แหล่งข้อมูลทางประวัติศาสตร์ ให้ข้อมูล เกี่ยวกับ เรื่อง ใด บ้าง

�����ѡ�ҹ�ҧ����ѵ���ʵ�� �繢������ʹյ����ѧ����ҡ���������й������繢������ ����֡�� �˵ء�ó����Դ����ʹյ����Ң����ػ�����������ԧ�ҡ����ش �Ѵ���������»����� ��
��� ����觵���ؤ���� (��ѡ�ҹ��͹����ѵ���ʵ�� ��ѡ�ҹ���»���ѵ���ʵ��)
�����觵���ѡɳС�úѹ�֡ (��ѡ�ҹ��� �����ѹ�֡������ѡɳ��ѡ�� �����ѡ�ҹ���ѹ�֡�� ����ѡɳ��ѡ��)
��� �觵��ਵ������ͧ �������Ǣ�ͧ (��ѡ�ҹ�����·ʹ�����ਵ�� ��ѡ�ҹ�����·ʹ ��ਵ��)
��� �觵���س�����Фس���ѵԢͧ��ѡ�ҹ
��� 1. ��ѡ�ҹ��鹵� (primary sources) ���¶֧ ��ѡ�ҹ���ѹ�֡��к͡�����¼������Ǣ�ͧ �µç �����������˵ء�ó��鹴��µ��ͧ
��� 2. ��ѡ�ҹ����ͧ (secondary sources) ���¶֧ ��úѹ�֡����ͧ��ǵ�ҧ � �ͧ������Ѻ��Һ �˵ء�ó�ҡ�Ӻ͡���Ңͧ�ؤ��˹���ա���˹�� ��������˹ѧ��ͷҧ����ѵ���ʵ�����ռ����¹��� ������� ��ѡ�ҹ��鹵�
����»���ѵ���ʵ����觵���ѡɳС�úѹ�֡����¡���� 2 ���������
��� 1. ��ѡ�ҹ����������ѡɳ��ѡ�� ���¶֧ ��ѡ�ҹ����繵��˹ѧ��� �� ��ѡ���Ҩ��֡ ����Ǵ�� �ӹҹ �������˵� �ѹ�֡�����ç�� ��ó���� �͡��÷ҧ�Ԫҡ�� ��ǻ���ѵ� ˹ѧ��;���� �Ե���� �ѹ�֡����������͡�������ɳ� ����͡����Ҫ��� ��ѡ�ҹ��������� �Ѻ�� ��鹰ҹ����Ӥѭ㹡���֡�һ���ѵ���ʵ����
��� 2. ��ѡ�ҹ���������������ѡɳ��ѡ�� ���� ��ѡ�ҹ�ҧ��ҳ��� ������������ ����ǡѺ �ç���ҧ����Ѳ����� ������������� 2 ���������
��� (1) ��ҳ�ѵ�� �� ��оط��ٻ ���ٻ �ѭ�ѡɳ�ҧ��ʹ� �������ͧ��дѺ ����ͧ��� ����ͧ��
��� (2) ��ҳʶҹ ���� ��觡�����ҧ �½��������������Դ�Ѻ��鹴Թ �� ��ᾧ���ͧ �����ͧ �ٹ�� �Ѵ ਴��� ����ҷ ��� ��й��

Ref : http://www2.se-ed.net/nfed/history/index_his.html 14/02/2008

หลักฐานทางประวัติศาสตร์

    แหล่งข้อมูลทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในสังคมไทยแต่ละยุคสมัยอาจจำแนกได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้

  1. หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร ได้แก่ หลักฐานที่เป็นตัวหนังสือโดยมนุษย์ได้ทิ้งร่องรอยขีดเขียนเป็นตัวหนังสือประเภทต่างๆ ในรูปของการจารึกในศิลาจารึกและการจารึกบนแผ่นโลหะ นอกจากนี้หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เป็นลายลักษณ์อักษรประเภทอื่น เช่น พงศาวดาร จดหมายเหตุ ตำนาน และกฎหมาย
  2. หลักฐานที่เป็นวัตถุ ได้แก่ วัตถุที่มนุษย์แต่ละยุคแต่ละสมัยได้สร้างขึ้น และตกทอดมาจนถึงปัจจุบัน เช่น โบราณสถาน ประกอบด้วย วัด เจดีย์ มณฑป และโบราณวัตถุ ประกอบด้วย พระพุทธรูป ถ้วยชามสังคโลก

