั เรยี นชาย มีคาคะแนนเฉล่ยี ความสามารถดานการอานคําถูกอักขรวิธี การเขียนคําถูกอักขรวิธี
แตกตางกันอยางมีนยั สําคัญสอดคลองกบั สมมติฐานท่ตี ้ังไว้

บทที่ 3
วิธีดำเนินการวิจยั

การแก้ไขปัญหาการอ่านออกเสียงคำควบกล้ำ โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 3 ผู้วิจัยได้ดำเนินการศึกษา โดยแบ่งเปน็ 3 ระยะ ดงั นี้

ระยะที่ 1 การวิเคราะห์สภาพปญั หา
การศึกษาสภาพปัญหาในชั้นเรียน ผู้วิจัยได้วางแผนการศึกษาปัญหาในชั้นเรียน โดย

การศึกษามาตรฐาน และตัวชี้วัด ที่เกี่ยวข้องกับการอ่านออกเสียง การคัดกรองผู้เรียนด้านการอ่าน
และศึกษาปัญหาที่เกิดขึ้นจริงในชั้นเรียนวิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนราชประชานุ
เคราะห์ 24 โดยรวมรวมจากแหล่งข้อมูล ใช้เครื่องมือในการเก็บรวบรวม และมีวิธีในการรวบรวม
สภาพปัญหา ดงั นี้

1.1 แหล่งขอ้ มูล
1.1.1 นักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 3
1.1.2 ครูผู้สอนภาษาไทย

1.2 เครือ่ งมือ
1.2.1 แบบบันทึกการสงั เกตพฤติกรรมนักเรียน
1.2.2 แบบคัดกรองการอา่ น

1.3 วิธีการรวบรวมขอ้ มูล
1.3.1 สังเกตพฤติกรรมในขณะทีค่ รูจดั การเรียนการสอน ด้านความประพฤติ

ความตงั้ ใจเรียน ปฏิกิริยาโต้ตอบ การตอบคำถาม สัมพนั ธภาพกับเพือ่ นในห้องเรียน
1.3.2 ตรวจคะแนนการทดสอบการอา่ น ผ่านแบบคัดกรอง ซึง่ จะต้องผา่ นเกณฑ์

ร้อยละ 50 ขนึ้ ไป หากน้อยกวา่ ร้อยละ 50 ถอื วา่ ผู้เรยี นไมผ่ า่ นเกณฑต์ ามที่ผู้สอนคาดหวัง
1.4 การวิเคราะหข์ ้อมลู
จากการรวบรวมข้อมลู ปัญหาในการเรียนวิชาภาษาไทย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา

ปีที่ 3 พบว่านักเรียนมีปัญหาการอ่านออกเสียงคำควบกล้ำ ไม่สามารถออกเสียงได้ชัดเจน ทำให้
ความหมายผดิ ไป

ระยะที่ 2 พฒั นานวตั กรรม
จากการศึกษาสภาพปัญหาในชั้นเรียน ในระยะที่ 1 ผู้วิจัยได้ดำเนินการในการวางแผน

นวตั กรรมโดยการศึกษาเอกสารที่เกีย่ วข้องกบั นวัตกรรมที่สามารถนำมาแก้ไขปัญหา ดังต่อไปนี้
2.1 แหล่งขอ้ มูล
2.1.1 หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน 2551 สาระการเรียนรู้ภาษาไทย

2.1.2 รายงานการวิจัย

2.2 เครือ่ งมือ

2.2.1 แบบบนั ทึกการศึกษารายงานการวิจยั

2.2.2 แผนการจัดการเรียนรู้

2.2.3 แบบฝึกทักษะ

2.3 วิธีการรวบรวมขอ้ มลู

2.3.1 ผู้วิจยั ศึกษาขอ้ มูลจากหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 สาระ

การเรียนรู้ภาษาไทย สาระที่ 1 การอ่าน

2.3.2 ผู้วิจัยสืบค้นงานวิจัย โดยใช้คำสำคัญ ได้แก่ การอ่านออกเสียง, คำควบ

กล้ำ, แบบฝึกทักษะ, แบบฝึกเสริมทักษะ, แบบฝึกหัด เพื่อเป็นแนวทางในการศึกษาความรู้และ

นวตั กรรมที่เหมาะสม

2.3.3 การศึกษานวัตกรรมการสอนที่เหมาะสมกับปัญหาจากหนังสือต่าง ๆ เช่น

หนังสือศาสตร์การสอนของ ดร.ทิศนา แขมณี หนังสือทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน ของ

ดร.สุวฒั น์ วิวัฒนานนท์ หนงั สือจิตวิทยาสำหรบั ครู ของ ดร.ลกั ขณา สริวฒั น์ เปน็ ต้น

2.3.4 ผู้วิจัยดำเนินการสร้างแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง การอ่านออกเสียงคำ

ควบกล้ำ โดยใช้แบบฝึกทักษะ ซึ่งยึดคำศัพท์ตามหนังสือการจัดการเรียนการสอนภาษาไทย

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 6 แผน แผนละ 2 ชั่วโมง รวม 12 ชว่ั โมง ใช้ระยะเวลา 2 สัปดาห์ สัปดาห์

ละ 3 ชั่วโมง ดงั นี้

แผนที่ 1 เรื่อง การอานออกเสียงควบกล้ำ กร กล กว จำนวน 2

ช่ัวโมง

แผนที่ 2 เรือ่ ง การอานออกเสียงควบกล้ำ ขว คว จำนวน 2 ชว่ั โมง

แผนที่ 3 เรือ่ ง การอานออกเสียงควบกล้ำ ขร ขล จำนวน 2 ชั่วโมง

แผนที่ 4 เรือ่ ง การอานออกเสียงควบกล้ำ คร คล ตร จำนวน 2 ชวั่ โมง

แผนที่ 5 เรือ่ ง การอานออกเสียงควบกล้ำ ปร ปล จำนวน 2 ชัว่ โมง

แผนที่ 6 เรื่อง การอานออกเสียงควบกล้ำ พร พล ผล จำนวน 2 ชั่วโมง

2.3.5 ผู้วิจยั ดำเนินการสร้างแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน เรื่อง การอ่าน

