ให้นักเรียนยกตัวอย่างศิลปวัฒนธรรมที่สำคัญในสมัยกรุงศรีอยุธยามา 5 ตัวอย่าง

ที่มีความสำคัญมากที่สุดและสามารถทำให้เห็นภาพในอดีตของกรุงศรีอยุธยาได้อย่างชัดเจนเห็นจะเป็น “จดหมายเหตุ” ของ “ซีมอง เดอ ลาลูแบร์” หัวหน้าคณะทูตฝรั่งเศสคณะที่สอง ที่พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ทรงส่งมาเจริญสัมพันธไมตรีและได้เข้าเฝ้าสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ณ กรุงศรีอยุธยา ลาลูแบร์ใช้เวลาในประเทศสยามตั้งแต่วันที่ 27 กันยายน ค.ศ.1687 ถึง 3 มกราคม ค.ศ.1688 และได้เขียนบันทึกความทรงจำส่งให้มาร์กีส์ เดอ แซนเญอเลต์ เสนาบดีกระทรวงทหารเรือฝรั่งเศส  2 เล่มในปี พ.ศ.2230

จดหมายเหตุของลาลูแบร์เป็นงานเขียนที่ให้ภาพประวัติศาสตร์สังคมอยุธยาได้รอบด้านมากที่สุด ทั้งธรรมชาติ ชีวิตความเป็นอยู่ และวัฒนธรรมแทบทุกด้านของชาวสยาม โดยเฉพาะบทที่ว่าด้วย “สำรับอาหารของชาวสยาม”

สำรับกับข้าวของชาวสยามสมัยกรุงศรีอยุธยาที่จะกล่าวถึงต่อไปนี้ เป็นการรวบรวมมาจากหลายๆ เอกสาร ของโครงการภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม มี “สุกัญญา สุจฉายา” เป็นบรรณาธิการรวบรวม และ “มติชนอคาเดมี” ขอคัดลอกนำมาเสนอต่อ ณ ที่นี่

อันดับแรกเป็นการกล่าวถึงสภาพภูมิทัศน์ของกรุงศรีอยุธยาที่แสดงให้เห็นถึงความอุดมสมบูรณ์ของทำเลที่ตั้ง จนทำให้อาหารการกินมากมายไม่เคยขาดแคลน  “…แม่น้ำที่ชาวสยามเรียกกันว่าแม่น้ำนั้น หมายถึงแม่ของน้ำ เป็นแม่น้ำที่กว้างใหญ่และยาวมาก…เมื่อถึงฤดูน้ำหลาก น้ำจะไหลล้นฝั่งทุกปี ในปีหนึ่งๆ ในบริเวณที่ราบจะมีน้ำนองถึง 5-6 เดือน เป็นผลให้พื้นดินมีความอุดมสมบูรณ์อย่างยิ่ง เหมาะแก่การปลูกข้าว ทั้งชะล้างสิ่งโสโครกต่างๆ ซึ่งอาจทำให้เกิดโรคติดต่อหมดไป …พื้นดินทั่วไปอุดมสมบูรณ์ แต่บริเวณที่มีพลเมืองหนาแน่นมักจะอยู่ริมน้ำและบริเวณที่ราบในเมือง มีเมืองต่างๆ หลายเมือง สถานที่ๆเป็นตลาดและหมู่บ้านมากมาย…”

“ส่วนพระราชวังก็ก่อสร้างขึ้นอย่างวิจิตรบรรจงและใหญ่โตรโหฐานมาก ปราสาทราชมนเทียรมียอดซึ่งเลื่อมระยับไปด้วยทอง แลดูประดุจเมืองเล็กๆ อีกเมืองหนึ่งตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้ำ ซึ่งเป็นที่รู้จักคุ้นเคยของชาวต่างชาติว่าเป็นเมืองที่อุดมสมบูรณ์ด้วยเครื่องอุปโภคบริโภคหลากหลายชนิดที่มาจากดินแดนต่างๆ ซึ่งไม่เคยปรากฏว่าพระเจ้าแผ่นดินหรือเจ้านายพระองค์ใดในหมู่เกาะอินดีสทั้งหมดจะมีพระนครงดงามดังเช่นกรุงศรีอยุธยานี้เลย..”

