พระราชกรณียกิจในพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวทางด้านการสาธารณสุขและการแพทย์ เป็นอย่างไร สรุปเป็นประเด็นสั้น ๆ ให้ชัดเจน

ความเป็นมาของจิตอาสาพระราชทานตามแนวพระราชดำริ

          พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้หน่วยราชการในพระองค์ 904 ร่วมกันจัดโครงการจิตอาสาพระราชทานตามแนวพระราชดำริเพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติและแสดงความสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ ของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรและสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวง ที่ทรงประกอบพระราชกรณียกิจนานัปการ เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน ทั้งนี้เพื่อให้ประชาชนมีความ สมัครสมานสามัคคี มีความสุขและประเทศชาติมีความมั่นคงอย่างยั่งยืน โดยมีหน่วยราชการในพระองค์ 904 เป็นผู้กำกับดูแลการปฏิบัติงานร่วมกับ หน่วยงาน ภายนอกทั้งภาครัฐและเอกชน และให้จัดตั้งศูนย์อำนวยการใหญ่โครงการจิตอาสาพระราชทานตามแนวพระราชดำริ มีหน้าที่ควบคุม อำนวยการและประสานการ ปฏิบัติเพื่อให้การจัดกิจกรรมจิตอาสาพระราชทานตามแนวพระราชดำริ เป็นไปอย่างต่อเนื่องถูกต้องตามพระราโชบาย และสมพระเกียรติ

          ในระยะเริ่มแรก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้มีพระราชปณิธานในการบำเพ็ญประโยชน์พื้นที่ชุมชนโดยรอบพระราชวังดุสิตเป็นการทำความ ดีด้วยหัวใจถวายเป็น พระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช      บรมนาถบพิตรโดยหน่วยทหารมหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์หน่วยทหารรักษาพระองค์ ข้าราชบริพารในพระองค์ฯร่วมกับประชาชนจิตอาสา “เราทำความ ดี ด้วยหัวใจ” ร่วมกันดูแลและพัฒนารักษาพื้นที่จากชุมชนเล็กๆ รอบพระราชวังดุสิตขยาย สู่พื้นที่โดยรวมของประเทศในการพัฒนาอย่างมั่นคงและยั่งยืนสืบไป

ความหมายของ “จิตอาสา” ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ฉบับ พ.ศ. 2542 ได้ให้ความหมายของ “จิตอาสา” ดังนี้

          “จิต” เป็นคำนาม หมายถึง ใจ สิ่งที่มีหน้าที่รู้ คิด และนึก

          “อาสา” เป็นคำกริยาหมายถึง เสนอตัวเข้ารับทำ

          ดังนั้น “จิตอาสา” จึงหมายถึง จิตแห่งการให้ความดีงามทั้งปวงแก่เพื่อนมนุษย์โดยเต็มใจสมัครใจอิ่มใจ ซาบซึ้งใจ ปีติสุข ที่พร้อมจะเสียสละเวลา แรงกาย แรงสติปัญญา เพื่อสาธารณประโยชน์ในการทำกิจกรรมหรือสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่ผู้อื่นโดยไม่หวังผลตอบแทน และมีความสุขที่ได้ช่วยเหลือผู้อื่น เป็นจิตที่ไม่นิ่งดู ดายเมื่อพบเห็นปัญหาหรือความทุกข์ยากที่เกิดขึ้นกับผู้คน เป็นจิตที่มีความสุขเมื่อได้ทำความดีและเห็นน้ำตาเปลี่ยนแปลงเป็นรอยยิ้ม เป็นจิตที่เปี่ยมด้วย “บุญ” คือความสงบเยือกเย็น และพลังแห่งความดีอีกทั้งยังช่วยลด “อัตตา” หรือความเป็นตัวตนของตนเองลงได้

ความหมายของ จิตอาสา “เราทำความ ดี ด้วยหัวใจ”

หมายถึง ประชาชนทุกหมู่เหล่าทั้งในและต่างประเทศที่สมัครใจช่วยเหลือผู้อื่นยอมเสียสละเวลา แรงกาย แรงใจ และสติปัญญาใน การทำงานที่เป็นสาธารณประโยชน์ โดยไม่หวังผลตอบแทนใด ๆ