ออกเสียงคำควบกล้ำ จำนวน 30 ข้อ เป็นลักษณะการปฏิบัติให้ทดสอบการอ่านออกเสียง

ซึ่งสอดคลอ้ งตามเนือ้ หาของแผนการจัดการเรียนรู้ท้ัง 6 แผน

2.3.7 ผู้วิจัยนำแผนการจัดการเรียนรู้และแบบทดสอบไปให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ

และให้คำแนะนำ

2.4 การวิเคราะหข์ อ้ มลู
จากการศึกษาความรู้จากรายงานการวิจัย และหนังสือเกี่ยวกับนวัตกรรม

การสอน พบว่า นวัตกรรมที่เหมาะสมสำหรับการแก้ไขปัญหาการอ่านออกเสียงคำควบกล้ำ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 คือ แบบฝึกทักษะ ซึ่งมีความเหมาะสม สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในทบทวน
บทเรียน ช่วยให้ผู้เรียนสามารถฝึกอ่านออกเสียงได้ ช่วยเสริมสร้างทักษะการอ่านให้แก่นักเรียน
มีลกั ษณะเปน็ แบบฝึกหัดให้นกั เรยี นทำกิจกรรม ทบทวนความรู้ หรือฝึกทำซ้ำ สามารถตรวจสอบความ
เข้าใจและแก้ไขข้อบกพร่องทางการเรียนด้วยการฝึกปฏิบัติ และผู้วิจัยได้สร้างแผนการจัดการเรียนรู้
และแบบทดสอบหลงั เรียน โดยผ่านการตรวจสอบคุณภาพของเคร่อื งมือจากผู้เชี่ยวชาญ

ระยะที่ 3 นำไปปฏิบตั ิ
ผู้วิจยั ดำเนนิ งานวิจยั เรือ่ ง การแก้ไขปัญหาการอา่ นออกเสียงคำควบกลำ้ โดยใช้แบบ

ฝึกทักษะ ของนักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในช่วงภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 ดังนี้
3.1 แหล่งข้อมลู
3.1.1 นักเรยี น
3.1.2 ผู้สอน
3.2 เครือ่ งมือ
3.2.1 แผนการจดั การเรียนรู้
3.2.2 แบบบนั ทึกการสังเกตพฤติกรรมนักเรยี น
3.2.3 แบบทดสอบ
3.3 วิธีการรวบรวมข้อมลู
การแก้ไขปัญหาการอ่านออกเสียงคำควบกล้ำ โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนชั้น

มัธยมศึกษาปีที่ 3 ผู้วิจยั ดำเนนิ การเกบ็ รวบรวมข้อมูลการวิจยั ดังนี้
3.3.1 การวิจัยครงั้ นผี้ ู้วจิ ยั ใช้แบบแผนทดลองแบบ The One Group pretest

posttest only design ดงั นี้

ประชากรเป้าหมาย Pretest Treatment Posttest
O1 X O2

เมือ่ O1 หมายถึง การทดสอบกอ่ นการสอน ( Pretest )
X หมายถึง วิธีสอนโดยแบบฝึกทกั ษะ ( Treatment)
O2 หมายถึง การทดสอบหลังการสอน

3.3.2 ผู้วิจัยดำเนนิ การทดสอบก่อนเรียน เรื่อง การอา่ นออกเสียงคำควบกล้ำ

3.3.3 ผู้วิจยั ดำเนนิ การสอนโดยใช้แผนการจดั การเรียนรู้ เรื่อง การอา่ นออก
เสยี งคำควบกลำ้ จำนวน 6 แผน แผนละ 2 ชว่ั โมง รวม 12 ช่ัวโมง ใช้ระยะเวลา 2 สัปดาห์ สปั ดาหล์ ะ
6 ชวั่ โมง บนั ทึกการจดั การเรียนรู้ไว้สำหรบั การวิเคราะหข์ ้อมลู

3.3.4 นกั เรยี นทำแบบทดสอบหลังเรียน ที่ผู้วิจยั สร้างข้นึ
3.3.5 เมอื่ เก็บรวบรวมคะแนนเรียบรอ้ ยแล้ว ผู้วิจัยดำเนนิ การวิเคราะหผ์ ล
ว่านกั เรยี นผ่านเกณฑ์ตามทีก่ ำหนดไว้หรอื ไม่
3.4 ข้นั วิเคราะหข์ ้อมลู
ในการวิจัยครงั้ นีผ้ ู้วิจยั วิเคราะหข์ ้อมลู ตามลำดบั ดงั นี้
3.4.1 วิเคราะห์ข้อมูลเชงิ ปรมิ าณ จากร้อยละของการทำแบบทดสอบก่อนเรียน
และหลังเรียน โดยใช้สถิติคา่ รอ้ ยละ ( Percent ) ซึง่ มสี ตู รการคำนวณดงั นี้

เมื่อ p แทน คา่ ร้อยละ
f แทน ความถที่ ีต่ ้องการแปลงให้เปน็ คา่ ร้อยละ
N แทน จำนวนความถีท่ ั้งหมด

3.4.2 วิเคราะหข์ ้อมูลเชิงปริมาณจากคะแนนพัฒนาการเพื่อเปรียบเทียบคะแนน
จากการทำแบบทดสอบของนกั เรยี นแต่ละคน ซึง่ มสี ูตรการคำนวณดงั นี้

คะแนนพัฒนาการ (คิดเปน็ %) = คะแนนวัดครง้ั หลงั – คะแนนวัดครง้ั ก่อน x 100

คะแนนเตม็ – คะแนนวดั ครงั้ กอ่ น

3.4.2 วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ ซึ่งเป็นข้อมูลทีไ่ ด้ระหว่างการปฏิบัติการสอน
ในแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมนักเรียน โดยการอธิบายแบบพรรณนาว่า ปญั หาการเรียนการสอน
วิชาภาษาไทย ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในการอ่านคำควบกล้ำ สามารถแก้ไขปญั หาด้วยการ
สอนโดยใช้แบบฝึกทักษะได้หรือไม่ มีความเหมาะสม มีจุดเด่นหรือจุดด้อยในการแก้ไขปัญหา
การอ่านออกเสียงคำควบกล้ำอย่างไร ผลสัมฤทธิ์การเรียนของนกั เรียนดีขึ้นเพียงใด มีจำนวนนักเรยี น
และสาเหตใุ ดบ้างทีท่ ำให้เทคนิคการสอนโดยใช้แบบฝึกทักษะไมป่ ระสบความสำเร็จในการแก้ไขปญั หา