ครั้นแล้วได้กล่าวถึงอาหารการกินหรือสำรับกับข้าวของชาวกรุงศรี มีว่า “…ข้าวสารเป็นสินค้าสำคัญส่งไปขายยังประเทศข้างเคียงปีละมากๆ พระมหากษัตริย์เองเป็นพ่อค้าคนสำคัญ พระองค์มีเรือสำเภาและมีทุนรอนที่จะส่งสินค้าไปยังอินเดียและจีน..” ชาวสยามมีอาหารอุดมสมบูรณ์ ส่วนใหญ่ปลูกข้าว ทำสวนผลไม้

“…ในหัวเมืองใหญ่ๆ ชาวสยามเลี้ยงชีพด้วยการค้าขายหรือรับราชการ หรือทำการประมง ส่วนพวกชาวนาซึ่งมีจำนวนมาก มักเป็นพวกหาเลี้ยงชีพด้วยการไถนาและปลูกพืชนานาชนิด แต่ส่วนใหญ่ปลูกข้าว ซึ่งมีปลูกกันมากหลายในประเทศนี้ บางคนหาเลี้ยงชีพทางทำสวนผลไม้ โดยเฉพาะสวนมะพร้าวและสวนเงาะ ซึ่งนิยมปลูกกันมาก บางคนเลี้ยงม้า วัว หมู แพะ ห่าน นกยูง เป็ด ไก่ นกพิราบ และสัตว์อื่นๆ อาหารทุกชนิดจึงถูกมากและยังมีเหลือที่จะส่งไปขายยังหัวเมืองข้างเคียงด้วย”

ประชาชนและหมู่บ้านในชนบท ทำงานในลักษณะทาส ทำงานในไร่นา เพาะปลูกธัญพืชทุกชนิด โดยเฉพาะอย่างยิ่งข้าว และยังมีครามเปียกจำนวนมาก นอกจากนั้นพวกเขาปลูกไม้ผลทุกประเภท โดยเฉพาะมะพร้าวและต้นหมาก พวกเขาเลี้ยงม้าขนาดเล็ก วัว หมู แกะ ห่าน เป็ด ลูกไก่  นกพิราบ และสัตว์ที่ถูกฝึกให้เชื่องอย่างอื่นๆ อีกมาก อาหารระหว่างปีที่อุดมสมบูรณ์จะมีราคาถูกมาก  “ข้าวและปลาเค็ม ปลาแห้ง ในกรุงสยามราคาถูกอย่างเหลือหลาย..เพราะฉะนั้นชนชาตินี้ไม่ต้องห่วงถึงช่องทางหากิน ปล่อยตัวเกียจคร้าน ทุกบ้านทุกช่องกึกก้องไปด้วยเสียงร้องเพลงและเสียงชื่นชมโสมนัส ซึ่งเราจะไม่ได้ยินในชนชาติอื่น… “

อาหารในชีวิตประจำวันของชาวสยามไม่ฟุ่มเฟือย อาหารคาวมีแต่ข้าว ปลา และผัก ไม่นิยมบริโภคเนื้อสัตว์ ส่วนอาหารหวาน ส่วนใหญ่จะเป็นผลไม้ เครื่องดื่มเป็นเพียงน้ำธรรมดา แต่หากเป็นงานเลี้ยงจะกินอาหารอย่างฟุ่มเฟือยและมีสุราเมรัยเพิ่มเติม

ศิลปกรรมในสัยอยุธยา

ให้นักเรียนยกตัวอย่างศิลปวัฒนธรรมที่สำคัญในสมัยกรุงศรีอยุธยามา 5 ตัวอย่าง

ศิลปกรรมในสมัยอุธยา

ให้นักเรียนยกตัวอย่างศิลปวัฒนธรรมที่สำคัญในสมัยกรุงศรีอยุธยามา 5 ตัวอย่าง
ลักษณะของศิลปวัฒนธรรมในสมัยอยุธยา แบ่งได้หลายประเภท โดยสรุปลักษณะที่สำคัญแต่ละประเภท ดังนี้

ให้นักเรียนยกตัวอย่างศิลปวัฒนธรรมที่สำคัญในสมัยกรุงศรีอยุธยามา 5 ตัวอย่าง

สถาปัตยกรรม

ให้นักเรียนยกตัวอย่างศิลปวัฒนธรรมที่สำคัญในสมัยกรุงศรีอยุธยามา 5 ตัวอย่าง
มักเป็นสถาปัตยกรรมทางพระพุทธศาสนา

เนื่องจากพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ ในตอนต้นของอาณาจักรอยุธยา นิยมสร้างตามแบบสมัยลพบุรีเป็นส่วนใหญ่ ได้รับอิทธพลจากขอมไว้มาก เช่น พระปรางค์ที่วัดพุทไธสวรรย์ วัดราษฎร์บูรณะ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ เป็นต้น