จิตอาสาตามพระราโชบาย แบ่งเป็น 3 ประเภท ดังนี้ 

1 จิตอาสาพัฒนา : ได้แก่กิจกรรมจิตอาสาพระราชทานที่มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาท้องถิ่นของแต่ละชุมชนให้มีคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นไม่ว่าจะเป็นกิจกรรมบำเพ็ญ สาธารณประโยชน์ การอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมการอำนวยความสะดวกและความปลอดภัยในการดำรงชีวิตประจำวันการประกอบอาชีพ รวมทั้งการ สาธารณสุข ฯลฯ แบ่งตามภารกิจงานเป็น 8 กลุ่มงาน ดังนี้

          จิตอาสาพัฒนาชุมชนเข้มแข็ง ประชามีสุข หมายถึง กลุ่มงานจิตอาสาที่เข้าร่วมกิจกรรมสาธารณประโยชน์ อาทิ การขุดลอกคูคลอง การดูแลรักษา ความสะอาดเรียบร้อยของศาสนสถานหรือสถานที่สาธารณะ การจัดเก็บผักตบชวา การปลูกต้นไม้ รวมทั้งการพัฒนาโครงการต่าง ๆ ที่สร้างความเป็นอยู่ของ ชุมชนให้เข้มแข็ง ประชาชนมีความสุขอย่างยั่งยืน

          จิตอาสางานประดิษฐ์และเผยแพร่งานศิลปาชีพ หมายถึง กลุ่มงานจิตอาสาที่นำความรู้ทางด้านศิลปหัตถกรรมพื้นบ้าน/ภูมิ ปัญญาท้องถิ่น มาเผย แพร่ และถ่ายทอดเพื่อให้ประชาชนนำความรู้ที่ได้รับไปพัฒนาให้เป็นประโยชน์ต่อไป

          จิตอาสาฝ่ายกิจกรรมการแสดงและนิทรรศการ หมายถึง กลุ่มงานจิตอาสาที่ปฏิบัติงานสนับสนุนในการจัดงานหรือกิจกรรมการแสดงและมีนิทรรศการ เฉลิมพระเกียรติ เพื่อเผยแพร่พระราชกรณียกิจและเผยแพร่กิจกรรมจิตอาสาฯ เช่น กิจกรรมการแสดงดนตรีบริเวณพระลานพระราชวังดุสิต การจัดงานอุ่นไอ รัก คลายความหนาว งานเถลิงศกสุขสันต์มหาสงกรานต์ตำนานไทย เป็นต้น

          จิตอาสาฝ่ายแพทย์และสาธารณสุข หมายถึง กลุ่มงานจิตอาสาที่ปฏิบัติงานสนับสนุนและช่วยอำนวยความสะดวกแก่แพทย์ พยาบาล รวมถึงช่วยอำนวย ความสะดวกด้านการปฐมพยาบาลเบื้องต้น ตลอดจนส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ

          จิตอาสาฝ่ายทะเบียนและข้อมูล หมายถึง กลุ่มงานจิตอาสาที่ให้คำแนะนำและอำนวยความสะดวกประชาชนที่มาลงทะเบียนจิตอาสาฯ

          จิตอาสาฝ่ายส่งกำลังบำรุงและสนับสนุน หมายถึง กลุ่มงานจิตอาสาที่สนับสนุน อำนวยความสะดวก ดูแลความเรียบร้อย จัดหาหรือบริการอาหาร น้ำดื่ม ให้กับประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรม/จิตอาสาที่เข้าร่วมปฏิบัติงาน

          จิตอาสาฝ่ายประชาสัมพันธ์ หมายถึง กลุ่มงานจิตอาสาที่ช่วยงานประชาสัมพันธ์และให้บริการข้อมูลการจัดกิจกรรมจิตอาสาฯรวมถึงช่วยดูแลต้อนรับ ประชาชนที่มาเข้าร่วมกิจกรรม