บทที่ 4
ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล

วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การแก้ไขปัญหาการอ่านออกเสียงคำควบกล้ำ โดยใช้แบบฝึกทักษะ
ของนกั เรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อแก้ไขปัญหาการอ่านออกเสียงคำควบกลำ้
2. เพือ่ ศึกษาผลสัมฤทธิห์ ลงั การเรียนการสอนโดยใช้แบบฝึกทักษะ

ผู้วิจัยนำเสนอผลการวิเคราะห์ตามลำดับขั้นตอนและกระบวนการวิจัย แบ่งเป็น 3 ระยะ คือ
ระยะที่ 1 วิเคราะห์สภาพปัญหาในชั้นเรียน ระยะที่ 2 พัฒนาวรรณกรรม ระยะที่ 3 นำไปปฏิบัติ จาก
กระบวนการข้ันต้น มีรายละเอียดดังต่อไปนี้

ระยะที่ 1 การวิเคราะห์สภาพปญั หาในช้ันเรียน ผ้วู ิจัยทำการศกึ ษาปญั หาในชั้นเรียน วิเคราะห์
สภาพปญั หาที่มีผลกระทบต่อการจดั การเรียนรู้มากที่สุด และวิเคราะห์สาเหตุที่ส่งผล
กระทบตอ่ การเรยี นในชน้ั เรยี น ซึ่งมีรายละเอียดดงั ต่อไปนี้

ผลการสำรวจสภาพปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อการจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาไทยจาก
เคร่อื งมือที่ผู้วิจัยสร้างข้ึน พบวา่ นกั เรียนมีปัญหาซึ่งสง่ ผลต่อการเรียน มีปญั หา 3 ด้าน ที่เป็นอุปสรรค
ต่อการเรียนรู้ของนักเรียน คือ ปัญหาด้านความประพฤติ ( พฤติกรรมนักเรียน ) ปัญหาด้านการเรียน
การสอนภาษาไทยใน 5 สาระการเรียนรู้ ซึ่งไดแ้ ก่ สาระที่ 1 การอา่ น สาระที่ 2 การเขียน สาระที่ 3 การ
ฟงั การดู และการพดู สาระที่ 4 หลกั การใช้ภาษาไทย สาระที่ 5 วรรณคดแี ละวรรณกรรม และปัญหา
ด้านความรู้สึก ( เจตคติ ) จากปัญหาทั้ง 3 ด้าน ปัญหาที่ส่งผลกระทบตอ่ การเรียนการสอนภาษาไทย
มากที่สุด คือ ปัญหาด้านการเรียนการสอนภาษาไทย โดยพบว่าสภาพปัญหาที่นักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์
มากที่สุด คือ การอ่านออกเสียงคำควบกล้ำ คือ นักเรียนออกเสียงไม่ชัดเจน และบางคำอ่านไม่ออก
ซึง่ เป็นปญั หาดา้ นการเรียนการสอนภาษาไทยใน สาระที่ 1 การอ่าน โดยนักเรยี นไมผ่ ่านเกณฑ์จำนวน 2
คน

ตารางที่ 1 ตารางแสดงคะแนนคา่ เฉลีย่ การทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์การอา่ น ของนกั เรยี นทีไ่ ม่

ผา่ นเกณฑ์ จำนวน 2 คน เรื่อง การอ่านออกเสียง ดว้ ยวิธกี ารปฏิบตั ิ จำนวน 30 คำ

นักเรยี น คะแนน (30) ร้อยละ (100) แปลผล

คนที่ 1 4 13.33 ไมผ่ ่านเกณฑ์

คนที่ 2 11 36.67 ไมผ่ า่ นเกณฑ์

จากตารางขา้ งตน้ พบวา่ นักเรยี นจำนวน 2 คน ไม่ผา่ นเกณฑ์ ร้อยละ 50 ขนึ้ ไป ของการทำการ
ทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์การอ่าน นักเรียนทั้ง 2 คน มีคะแนนค่าเฉลีย่ การทดสอบ ร้อยละ 13.33
และร้อยละ 36.67 ตามลำดบั

ระยะที่ 2 ผลการพัฒนานวัตกรรม ผู้วิจัยได้ทำการศึกษาเกี่ยวกับผลการวิเคราะห์เพื่อหา
แนวทางในการแก้ปญั หาทีส่ อดคล้องกับสภาพปัญหาทีพ่ บ โดยมีรายละเอียดดังน้ี

ผลการศึกษาวิธีการแก้ปัญหาการอ่านออกเสียงคำควบกล้ำ ผู้วิจัยศึกษานวัตกรรมอย่าง
ละเอียด และพบว่าปัญหาดังกล่าวสามารถนำแบบฝึกทักษะการอ่าน มาใช้ในการแก้ไขปัญหาได้ ดัง
ตารางตอ่ ไปนี้

ตารางที่ 2 วิเคราะห์นวตั กรรมทีน่ ำมาใช้ในการแก้ไขปญั หา

ปัญหา สาเหตุ นวัตกรรม

การอ่านออก นักเรยี นไม่ การสอนโดยใช้แบบฝึกทกั ษะ
เสยี งคำควบ เข้าใจคำควบ
กล้ำ กล้ำและขาด - ลกั ษณะของแบบฝึกทกั ษะ
การฝึกฝน สิ่งที่สร้างขึ้นเพื่อประกอบการเรียนการสอน

เสริมสร้างทักษะให้แก่นักเรียน มีลักษณะเป็นแบบฝึกหัด
ให้นักเรียนทำกิจกรรม ทบทวนความรู้ หรือฝึกทำซ้ำ
ฉะนั้นแบบฝึกจึงมีความสำคัญต่อการเรียนการสอน
เพราะช่วยพัฒนาความสามารถของนักเรียน ตรวจสอบ
ความเข้าใจและแก้ไขขอ้ บกพร่องทางการเรียนดว้ ยการฝึก
ปฏิบตั ิ