         หลังจากที่สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงขึ้นครองราชย์ ทรงประทับที่เมืองพิษณุโลกเป็นส่วนใหญ่ เพื่อต่อต้านข้าศึกที่มารุกรานทางด้านเหนือ จึงได้มีการรับเอาศิลปะแบบสุโขทัยมาใช้แทนการสร้างสถาปัตยกรรมแบบเดิมโดย
ในตอนแรก

ให้นักเรียนยกตัวอย่างศิลปวัฒนธรรมที่สำคัญในสมัยกรุงศรีอยุธยามา 5 ตัวอย่าง
การสร้างพระสถูปนิยมสร้างเป็นเจดีย์ทรงลังกาแบบสุโขทัย แต่ดัดแปลงให้มีความสูงกว่า เช่น พระเจดีย์ใหญ่ 3 องค์ในวัดพระศรีสรรเพชญ์ และพระเจดีย์ใหญ่ที่วัดใหญ่ชัยมงคล เป็นต้น

ในตอนกลางถึงตอนปลาย

ให้นักเรียนยกตัวอย่างศิลปวัฒนธรรมที่สำคัญในสมัยกรุงศรีอยุธยามา 5 ตัวอย่าง
สมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง ทรงยกทัพไปเขมร และได้รับชัยชนะกลับมาทำให้เขมรมาอยู่ภายใต้อำนาจของอยุธยา สมเด็จพระเจ้าปราสาททองทรงสร้างพระปรางค์ขึ้นที่วัดไชยวัฒนารามเพื่อเป็นการเฉลิมฉลองชัยชนะโดยสร้างพระปรางค์ตามศิลปะแบบเขมรและในสมัยนี้นิยมการสร้าง พระเจดีย์เป็นแบบเจดีย์เหลี่ยมหรือเจดีย์ไม้สิบสอง เห็นได้ชัดเจนจากพระเจดีย์ใหญ่ที่วัดภูเขาทองซึ่งสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ทรงทำการบูรณะปฏิสังขรณ์ โดยเปลี่ยนจากเจดีย์แบบเดิมเป็นเจดีย์ไม้สิบสอง

ให้นักเรียนยกตัวอย่างศิลปวัฒนธรรมที่สำคัญในสมัยกรุงศรีอยุธยามา 5 ตัวอย่าง

ประติมากรรม

ให้นักเรียนยกตัวอย่างศิลปวัฒนธรรมที่สำคัญในสมัยกรุงศรีอยุธยามา 5 ตัวอย่าง
งานประติมากรรมได้รับอิทธิพลเช่นเดียวกับสถาปัตยกรรม

ในตอนต้น

ให้นักเรียนยกตัวอย่างศิลปวัฒนธรรมที่สำคัญในสมัยกรุงศรีอยุธยามา 5 ตัวอย่าง
เป็นศิลปะแบบขอม ทำให้พระพุทธรูปในสมัยนี้เป็นพระพุทธรูป แบบอู่ทอง ซึ่งศิลปะแบบขอมนี้ได้มีอยู่ก่อนที่จะมีการสถาปนากรุงศรีอยุธยา หลังจากสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเป็นต้นมา การสร้างพระพุทธรูปจะนิยมสร้างตาม แบบสุโขทัย จนถึงสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 ได้เกิดงานศิลปะแบบอยุธยาอย่างแท้จริง ซึ่งเป็นการผสมระหว่างศิลปะแบบอู่ทองกับแบบสุโขทัย มีตัวอย่างที่เห็นได้ชัด คือพระศรีสรรเพชญ์ ซึ่งเป็นพระพุทธรูปที่สำคัญที่ได้ประดิษฐานที่พระอารามหลวงภายในเขตพระราชวัง เป็นพระทธรูปยืนสูง 8 วา ใช้ทองคำหุ้มทั้งองค์หนัก 286 ชั่ง

ในตอนปลาย

ให้นักเรียนยกตัวอย่างศิลปวัฒนธรรมที่สำคัญในสมัยกรุงศรีอยุธยามา 5 ตัวอย่าง
มีการสร้างพระพุทธรูปทรงเครื่อง มีลวดลายเครื่องประดับอย่างกษัตริย์ เป็นแบบทรงเครื่องใหญ่ เช่น พระพุทธรูปยืนปางอภัย เป็นต้น กับอีกแบบคือ แบบทรงเครื่องน้อย ซึ่งจะแตกต่างกันตรงเครื่องประดับตกแต่งของเครื่องทรงที่ได้ประดับเข้าไป