      การแบ่งลำดับความสำคัญของหลักฐานทางประวัติศาสตร์เป็น 2 ประเภท คือ

  1. หลักฐานชั้นต้นหรือหลักฐานปฐมภูมิ เป็นหลักฐานที่มาจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสมัยนั้นจริงๆ โดยมีการบันทึกของผู้ที่เกี่ยวกับเหตุการณ์โดยตรง หรือผู้ที่รู้เหตุการณ์นั้นด้วยตนเอง  ดังนั้นหลักฐานช่วงต้น  จึงเป็นหลักฐานที่มีความสำคัญและน่าเชื่อถือมากที่สุด  เพราะบันทึกของบุคคลที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์หรือผู้อยู่ในเหตุการณ์บันทึกไว้  เช่น  จดมายเหตุ คำสัมภาษณ์  เอกสารทางราชการ  บันทึกความทรงจำ  กฎหมาย  หนังสือพิมพ์  ภาพยนตร์  สไลด์  วีดิทัศน์       แถบบันทึกเสียง โบราณสถาน  แหล่งโบราณคดี  โบราณวัตถุ
  2. หลักฐานชั้นรองหรือหลักฐานทุติยภูมิ เป็นหลักฐานที่เขียนขึ้นโดยบุคคลที่ไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์นั้นโดยตรง โดยมีการเรียบเรียงขึ้นภายหลังจากเกิดเหตุการณ์นั้นๆ ส่วนใหญ่อยู่ในรูปของบทความทางวิชาการและหนังสือต่างๆ เช่น พงศาวดาร ตำนาน บันทึกคำบอกเล่า ผลงานทางการศึกษาค้นคว้าของนักวิชาการ  สำหรับหลักฐานชั้นรองนั้นมีข้อดี   คือ  มีความสะดวกและง่ายในการศึกษาทำความเข้าใจ  เนื่องจากเป็นข้อมูลได้ผ่านการศึกษาค้นคว้า  ตรวจสอบข้อมูล  วิเคราะห์เหตุการณ์และอธิบายไว้อย่างเป็นระบบ  โดยนักประวัติศาสตร์มาแล้ว

ลักษณะสำคัญของหลักฐานประวัติศาสตร์ในประเทศไทย

หลักฐานทางประวัติศาสตร์ในประเทศไทย มีอยู่หลายลักษณะ อาจแบ่งลักษณะสำคัญของหลักฐานออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ

1. หลักฐานที่ไม่ใช่ลายลักษณ์อักษร ได้แก่

1.1 โบราณสถาน

1.2 โบราณวัตถุ

2. หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร ได้แก่

2.1 จารึก

          2.2 เอกสารพื้นเมือง       

ข้อมูลทางประวัติศาสตร์ไทยจะอาศัยหลักฐานทั้งที่เป็นลายลักษณ์อักษร  และไม่เป็นลายลักษณ์อักษร 

 โดยแบ่งความสำคัญของหลักฐานออกเป็น  2  กลุ่ม  คือ

1.หลักฐานชั้นต้น  หรือ  หลักบานปฐมภูมิ (Primary  Sources )  หมายถึง  บันทึกหรือคำบอกเล่าของผู้พบเห็น  หรือผู้ที่อยู่ในเหตุการณ์ 

 หรือผู้ร่วมสมัยกับเหตุการณ์  จดหมายเหตุ  บันทึกการเดินทาง  หลักฐานทางโบราณคดี  แผนที่  ลายแทง  เป็นต้น

2. หลักฐานชั้นรอง  ( Secondary  Sources )  หมายถึง  ผลงานการค้นคว้าที่เขียนขึ้น  หรือเรียบเรียงขึ้นภายหลังเกิดเหตุการณ์นั้นแล้ว

  โดยอาศัยหลักฐานขั้นต้นประกอบ  อาจเพิ่มเติมความคิดเห็น  หรือเหตุผลอื่นๆ ประกอบ  ส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปของเอกสารต่างๆ  เช่น  พงศาวดาร  ตำนาน  เป็นต้น

แหล่งข้อมูลทางประวัติศาสตร์ให้ข้อมูลเกี่ยวกับอะไรบ้าง

Content. หลักฐานทางประวัติศาสตร์ หลักฐานทางประวัติศาสตร์ เป็นข้อมูลในอดีตที่ยังคงปรากฏให้เห็นและนำมาใช้เป็นข้อมูลใน การศึกษา เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีตและหาข้อสรุปที่ใกล้ความจริงมากที่สุด จัดแบ่งได้เป็นหลายประเภท เช่น การแบ่งตามยุคสมัย (หลักฐานก่อนประวัติศาสตร์ หลักฐานสมัยประวัติศาสตร์)

แหล่งข้อมูลทางประวัติศาสตร์มีกี่ประเภทอะไรบ้าง

หลักฐานทางประวัติศาสตร์จาแนกได้2 ลักษณะ คือ 1. แบ่งตามลาดับความสาคัญ - หลักฐานชั้นต้นหรือหลักฐานปฐมภูมิ - หลักฐานชั้นรองหรือหลักฐานทุติยภูมิ 2. แบ่งตามลักษณะหรือวิธีการบันทึก - หลักฐานลายลักษณ์อักษร - หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร

ความสําคัญของหลักฐานทางประวัติศาสตร์มีอะไรบ้าง

การศึกษาข้อมูลจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ มีความส าคัญ ดังนี้ มีรายละเอียดที่เป็นประโยชน์ต่อการศึกษา เรื่องราวหรือเหตุการณ์ในอดีต เป็นหลักฐานที่น ามาศึกษาเหตุการณ์ ในอดีตแนวทางตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล และเป็นสิ่งที่ให้ ข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริง

โบราณสถานจัดเป็นหลักฐานประเภทใด

หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ส่วนใหญ่เป็นหลักฐานประเภทโบราณสถาน โบราณวัตถุเช่น โบสถ์ วิหาร โครงกระดูกมนุษย์เครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ ซึ่งจัดว่าเป็นหลักฐานที่มีคุณค่า และสามารถใช้ข้อมูลทาง ประวัติศาสตร์ได้เป็นอย่างมาก