- ประโยชนข์ องแบบฝึกทกั ษะ
กาญจนา คุณานุรกั ษ์ ( 2539: 8–10 ) ได้กลา่ วถึง

ประโยชนข์ องแบบฝึก ไว้ดงั นี้
1 ) ช่ว ยลดเ ว ลา กา รสอนของครูและ เพิ่ม

ประสิทธิภาพการเรียนรู้ไดเ้ ป็นอย่างดี
2) เปน็ ประโยชนอ์ ย่างยิง่ แก่ผู้เรยี น เพราะเป็นการ

เน้นความแตกต่างระหวา่ งบุคคลซึ่งถ้าครูเพิกเฉยต่อแบบ
การเรียนรู้ที่แตกต่างกันของนักเรียนแต่ละบุคคลจะทำให้
เกิดประสิทธิภาพการสอนไมเ่ กิดผลเท่าที่ควร แบบฝึกจึง
เหมาะสมกับเอกัตภาพของผู้เรยี นแต่ละคน

3) ประโยชน์ต่อการประเมินผลเพื่อปรับปรุงการ
เรียนการสอน การประเมินแบบอิงเกณฑ์ โดยประเมิน
ผู้เรียนแต่ละคนเปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานทีก่ ำหนด
ไว้หรอื เปรยี บเทียบกับจุดประสงค์

กันตด์ นยั วรจติ ติพล ( 2542: 37 ) กล่าวว่า แบบ
ฝึกช่วยให้นักเรียนไดฝ้ ึกฝนทักษะการใช้ภาษาและมีทักษะ
ทางภาษาที่คงทน ช่วยให้ครูประหยัดเวลาในการที่ต้อง
เตรียมแบบฝึกหัดอยู่ตลอดเวลาและทราบถึงปัญหาต่างๆ
ของนักเรียนได้ชัดเจนขึ้น นอกจากนี้แบบฝึกยังช่วยให้
นักเรียนสามารถทบทวนสิ่งที่เรียนไปแล้วได้ด้วยตนเอง
และทราบถึงความก้าวหน้าในการเรียนของตน

จากตารางวิเคราะห์นวัตกรรมที่นำมาใช้ในการแก้ไขปัญหา การอ่านออกเสียงคำควบกล้ำ
จะเห็นได้ว่านักวิชาการมีความเห็นสอดคล้องกัน ในการนำแบบฝึกทักษะมาใช้ในการแก้ไขปัญหาที่
เกี่ยวกบั การอ่านออกเสียง โดยผู้วิจยั พฒั นารปู แบบให้สอดคล้องกบั สภาพปญั หา

สรุปได้ว่า นวัตกรรมที่ผู้วิจัยนำมาแก้ไขปัญหาการอ่านออกเสียงคำควบกล้ำ เหมาะสมต่อ
เนื้อหาช่วยให้นักเรียนได้ฝึกออกเสียง และเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน คือ การใช้แบบฝึก
ทกั ษะ

ระยะที่ 3 การนำนวัตกรรมไปใช้ในการแก้ปัญหา ผู้วิจัยทำการศึกษาเกี่ยวกับผลของการนำ
นวตั กรรมไปใช้ โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

ผลการนำนวัตกรรมการใช้แบบฝึกทักษะ ในการแก้ไขปัญหาการอ่านออกเสียงคำควบกล้ำ
ของนักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๒๔ จงั หวัดพะเยา สรปุ ผลไดว้ ่านกั เรียน
มีการเรียนรู้ที่ดีขึ้น มีพัฒนาการการเรียนรู้ ตอบสนองต่อการจัดการเรียนรู้ โดยใช้แบบฝึกทักษะ โดย
หลงั การนำนวัตกรรมไปใช้ในการอ่านออกเสียงคำควบกลำ้ สามารถสรุปคะแนนผลสัมฤทธิก์ ารทดสอบ
สอบหลังเรียน ได้ดังนี้

ตารางที่ 3 คะแนนผลสมั ฤทธิ์การทำแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์การอ่าน จำนวน 30 ข้อ

นักเรยี น คะแนนผลสัมฤทธิ์ เกณฑก์ ารประเมิน ผลการประเมิน
การทำแบบทดสอบ (ร้อยละ 80 ขึ้นไป)
คนที่ 1 ผ่าน
คนที่ 2 (30 คะแนน) 83.33 ผ่าน
27 96.67
29

คะแนนผลสัมฤทธิ์การทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์การอ่าน เรื่อง คำควบกล้ำ หลังนำ
นวัตกรรมไปใช้ สรุปได้ว่า นักเรยี น จำนวน 2 คน ผา่ นเกณฑ์ที่กำหนดไว้ โดยผู้วิจยั ได้พิจารณาคะแนน
ความก้าวหน้าจากคะแนนผลสมั ฤทธิ์การทำแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์การอ่าน กอ่ นนำนวตั กรรมไปใช้
เปรยี บเทียบกับคะแนนการทำแบบทดสอบหลังนำนวัตกรรมไปใช้ ดงั ตารางตอ่ ไปนี้

ตารางที่ 4 คะแนนความก้าวหน้าหลงั จากนำนวัตกรรมไปใช้

รายการประเมิน

กอ่ นนำ หลังนำ คะแนน ร้อยละคะแนน

นกั เรยี น นวัตกรรมไป ร้อยละ นวัตกรรมไป ร้อยละ ความก้าวหน้า ความก้าวหนา้
ใช้ ใช้
คนที่ 1
คนที่ 2 (30) (30 )
เฉลี่ย
4 13.33 27 83.33 23 70

11 36.67 29 96.67 16 53.33

7.5 25 28 90 14.5 68.33

จากตารางคะแนนผลสมั ฤทธิ์การทำแบบทดสอบกอ่ นนำนวัตกรรมไปใช้และหลังนำนวตั กรรม
ไปใช้ จะเห็นได้ว่า นักเรยี นทั้ง 2 คน มีคะแนนความกว้าหน้าเพ่มิ ขนึ้ จากเดมิ ร้อยละ 68.33

ผลจากการนำนวัตกรรมไปปฏิบัติ อุปสรรคและปัญหาที่พบ คือ เวลา นักเรียนทั้ง 2 คน
มีภารกิจและงานที่ไดร้ บั มอบหมายที่ต่างกัน ทำให้การเรียนบางวนั นกั เรยี นต้องมาน่ังคอยกัน ทำให้การ
เรียนการสอนเป็นไปได้ช้า บางคาบก็ไม่สามารถดำเนินการสอนให้เสร็จในคาบเดียว และนักเรียนมี
ความด้ือ ซุกชนอยูไ่ ม่นิง่ มกั จะลมื ง่ายครูผู้สอนต้องคอยเน้นย้ำเสมอ ๆ