ให้นักเรียนยกตัวอย่างศิลปวัฒนธรรมที่สำคัญในสมัยกรุงศรีอยุธยามา 5 ตัวอย่าง

จิตรกรรม

ให้นักเรียนยกตัวอย่างศิลปวัฒนธรรมที่สำคัญในสมัยกรุงศรีอยุธยามา 5 ตัวอย่าง
จิตรกรรมไทยได้รับอิทธิพลมาจากพระพุทธศาสนาเหมือนกับศิลปะแขนงอื่นๆ มักเป็นภาพเกี่ยวกับพุทธประวัติและพุทธชาดกในพระพุทธศาสนา หรือ วาดเรื่องราวที่เกิดขึ้นในอดีต

ในตอนแรก

ให้นักเรียนยกตัวอย่างศิลปวัฒนธรรมที่สำคัญในสมัยกรุงศรีอยุธยามา 5 ตัวอย่าง
ของอยุธยา ภาพจิตรกรรมได้รับอิทธิพลจากศิลปะลพบุรี สุโขทัย และลังกาปนกัน สีที่ใช้มีอยู่ 3 สี คือ สีดำ สีขาว และสีแดง มีการปิดทองเล็กน้อย บางภาพจึงมีลักษณะแข็งและหนัก ต่อมาเริ่มใช้สีหลายสี จากศิลปะสุโขทัยที่มีอิทธิพลมากขึ้น

ในตอนปลาย

ให้นักเรียนยกตัวอย่างศิลปวัฒนธรรมที่สำคัญในสมัยกรุงศรีอยุธยามา 5 ตัวอย่าง
ช่างเขียนได้พัฒนาจนเป็นแบบอยุธยาอย่างสมบูรณ์ เรียกว่าเป็นจิตรกรรมไทยบริสุทธิ์ ใช้สีทำให้ภาพดูสดใสและมีชีวิตจิตใจยิ่งขึ้น นอกจากนี้ จากรูปบ้าน ภูเขา ต้นไม้ แสดงให้เห็นว่ามีศิลปะจีนเข้ามาปะปนด้วย

ให้นักเรียนยกตัวอย่างศิลปวัฒนธรรมที่สำคัญในสมัยกรุงศรีอยุธยามา 5 ตัวอย่าง

ประณีตศิลป์

ให้นักเรียนยกตัวอย่างศิลปวัฒนธรรมที่สำคัญในสมัยกรุงศรีอยุธยามา 5 ตัวอย่าง
งานประณีตศิลป์สมัยอยุธยาถือได้ว่ามีความเจริญถึงขีดสุดเหนือกว่าศิลปะแบบอื่นๆ งานประณีตศิลป์ที่เกิดขึ้นมีหลายประเภท เช่น

– เครื่องไม้จำหลัก

ให้นักเรียนยกตัวอย่างศิลปวัฒนธรรมที่สำคัญในสมัยกรุงศรีอยุธยามา 5 ตัวอย่าง
ได้แก่ ตู้พระธรรม ธรรมาสน์ พระพุทธรูป บานประตู หน้าต่าง หน้าบันพระอุโบสถ ตู้เก็บหนังสือ
ลายรดน้ำ
ให้นักเรียนยกตัวอย่างศิลปวัฒนธรรมที่สำคัญในสมัยกรุงศรีอยุธยามา 5 ตัวอย่าง
คือการนำทองมาปิดลงบนรักสีดำบนพื้นที่เขียนภาพหรือลวดลายแล้วรดน้ำล้างออก นิยมใช้ในบานประตูโบสถ์วิหาร ตู้พระธรรม ตู้ใส่หนังสือ เป็นต้น
การประดับมุก
ให้นักเรียนยกตัวอย่างศิลปวัฒนธรรมที่สำคัญในสมัยกรุงศรีอยุธยามา 5 ตัวอย่าง
ได้มาจากจีน แต่ได้ปรับให้เป็นลวดลายอย่างไทย พบในบานประตูที่วิหารพระพุทธชินราช จังหวัดพิษณุโลก เป็นต้น
เครื่องเบญจรงค
ให้นักเรียนยกตัวอย่างศิลปวัฒนธรรมที่สำคัญในสมัยกรุงศรีอยุธยามา 5 ตัวอย่าง
เป็นการออกแบบลวดลายบนเครื่องเคลือบถ้วยชามด้วยสี 5 สี คือ สีแดง สีเขียว สีเหลือง สีขาว สีดำ และสีน้ำเงิน ลวดลายที่ใช้มักเป็นลายก้นขด หรือลายก้านแย่ง หรือใช้รูปตกแต่ง เช่น เทพนมสิงห์ ลายกนก กินรี กินนร นรสิงห์ เป็นต้น
เครื่องทองประดับ
ให้นักเรียนยกตัวอย่างศิลปวัฒนธรรมที่สำคัญในสมัยกรุงศรีอยุธยามา 5 ตัวอย่าง
มีทั้งเครื่องทองรูปพรรณ เครื่องราชูปโภคของพระมหากษัตริย์ เครื่องทองประดับอัญมณี ทองกร เป็นต้น
ลายปูนปั้น
ให้นักเรียนยกตัวอย่างศิลปวัฒนธรรมที่สำคัญในสมัยกรุงศรีอยุธยามา 5 ตัวอย่าง
คือลวดลายที่ปั้นด้วยปูนเพื่อประดับตกแต่งตามส่วนต่างๆ ของหน้าบันประตู เจดีย์ และปรางค์ ได้รับอิทธิพลทั้งจากขอมและตะวันตก เช่น ที่วัดมหาธาตุ วัดราษฎร์บูรณะ วัดตะเว็ต วัดพระราม วัดภูเขาทอง เป็นต้น

