การประเมินภายนอกมีประโยชน์อย่างไร

สมศ.

  • ความเป็นมา
  • หน้าที่และอำนาจ
  • วิสัยทัศน์/พันธกิจ/ค่านิยม
  • ตราสัญลักษณ์
  • โครงสร้างองค์กร
  • คณะกรรมการ/อนุกรรมการ

    • คณะกรรมการ สมศ.
    • ที่ปรึกษาของคณะกรรมการ
    • คณะกรรมการตรวจสอบ
    • คณะกรรมการพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน
    • คณะกรรมการพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพการศึกษาด้านการอาชีวศึกษา
    • คณะกรรมการพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา
    • คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบ กศน.
    • คณะอนุกรรมการกฎหมาย
    • คณะอนุกรรมการบริหารงานบุคคล
  • ยุทธศาสตร์และกลยุทธ์
  • ผลผลิตและเป้าหมาย

กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

  • พระราชบัญญัติ/พระราชกำหนด
  • พระราชกฤษฏีกา
  • กฎกระทรวง
  • ข้อบังคับ
  • ข้อกำหนด
  • ระเบียบ
  • คำสั่ง
  • ประกาศ

ความก้าวหน้าการประเมินคุณภาพภายนอก

สถานศึกษา/สถาบันอุดมศึกษา และต้นสังกัด

  • ศูนย์พัฒนาเด็ก

    • ประกาศ
    • เครื่องมือ/คู่มือ
  • การศึกษาขั้นพื้นฐาน

    • ประกาศ
    • เครื่องมือ/คู่มือ
  • การศึกษาขั้นพื้นฐานวัตถุประสงค์พิเศษ

    • เครื่องมือ/คู่มือ
  • กศน.

    • เครื่องมือ/คู่มือ
  • ด้านการอาชีวศึกษา

    • เครื่องมือ/คู่มือ
  • ระดับอุดมศึกษา
  • รายงานประเมินภายนอก

ผู้ประเมิน

  • คู่มือผู้ประเมิน
  • เกณฑ์การประเมิน
  • แบบฟอร์ม

ประชาสัมพันธ์

  • ภาพกิจกรรม
  • สมัครงาน
  • ปฏิทินกิจกรรม
  • ข่าว สมศ.

ประกาศ

คลังความรู้

  • ส่งเสริมความรู้ประเมินภายนอก
  • มัลติมีเดีย
  • สัมมนา
  • อินโฟกราฟิก
  • E-Book
  • จุลสาร
  • สื่อสิ่งพิมพ์
  • ดาวน์โหลด

งานวิจัย

  • ระเบียบ/ข้อบังคับ
  • ประกาศ
  • ฐานข้อมูลโครงการวิจัย

    • งานวิจัยการประกันภายนอก
    • งานวิจัยผู้ประเมินภายนอก
    • งานวิจัยระบบสนับสนุนการประเมิน
    • งานวิจัยอื่น ๆ

การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส (ITA)

  • ปีงบประมาณ พ.ศ.2561
  • ปีงบประมาณ พ.ศ.2562
  • ปีงบประมาณ พ.ศ.2563
  • ปีงบประมาณ พ.ศ.2564
  • ปีงบประมาณ พ.ศ.2565

ข้อมูลเผยแพร่

  • การเผยแพร่ข้อมูลตามหลักธรรมภิบาลของ กพร.
  • ข้อมูลข่าวสารตามเกณฑ์มาตรฐานความโปร่งใสของหน่วยงาน

การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล

เจตจำนงสุจริตของผู้บริหาร

  • นโยบายความโปร่งใสในการปฏิบัติงาน
  • ประกาศเจตจำนงสุจริตในการปฏิบัติงาน

คุณธรรมความโปร่งใสและการป้องกันทุจริต

  • แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต
  • การส่งเสริมความโปร่งใสภายในองค์กร
  • รายงานผลตามแผนการป้องกันทุจริต
  • การบริหารความเสี่ยงด้านทุจริต

ความเสี่ยง

  • รายงานการติดตามประเมินผลการดำเนินงานและบริหารความเสี่ยง
  • รายงานผลการติดตามและทบทวนความเพียงพอของระบบบริหารจัดการฯ (COSO)

จัดซื้อจัดจ้าง

  • ข้อบังคับการจัดหาพัสดุ
  • แผน/ผลจัดซื้อจัดจ้าง
  • ประกาศแผนจัดซื้อจัดจ้าง
  • ประกาศจัดซื้อจัดจ้าง
  • ประกาศผลจัดซื้อจัดจ้าง
  • ราคากลาง

การประเมินคุณภาพภายนอก คือการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา   การติดตาม     การตรวจสอบคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษา ซึ่งกระทำโดย สมศ. หรือผู้ประเมินภายนอกที่ได้รับการรับรองจาก สมศ. เพื่อมุ่งให้มีการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาให้ดียิ่งขึ้น

หลักการสำคัญของการประเมินคุณภาพภายนอก

  1. เป็นการประเมินเพื่อมุ่งให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ไม่มุ่งเน้นเรื่อง การตัดสิน การจับผิดหรือการให้คุณให้โทษ
  2. ยึดหลักความเที่ยงตรง โปร่งใส มีหลักฐานข้อมูลตามสภาพความเป็นจริง และมีความรับผิดชอบตรวจสอบได้
  3. มุ่งสร้างความสมดุลระหว่างเสรีภาพทางการศึกษากับจุดมุ่งหมายหลัก และหลักการ ศึกษาของชาติ โดยให้มีเอกภาพเชิงนโยบาย แต่ยังคงมีความหลากหลายในทางปฏิบัติ โดยสถานศึกษาสามารถกำหนดเป้าหมายเฉพาะและพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้เต็มตามศักยภาพของสถานศึกษาและผู้เรียน
  4. มุ่งเสริมและประสานงานในลักษณะกัลยาณมิตรมากกว่าการกำกับและควบคุม
  5. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการประเมินคุณภาพและพัฒนาการจัดการศึกษาจากทุกฝ่าย