นวัตกรรมแบบฝึกทักษะ ในการแก้ไขปัญหาการวิเคราะห์ภาพพจน์ในวรรณคดี นับว่ามี
ความเหมาะสมสามารถช่วยแก้ไขปัญหาการอ่านออกเสียงคำควบกล้ำได้ ผู้วิจัยจึงได้สรุปจุดเด่นจุด

ดอ้ ยของนวัตกรรม โดยวิเคราะห์จากการจัดการเรียนการสอน การสมั ภาษณ์นกั เรยี นที่มีปัญหาในการ
วิเคราะหภ์ าพพจนใ์ นวรรณคดี ดงั รายละเอียดตอ่ ไปนี้

ตารางที่ 4 เปรยี บเทียบจดุ เด่นจดุ ด้อยของการนำนวัตกรรมไปปฏิบัติ

จดุ เดน่ จดุ ด้อย

1. ชว่ ยให้ผู้เรียนได้ฝึกหดั การทำซ้ำ หลาย ๆ รอบ 1. ควรเพิ่มคำศพั ท์ให้มคี วามหลากหลายมากขนึ้

2. ช่วยฝึกการออกเสียงอยา่ งถูกต้อง

การใช้แบบฝึกทักษะ เป็นนวัตกรรมที่มีความเหมาะสมสำหรับการแก้ไขปัญหาการอ่านออก
เสยี งคำควบกลำ้ ช่วยให้นักเรยี นได้ใช้ฝึกอ่านการออกเสียง สามารถฝึกไดด้ ว้ ยตนเองและมีคนอืน่ ช่วย

บทที่ 5
สรปุ ผล อภปิ ราย และขอ้ เสนอแนะ

การดำเนินงานวิจัย การแก้ไขปัญหาการอ่านออกเสียงคำควบกล้ำ โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของ
นกั เรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 24 จังหวดั พะเยา ผู้วิจยั แบ่งการดำเนินงาน
เป็น 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 วิเคราะห์สภาพปัญหาในชั้นเรียน ระยะที่ 2 พัฒนาวรรณกรรม ระยะที่ 3
นำไปปฏิบตั ิ จากกระบวนการดำเนนิ งานวิจัย สามารถสรปุ ผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ดังตอ่ ไปนี้

สรุปผลการวิจัย
การดำเนินงานในระยะที่ 1 วิเคราะห์สภาพปัญหาในชั้นเรียน ผลการสำรวจสภาพปัญหาที่

ส่งผลกระทบต่อการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 พบว่า การอ่านออกเสียงคำควบกล้ำเปน็
ปัญหาสำคญั ทีส่ ุดอนั ดบั ที่ 1 ที่ควรเร่งแก้ไข ตรงกับสาระที่ 1 การอ่าน มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
ที่ ท 1.1 ม.3/1 อ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว และบทร้อยกรองได้ถูกต้องเหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน ซึ่ง
ปญั หาทีส่ ำคัญที่สุดมสี าเหตมุ าจากนักเรียนไมเ่ ข้าใจ และขาดการฝกึ ฝน โดยการอ่านออกเสียงคำควบ
กล้ำมีหลากหลายประเภท เช่น

การอานออกเสียงควบกล้ำ กร กล กว
การอานออกเสียงควบกล้ำ ขว คว
การอานออกเสียงควบกล้ำ ขร ขล
การอานออกเสียงควบกล้ำ คร คล ตร
การอานออกเสียงควบกล้ำ ปร ปล
การอานออกเสียงควบกล้ำ พร พล ผล
สภาพปญั หาดังกลา่ วส่งผลกระทบตอ่ การเรียนภาษาไทยโดยตรง เช่น อ่านออกเสียงบทร้อย
แก้ว และบทร้อยกรอง รวมถึงเสยี บคุ ลกิ ภาพดา้ นการพูด
การดำเนินงานในระยะที่ 2 พัฒนาวรรณกรรม ผู้วิจัยดำเนินการศึกษาค้นคว้านวัตกรรมที่
สอดคลอ้ งกบั สภาพปญั หา ซึง่ พบว่า การใช้แบบฝึกทกั ษะ ควรนำไปใช้ในการแก้ไขปญั หาการออกเสียง
คำควบกลำ้ เนื่องจากสามารถแก้ไขสาเหตไุ ด้
การดำเนนิ งานในระยะที่ 3 ผู้วิจยั นำนวัตกรรมไปใช้ในการแก้ไขปัญหานักเรียนช้ันมัธยมศึกษา
ปีที่ 3 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 24 จังหวัดพะเยา โดยนักเรียนมีพัฒนาการที่ดีขึ้น
มกี ารตอบสนองต่อการจัดการเรียนรู้ โดยใช้นวัตกรรมแก้ไขปญั หาเปน็ ไปได้อยา่ งดี ดังเห็นจากนักเรียน
มีผลสัมฤทธิ์หลงั การใช้นวตั กรรมผา่ นเกณฑ์ทีก่ ำหนด

สรุปได้ว่า การใช้แบบฝึกทักษะ สามารถนำมาแก้ไขปัญหาการออกเสียงคำควบกล้ำ ของ
นกั เรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 24 จงั หวดั พะเยา ได้ ตามทีผ่ ู้วิจัยคาดหวัง
ไว้

อภิปรายผล
จากผลการวิจัย เรื่อง การแก้ไขปัญหาการออกเสียงคำควบกล้ำ โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของ

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สามารถอภิปรายผลได้ว่า การออกเสียงคำควบกล้ำ เป็นปัญหาที่ส่งผล
กระทบต่อการเรยี นการสอนภาษาไทย มีนกั เรยี นที่ไมผ่ า่ นเกณฑ์การประเมิน 2 คน ซึง่ การออกเสียงคำ
ควบกลำ้ เป็นประโยชน์ต่อทกั ษะการเรียนการสอนภาษาไทยในช้ันเรียนทีส่ ูงขึ้น สภาพปญั หาดังกล่าวมี
สาเหตมุ าจากนักเรียนไม่เข้าใจคำควบกลำ้ และขาดการฝึกฝย โดยการอา่ นออกเสียงคำควบกล้ำมีการ
ออกเสียงที่หลากหลาย ผู้วิจัยจึงศึกษาค้นคว้าและพฒั นานวตั กรรมเพือ่ ให้สอดคล้องกบั สภาพปญั หา