          จิตอาสาฝ่ายรักษาความปลอดภัยและจราจร หมายถึง กลุ่มงานจิตอาสาที่สนับสนุนและช่วยอำนวยความสะดวกในการสัญจรของประชาชนการแนะนำ เส้นทางการแจ้งอุบัติเหตุการจราจรให้เจ้าพนักงานทราบ

พระราชกรณียกิจในพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวทางด้านการสาธารณสุขและการแพทย์ เป็นอย่างไร สรุปเป็นประเด็นสั้น ๆ ให้ชัดเจน
สมเด็จพระบรมราชชนก ทรงสนพระทัยการแพทย์และการสาธารณสุข ตั้งแต่ครั้งยังดำรงตำแหน่งนายทหารแห่งกองทัพเรือสยาม ทรงเห็นว่าการแพทย์ และการสาธารณสุขของไทยยังล้าสมัยอยู่มาก ในที่สุดก็ตกลงพระทัย จะทรงช่วยปรับปรุงการแพทย์ของประเทศไทยอย่างจริงจัง โดยเสด็จไปทรงศึกษาวิชาเฉพาะเสียก่อน ในระหว่างที่ทรงศึกษา ณ สหรัฐอเมริกา ทรงสนพระทัย และเป็นห่วงกิจการแพทย์ และสาธารณสุขของประเทศตลอดเวลา ทรงตระหนักว่าการสาธารณสุข มีส่วนสำคัญในการพัฒนาของประเทศ และการสาธารณสุขจะได้ผลดี ก็ต้องมีแพทย์ที่มีคุณภาพสูง และมีการศึกษาแพทย์ที่เหมาะสม สมเด็จพระบรมราชชนก ทรงเป็นผู้แทนรัฐบาลไทย ในการเจรจากับมูลนิธิร็อกกี้เฟลเลอร์ เกี่ยวกับการช่วยเหลือด้านการศึกษาวิชาแพทย์ในประเทศไทย การเจรจานั้นทรงกระทำหลายครั้ง ซึ่งบรรลุผลสำเร็จให้กับรัฐบาลไทย พระราชกรณียกิจประการแรกของพระองค์ ที่มีความสำคัญต่อวงการแพทย์ และการสาธารณสุขของประเทศ คือการพระราชทานทุนให้ นักเรียนออกไปศึกษา ณ ต่างประเทศ ในสาขาการแพทย์ สาธารณสุข พยาบาล และในแขนงวิชาเตรียมแพทย์ต่างๆ

ในปี พ.ศ. 2466 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ แต่งตั้งสมเด็จพระบรมราชชนก เป็นอธิบดีกรมมหาวิทยาลัย สมเด็จพระบรมราชชนกทรงงาน ในฐานะนายกกรรมการ คณะแพทยศาสตร์ และศิริราชพยาบาล ในปี พ.ศ. 2468 ในช่วงที่ทรงดำรงตำแหน่งทั้ง 2 ทรงอุทิศทั้งพระราชทรัพย์ และพระวรกาย พระสติกำลัง เพื่อพัฒนา และปรับปรุงระบบการเรียนการสอนของคณะวิทยาศาสตร์ และคณะแพทย์และพยาบาลของประเทศไทย

หลังจากทรงสำเร็จการศึกษาจากประเทศสหรัฐอเมริกา สมเด็จพระบรมราชชนกเสด็จพระราชดำเนินกลับกรุงเทพมหานคร ทรงรับเป็นพระอาจารย์พิเศษ คณะแพทยศาสตร์และศิริราชพยาบาล แล้วจึงเสด็จฯ ไปทรงงานในฐานะแพทย์ประจำ โรงพยาบาลแมคคอร์มิค จังหวัดเชียงใหม่ ในวันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกเสด็จถึงจังหวัดเชียงใหม่ ทรงประทับกับครอบครัวดร. อี.ซี. คอร์ท ผู้อำนวยการโรงพยาบาลขณะนั้น สมเด็จพระบรมราชชนก จะทรงออกตรวจที่แผนกผู้ป่วยนอก พร้อมกับหมอคอร์ท ทรงโปรดรักษาเด็ก และโรคประสาทต่างๆ ทรงทำงานด้านห้องทดลองด้วยพระองค์เอง ตอนกลางคืนก่อนบรรทม ก็จะเสด็จออกตรวจคนไข้ทุกๆ เตียง นอกจากทรงมีพระเมตตาผู้ป่วยแล้ว พระราชอัธยาศัยและการวางพระองค์ต่อบรรดาแพทย์ และพยาบาล ก็เป็นไปอย่างละมุนละม่อม ไม่ถือพระองค์ ชาวเมืองเชียงใหม่ถวายพระนามแด่พระองค์ว่า “หมอเจ้าฟ้า”