วัตถุประสงค์ของการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษา

  1. เพื่อตรวจสอบยืนยันสภาพจริงในการดำเนินงานของสถานศึกษา และ ประเมินคุณภาพ       การศึกษา ตามมาตรฐานการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ ตามกรอบแนวทางและวิธีการที่ สมศ. กำหนด และสอดคล้องกับระบบประกันคุณภาพภายใน
  2. เพื่อให้ได้ข้อมูลซึ่งช่วยสะท้อนให้เห็นจุดแข็งจุดอ่อนของสถานศึกษา เงื่อนไขของความสำเร็จ และสาเหตุของปัญหา
  3. เพื่อช่วยเสนอแนะแนวทางปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษา
  4. เพื่อส่งเสริมให้มีการพัฒนาคุณภาพและประกันคุณภาพภายในอย่างต่อเนื่อง
  5. เพื่อรายงานผลการประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสาธารณชน

แนวทางการประเมินคุณภาพภายนอก

  1. เรียนรู้ร่วมกัน
  2. ใช้เกณฑ์ของ สมศ.สถาบัน และเจ้าสังกัดของสถาบัน
  3. คำนึงเอกลักษณ์ของสถาบัน
  4. ใช้ฐานข้อมูล หลักฐาน ประกอบกับวิจารณญาน
  5. เน้นการปรับปรุง พัฒนางานของสถาบัน
  6. ประกันคุณภาพเพื่อความเป็นเลิศของสถาบันมากกว่าเพื่อการประเมิน
  7. คำนึงถึงมาตรฐานสากล
  8. สำนึกในความเป็นกัลยาณมิตร

ผู้ประเมินภายนอก หมายถึงบุคคลหรือหน่วยงานที่มีคุณสมบัติตามที่กำหนดและได้รับการรับรอง จากสมศ.ให้ทำการประเมินคุณภาพภายนอก

ความแตกต่างของการประกันคุณภาพภายในกับการประเมินคุณภาพภายนอก
การประกันคุณภาพภายใน เป็นกระบวนการบริหารที่สถานศึกษาต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง ทั้งการวางแผน กำหนดเป้าหมาย และวิธีการทำ ลงมือตามแผน ประเมินผลและปรับปรุงแก้ไข เพื่อพัฒนาคุณภาพ และจัดทำรายงานการประเมินตนเองเป็นประจำทุกปี

ส่วนการประเมินคุณภาพภายนอก เป็นการประเมินที่มีความต่อเนื่องกับการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา เป็นการยืนยันผลการประเมินภายใน ว่าการจัดการศึกษามีคุณภาพอย่างไร เมื่อเปรียบเทียบกับมาตรฐานที่กำหนด การประกันคุณภาพภายในกับการประเมินคุณภาพภายนอกจึงเชื่อมโยงกันด้วยมาตรฐานการศึกษาเป็นหลัก

มาตรฐานการศึกษา คือข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะคุณภาพที่พึงประสงค์และเป็นเป้าหมายที่ต้องการให้เกิดขึ้นในสถานศึกษาทุกแห่ง เพื่อใช้เป็นหลักในการเทียบเคียงสำหรับการส่งเสริม กำกับดูแล ตรวจสอบประเมินผล และ การประกันคุณภาพการศึกษา

เพราะเหตุใดจึงต้องมีการประเมินภายใน

การประเมินคุณภาพภายในถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของการบริหารจัดการ เพื่อที่จะได้ทราบขีดความสามารถในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาว่าบรรลุ ตามเป้าหมายหรือมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาหรือไม่ นำผลการประเมิน ไปแก้ไขข้อบกพร่องได้ทันที เพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง (Continuous.

ใครได้รับประโยชน์จากการประเมินคุณภาพภายนอก

ตอบ : การประเมินคุณภาพภายนอกจะช่วย เป็นหลักประกันให้ผู้เรียนและสังคมมี ความมั่นใจว่าจะได้รับบริการจาก สถานศึกษาตามมาตรฐานที่กำหนด และเป็นการช่วยให้สถานศึกษามีการ พัฒนาคุณภาพที่ดีขึ้นอย่างสม่ำเสมอ

การประเมินภายนอกแตกต่างจากการประเมินภายในอย่างไร

การประเมินคุณภาพภายในจะใช้วิธีการศึกษาตนเอง (Self Study) และการประเมินตนเอง (Self Assessment) ส่วนการประเมินคุณภาพภายนอกเป็นการดำเนินงานโดยสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา เพื่อประเมินผลและรับรองว่า สถาบันการศึกษาจัดการศึกษาได้คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาที่กำหนดไว้

เพราะเหตุใดจึงต้องมการประเมินภายนอก

เพื่อให้ได้ข้อมูลซึ่งช่วยสะท้อนให้เห็นจุดแข็งจุดอ่อนของสถานศึกษา เงื่อนไขของความสำเร็จ และสาเหตุของปัญหา เพื่อช่วยเสนอแนะแนวทางปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษา เพื่อส่งเสริมให้มีการพัฒนาคุณภาพและประกันคุณภาพภายในอย่างต่อเนื่อง