การแก้ไขปัญหาการออกเสียงคำควบกลำ้ ผู้วิจยั ใช้แบบฝึกทกั ษะ ซึง่ มคี วามเหมาะสมกับสภาพ
ปัญหา สามารถนำไปใช้ในการแก้ไขปัญหาได้ ซึ่งสามารถทำให้ผู้เรียนได้ฝึกทบทวน และเรียนรู้การออก
เสยี งคำควบกลำ้ อยา่ งถกู ต้องและชดั เจน

การนำแบบฝึกทักษะ ไปใช้แก้ไขปัญหาการออกเสียงคำควบกล้ำ พบว่านักเรียน จำนวน 2 คน
ผ่านการประเมินวัดผลสัมฤทธิ์หลังการนำนวัตกรรมไปใช้ นักเรียนทั้ง 2 คน คะแนนความก้าวหน้ามี
เพิ่มขึ้นจากเดิมร้อยละ 68.33 แสดงให้เห็นว่านวัตกรรมประสบความสำเร็จในการแก้ไขปัญหา
สอดคลอ้ งกบั งานวิจัยของ สดุ ารัตน เอกวาณิช (2520 : บทคัดยอ) ไดศึกษาการสรางแบบฝกการอาน
คำที่ใชอักษร ร ล ว คําควบกล้ําสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 โดยทดลองกับนักเรียนหญิง
โรงเรียนมาแตรเดอีวิทยาลัย จํานวน 70 คน ผลการศึกษาพบวา แบบฝกการอานคําที่ใช ร ล ว
ควบกลาํ้ จาํ นวน 21 แบบฝก เมือ่ นําไปใชกบั นักเรยี นแลวทําใหนักเรียน มีความสามารถในการอานคําที่
ใชอักษร ร ล ว ควบกล้ําเพิ่มขึ้น และสอดคลองกับผลการวิจัยของ ศรีประภา ปาลสุทธิ์ (2523 : บท
คดั ยอ) ไดสรางแบบฝกการอานออกเสยี งที่ใชอกั ษร ร ล ว ควบกลาํ้ สําหรับชน้ั ประถมศึกษาปที่ 5 ทด
ลองใชกับนักเรียนที่มีปญหาในการอานออกเสียงคาํ ควบกล้ํา ปรากฏวา นักเรียนสามารถอานคําทีใ่ ช
อกั ษรควบไดถูกตองมากขึน้ หลังจากการฝก จากผลการวิจยั ดงั กลาวขางตน สรปุ ไดวาการฝกออกเสียง
คาํ ควบกลํา้ โดยการใชแบบฝกสามารถพัฒนาการออกเสยี งคาํ ควบกลาํ้ ของนกั เรยี นได

แบบฝึกทักษะจึงเป็นการสอนที่จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถฝึกทบทวนความรู้ทั้งในเวลาเรียนใน
ชวั่ โมงและนอกช่วั โมง

แบบฝึกทักษะจึง จึงมีจุดเด่น คือ เหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน เหมาะสมกับวัย
เหมาะสมกับเนื้อหา ช่วยให้ผู้เรียนได้ฝึกฝน ส่วนจุดด้อยในการนำนวัตกรรมไปใช้ควรเพิ่มคำศพั ท์มาก
ขนึ้

ขอ้ เสนอแนะ
ข้อเสนอแนะในการนำผลวิจยั ไปใช้
1. ผู้วิจัยต้องศึกษาเนื้อหา เช่น วัตถุประสงค์ของการวิจัย รูปแบบการสอน กิจกรรมการสอน

เทคนิควิธีการต่าง ๆ ให้เข้าใจอย่างละเอียด ซึ่งจะชว่ ยให้งานวิจยั เกิดประสิทธิภาพมากขนึ้
2. การทำวิจยั เรื่องนีส้ ามารถนำไปใช้ในการแก้ไขปญั หาการอา่ นออกเสียงคำควบกลำ้ ได้
3. ควรมีการติดตามผลของการอ่านออกเสียงคำควบกล้ำอย่างสม่ำเสมอเพื่อสังเกต

กลุม่ เป้าหมาย

ข้อเสนอแนะในการทำวิจัย
1. ควรนำแบบฝึกทักษะ ไปประยุกต์ใช้ร่วมกับเทคนิคการสอนอื่น ๆ เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ
ของนวัตกรรม
2. ควรศึกษาเทคนิคอื่น ๆ ที่สามารถแก้ไขปญั หาการอา่ นออกเสียงคำควบกลำ้
3. ควรนำแบบฝึกทกั ษะ ไปทดลองใช้กับกลุม่ เป้าหมายที่มีความแตกตา่ งจากเดมิ เช่น ชั้นเรียน
จำนวนนักเรยี น
4. ควรนำแบบฝึกทักษะ ไปทดลองใช้แก้ไขปัญหาการเรียนการสอนภาษาไทยเรื่องอืน่ ๆ เช่น
การเขียนเรียงความ การจับใจความสำคัญ การอ่านจับใจความ หรือนำไปทดลองใช้แก้ไขปัญหาวิชา
อื่น ๆ เชน่ คณิตศาสตร์ สังคมศึกษา วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ตามความเหมาะสม

บรรณานกุ รม

กนั ต์ดนัย วรจติ ติพล. 2542. การพัฒนาแบบฝึกทกั ษะการเขียนภาษาอังกฤษเพอ่ื การสื่อสาร
สำหรบั นักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรยี นสาธิตสถาบันราชภฏั นครปฐม จงั หวดั
นครปฐม. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบณั ฑิต การสอนภาษาอังกฤษในฐานะ
ภาษาต่างประเทศ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

กาญจนา คณุ ารกั ษ.์ 2539. การออกแบการเรยี นการสอน. นครปฐม: มหาวิทยาลยั ศิลปากร.
เกรียงศกั ดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. 2542. ปฏิรปู วิธีคิดแบบไทยตอ้ งคิดใหค้ รบ 10 มิติ. กรุงเทพฯ: สถาบนั

อนาคตศึกษาเพือ่ การพฒั นา.
คณะกรรมการการประถมศึกษาแหง่ ชาติ, สาํ นักงาน. 2544. พัฒนาการของคณุ ภาพ นักเรยี น

ประถมศึกษาและแนวทางการประเมิน. กรุงเทพฯ: การศาสนา.
เกศแกว เพ็งพริง้ . (2547). ความสามารถในการอานและการเขียนคาํ ถกู อกั ขรวิธีของนกั เรยี น

ชั้นมธั ยมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนสาธติ มหาวทยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ ปทมุ วัน. สารนิพนธ
กศ.ม. (ภาษาไทย) กรงุ เทพฯ : บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. อดั สําเนา.