ตลอดระยะเวลา 10 ปี ที่ทรงเกี่ยวข้องกับการแพทย์ และการสาธารณสุข สมเด็จพระบรมราชชนก ได้ทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจ อันเป็นประโยชน์ต่อการแพทย์ และการสาธารณสุขของไทยอย่างมากมาย จนเป็นที่ประจักษ์ และทรงได้รับการยกย่องเป็น “องค์บิดาแห่งการแพทย์แผนปัจจุบัน และการสาธารณสุขของไทย”

พระราชกรณียกิจในพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวทางด้านการสาธารณสุขและการแพทย์เป็นอย่างไร

พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดฯ ให้สร้างโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชขึ้นเพื่อให้การรักษาพยาบาลผู้เจ็บป่วยในถิ่นทุรกันดาร พระองค์ทรงเป็นองค์นายกกิตติมศักดิ์ของมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช พระองค์มีพระราชปณิธานให้เอาใจใส่รักษาพยาบาลพสกนิกรของพระองค์ให้ปลอดภัยจากความเจ็บไข้โดยทั่วหน้าเสมอกัน

พระราชกรณียกิจในพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวมีอะไรบ้าง

พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงปฎิบัติพระราชกรณียกิจทั้งในฐานะผู้แทนพระองค์และในส่วน ของพระองค์เองนานัปการ เช่น การพระราชทานไฟพระฤกษ์ กีฬา เยาวชนแห่งชาติพระราชทานพระราชวโรกาสให้นักกีฬาไทยผู้นำ ความสำเร็จนำเกียรติยศมาสู่ประเทศชาติเข้าเฝ้าทูลละอองพระบาท รับพระราชทานรางวัลนักกีฬายอดเยี่ยม รับพระราชทานพร และ ทรง ...

พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชกรณียกิจด้านการศึกษาอย่างไรบ้าง

สำหรับพระราชกรณียกิจด้านการศึกษาระดับอุดมศึกษาสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงเสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์ไปพระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิตของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ อย่างต่อเนื่องมาโดยตลอดทุกปี ขอขอบคุณข้อมูลจาก - โครงการทุนการศึกษาพระราชทาน (พุทธศักราช ๒๕๕๒) มูลนิธิมั่นพัฒนา

ข้อใดเป็นพระราชกรณียกิจด้านการแพทย์ของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร *

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงตระหนักว่า สุขภาพพลานามัยของประชาชนเป็นปัจจัยและพลังสำคัญในการพัฒนาประเทศ จึงทรงสนพระราชหฤทัยในการประกอบพระราชกรณียกิจด้านการแพทย์และสาธารณสุข โปรดให้สร้างโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช ๒๑ แห่งทั่วประเทศ เพื่อให้การรักษาพยาบาลผู้เจ็บป่วยในถิ่นทุรกันดาร

พระราชกรณียกิจในพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวทางด้านการสาธารณสุขและการแพทย์เป็นอย่างไร พระราชกรณียกิจในพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวมีอะไรบ้าง พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชกรณียกิจด้านการศึกษาอย่างไรบ้าง ข้อใดเป็นพระราชกรณียกิจด้านการแพทย์ของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร * พระราชกรณียกิจรัชกาลที่ 10 ล่าสุด พระราชกรณียกิจรัชกาลที่ 10 ด้านการศึกษา พระราชกรณียกิจด้านสาธารณสุข อธิบายพระราชกรณียกิจด้านการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชกรณียกิจ ร.10 ด้านการทหาร พระราช กรณียกิจ คืออะไร