จุไรรัตน์ ลกั ษณะศิริ. 2548. ภาษากบั การสื่อสาร. พิมพค์ รงั้ ที่ 2. กรุงเทพฯ: พีเพรส.
เชาวณี คำเลศิ ลกั ษณ.์ 2542. การสร้างแบบฝึกเสริมทกั ษะเขียนภาษาองั กฤษเพอ่ื การสื่อสาร

สำหรบั นักเรยี นช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 4” วิทยานิพนธศ์ ึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา
การสอนภาษาองั กฤษในฐานะภาษาต่างประเทศ ภาควิชาหลักสตู รและวิธสี อน บัณฑิต
วิทยาลัย มหาวิทยาลยั ศิลปากร.
ดวงมน จิตรจ์ ำนง. 2527. สนุ ทรยี ภาพในภาษาไทย. กรุงเทพฯ: เคล็ดไทย.
ประสงค รายณสขุ . 2532. รายงานการวิจัยการศึกษาผลการทดลองใชแบบฝึกเสริมทกั ษะการ

พูดภาษาไทยแกเดก็ ชาวเขา. ภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร
มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ.
ประเทือง คล้ายสบุ รรณ 2529. อานเขียนคาํ ไทย. พิมพครง้ั ที่ 2 กรุงเทพฯ : โอเดยี นสโตร.
ประไพ ปลายเนตร. 2544. ผลสมั ฤทธิ์การใชค้ ำลักษณนามโดยใช้แบบฝึกของนกั เรยี นชั้น
ประถมศึกษา ปที ี่ 6. วิทยานิพนธ์การศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาภาษาไทย
มหาวิทยาลยั มหาสารคาม.
ปรชี า ชางขวัญยืน. (2517). พน้ื ฐานของการใชภาษา. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานชิ

พรรณธิภา ออนแสง. (2530). การเปรยี บเทยี บความสามารถในการออกเสียงคาํ ควบกลำ้ ของ

นักเรยี นที่พูดภาษาถิ่นไทยลาวในระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปที่ 2 ระหวางกลุมทไี่ ดรับการ

สอน โดยใชแบบฝกเสริมสรางกระบวนการคิดอยางมีระบบกับกลุมทีไ่ ดรบั การสอน

โดยใชแบบฝกท่ัวไป ในโรงเรยี นนครไทยวิทยาคม จงั หวัดพษิ ณโุ ลก.ปรญิ ญานพิ นธ

กศ.ม. (การมธั ยมศึกษา) กรุงเทพฯ : บณั ฑิตวทยาลยั มหาวิทยาลัยศรีนครนทรวิโรฒ. อัด

สําเนา.

ทศิ นา แขมณี. 2551. ศาสตร์การสอนองคค์ วามรเู้ พอ่ื การจัดกระบวนการเรยี นรู้ทีม่ ีประสิทธิภาพ.
พิมพ์ครง้ั ที่ 7. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั .

ธีรญา เหงีย่ มจุล. 2547. การพัฒนาแบบฝึกการอา่ นจบั ใจความสำคัญสำหรบั นกั เรยี นชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 6. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย
ภาควิชาหลกั สตู รและวิธสี อน บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลัยศิลปากร.

นพดล จันทรเพ็ญ. (2531). การใชภาษาไทย. กรุงเทพฯ : ตนออ.
นิมติ ร เพชรจำนง. 2547. การพัฒนาแผนและแบบฝึกทักษะการสะกดคำยากภาษาไทย

เร่อื ง รามเกยี รต์ิ ตอน สคุ รีพหักฉตั ร ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ปรญิ ญาศึกษา
ศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาหลกั สูตรและการสอน มหาวิทยาลยั มหาสารคาม.
มนทิรา ภกั ดีณรงค์. 2540. การศึกษาแบบฝกึ เสริมทกั ษะกจิ กรรมขั้นตอนที่ 5 ทีม่ ีประสิทธิภาพ
และความคงทนในการเรยี นรู้ เร่อื ง ยังไม่สายเกนิ ไป วิชาภาษาไทยช้ันปีที่ 2
โดยการสอนแบบม่งุ ประสบการณภ์ าษา. วิทยานิพนธ์ปรญิ ญาศึกษาศาสตรมหาบณั ฑิต
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
รตั นาภรณ์ คล่องแคลว่ . 2548. การพฒั นาทักษะการอ่านจบั ใจความวิชาภาษาไทย
ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 โดยใชแ้ บบฝึก. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา
หลักสตู รและการนิเทศ ภาควิชาหลกั สูตรและวิธสี อน บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยั
ศิลปากร.
ราชบัณฑิตยสถาน. 2538. พจนานุกรมราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ.2525. กรุงเทพฯ: อกั ษรเจริญทศั น์.
ลักขณา สริวัฒน.์ 2557. จติ วิทยาสำหรบั ครู. กรุงเทพฯ: โอเดยี นสโตร์.
วิชาการ กรม. 2551. หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551. กรุงเทพฯ:
ชุมนุมสหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย.
วิมลรัตน์ สุนทรโรจน์. 2545. เอกสารประกอบการสอนวิชาสัมมนาหลกั สูตรและการสอน

ภาษาไทย. มหาสารคาม: ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั
มหาสารคาม.
ศรีประภา ปาลสทุ ธิ.์ (2523). การสรางแบบฝกการอาน รลว ควบกล้ำสาํ หรบั นกเรียนชนั้

ประถมศึกษาปที่5. วิทยานิพนธศศ.ม. (ภาษาไทย)กรงุ เทพฯ :บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

วิวฒั นา กองวิชา . (2546). รายงานผลการใชชดุ ฝกทักษะการอานออกเสียงคาํ ควบกล้ำ รลว ของ

นักเรยี นช้ันประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรยี นพยุหะศึกษาคาร. อดั สาํ เนา.

ศึกษาธิการ กระทรวง. 2553. พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542. กรุงเทพฯ:
องค์การรบั สง่ สินค้าและพสั ดุภณั ฑ์ (ร.ส.พ.).

สจุ ริต เพียรชอบ. (2543). บทความ. คมู ือหมอภาษา เอกสารประกอบการเขาคายเยาวชนหมอภาษา.
กรมสามญั ศึกษารวมกับสานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาต.ิ

สดุ ารัตนเอกวานชิ . (2520). การสรางแบบฝกการอานคาํ ที่ใชอักษร รลว ควบกล้ำสาํ หรบั นกั เรยี น

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธค.ม (ภาษาไทย )กรงุ เทพฯ : บณั ฑิตวิทยาลยั
จฬุ าลงกรณ มหาวิทยาลยั . อัดสาํ เนา.
สมบตั ิ ตัญตรยั รตั น. (2525). การสรางแบบฝกความพรอมในการเรยี นอาน สําหรบั เด็กที่พดู

ภาษาถิน่ ในจังหวดั ขอนแกน. ปรญิ ญานพิ นธกศ.ม. (ภาษาไทย)กรุงเทพฯ : บณั ฑิตวิทยา
ลัยมหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒ. อดั สาํ เนา.

สุรีย์มาศ บุญฤทธิร์ งุ่ โรจน์. 2544. การพัฒนาแบบฝึกการอา่ นจบั ใจความสำคญั สำหรบั นกั เรยี น
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. วิทยานิพนธศ์ ึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและ
การนิเทศ ภาควิชาหลักสตู รและวิธสี อน บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยั ศิลปากร.

สุวัฒน์ วิวฒั นานนท.์ 2551. ทักษะการอ่านคิดวิเคราะหแ์ ละเขียน. ครงั้ ที่ 2. กรงุ เทพฯ: ซ.ี ซี.
นอลดิดจ์ลงิ คส์.

สวุ ิมล ตนั ปติ. (2536). การศึกษาเปรยี บเทียบความสามารถในการอานออกเสียงคาํ ทีม่ ี รลว

ควบกลำ้ ของนักเรยี นช้ันประถมศึกษาปที่ 2 ที่ไดรับการฝกทกั ษะ โดยใชเกมและ

การฝกทักษะโดยใชกจิ กรรมในคูมือครู. ปรญิ ญานพิ นธกศ.ม. (การประถมศึกษา)
กรุงเทพฯ : บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ. อัดสําเนา.
Goodman. Kenneth S. (1967, May) Rearing a Psycholinguistics Guessing Game Journal of the
Reading Specialist. P.126-135.

ภาคผนวก

รปู ภาพ

นวตั กรรมแบบฝกึ ทักษะประกอบวิจยั เรือ่ งการแกไ้ ขปัญหาการอ่านออกเสียงคำควบกล้ำ
โดยใชแ้ บบฝึกทกั ษะ ของนกั เรียนชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี ๓ ปีการศึกษา ๒๕๖๓

นวตั กรรมแผนการจดั การเรียนรู้ประกอบวจิ ยั เรอ่ื งการแก้ไขปญั หาการอา่ นออกเสยี งคำควบกลำ้
โดยใช้แบบฝกึ ทักษะ ของนกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๓ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓


การประกอบอาชีพมีความสําคัญต่อการดํารงชีวิตอย่างไร

1. ทำให้ชีวิตดำรงอยู่ได้เมื่อมีอาชีพ มีรายได้ สามารถจับจ่ายใช้สอย ซื้อสิ่งของต่างๆ มาใช้ประโยชน์ได้ ทำให้มีคุณภาพชีวิตดีขึ้น 2. ช่วยสร้างครอบครัวและฐานะทางเศรษฐกิจ รายได้ส่วนที่เหลือจากการใช้จ่ายในชีวิตประจำวันเมื่อเก็บ สะสมไว้เป็นการสร้างอนาคตและดูแลครอบครัวให้ดำรงอยู่ได้อย่างมีความสุข

อาชีพคืออะไร มีความสําคัญอย่างไร

การมีอาชีพ เป็นสิ่งที่สำคัญในวิถีชีวิตและการดำรงชีพในปัจจุบัน เพราะอาชีพเป็นการสร้างรายได้เพื่อเลี้ยง ชีพตนเองและครอบครัว อาชีพก่อให้เกิดผลผลิตและการบริการ ซึ่งสนองตอบต่อความต้องการของผู้บริโภคและที่ สำคัญคือ อาชีพมีความสำคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศชาติความสำคัญของอาชีพจึงเป็นฟันเฟืองสำคัญในการพัฒนา คุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ ...

อาชีพมีความสําคัญต่อท้องถิ่นอย่างไร

2) อาชีพทำให้เกิดเอกลักษณ์ประจำท้องถิ่น เช่น โครงการหนึ่งตำบลหนึ่ง ผลิตภัณฑ์ซึ่งส่งเสริมให้คนในท้องถิ่นนำทรัพยากรที่มีอยู่มากในท้องถิ่นของตนเอง และไม่มีในท้องถิ่นอื่น มาประดิษฐ์หรือแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ที่ผู้ซื้อจดจำได้ง่ายและ ปลูกฝังให้คนในท้องถิ่นเกิดความภาคภูมิใจ รักและผูกพันในท้องถิ่นของต้นเอง

อาชีพมีความหมายว่าอย่างไร

Main definition. Occupation. งานหรืออาชีพ ตามเอกสาร “การจัดประเภทมาตรฐานอาชีพ (ประเทศไทย)” ให้คำนิยามไว้ว่า “อาชีพหมายถึง งานประกอบการค้า งานที่ใช้วิชาชีพหรืองานอื่นๆ ซึ่งบุคคลใดบุคคลหนึ่งกระทำอยู่ แต่ไม่หมายความถึงอุตสาหกรรม สถานการณ์ทำงานหรือประสบการณ์ในการทำงานของผู้ปฏิบัติงานนั้นๆ