วรรณคดี

ให้นักเรียนยกตัวอย่างศิลปวัฒนธรรมที่สำคัญในสมัยกรุงศรีอยุธยามา 5 ตัวอย่าง
วรรณกรรมในสมัยอยุธยามีอยู่มากตั้งแต่สมัยสมเด็จพระเจ้าอู่ทองจนตลอดระยะเวลาของกรุงศรีอยุธยาวรรณกรรมที่ ดีเด่นจนได้รับการยกย่อง เป็นวรรณคดีมีอยู่หลายเรื่องส่วนใหญ่ จะอยู่ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชเป็นต้นมา มีวรรณกรรมเกิดขึ้นหลายประเภท เช่น กาพย์ห่อโคลง นิราศ ฉันท์ เป็นต้น   มีทั้งเรื่องที่แต่งเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา เรื่องประเภทสดุดีวีรกรรมของพระมหากษัตริย์ การบรรยาย ความสวยงามของธรรมชาติ ความเชื่อในธรรมชาติ และเรื่องการเกี้ยวพาราสี วรรณคดีที่สำคัญ สามารถแบ่งเป็นในแต่ยุคได้ดังนี้

สมัยอยุธยาตอนต้น (พ.ศ. 1893 – 2072) มี 4 เรื่อง

1) ลิลิตโองการแช่งน้ำ
2) ลิลิตยวนพ่าย
3) มหาชาติคำหลวง
4) ลิลิตพระลอ

สมัยอยุธยาตอนกลาง (พ.ศ. 2153 – 2231) มี 20 เรื่อง

1) กาพย์มหาชาติ
2) โคลงทศรถสอนพระราม
3) โคลงราชสวัสดิ์
4) โคลงพาลีสอนน้อง
5) สมุทรโฆษคำฉันท์
6) โคลงเบ็ดเตล็ด ( สมเด็จพระนารายณ์มหาราช)
7) เสือโคคำฉันท์
8) จินดามณี
9) พงศาวดารฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ
10) อนิรุทธ์คำฉันท์
11) โคลงเบ็ดเตล็ด ( ศรีปราชญ์)
12) กาพย์ห่อโคลง
13) โคลงเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
14) โคลงอักษรสามหมู่
15) โคลงนิราศนครสวรรค์
16) คำฉันท์ดุษฎีสังเวยกล่อมช้าง
17) นิราศสีดา
18) โคลงกวีโบราณ
19) โคลงทวาทศมาส
20) นิราศหริภุญชัย

สมัยอยุธยาตอนปลาย (พ.ศ. 2275 – 2310) มี 11 เรื่อง

1) โคลงชะลอพระพุทธไสยาสน์
2) นันโทปนันทสูตรคำหลวง
3) พระมาลัยคำหลวง
4) กาพย์เห่เรือ
5) กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
6) กาพย์ห่อโคลงนิราศ ( ธารโศก)
7) เพลงยาวเจ้าฟ้าธรรมาธิเบศร
8) บทละครเรื่องดาหลัง และอิเหนา
9) โคลงนิราศพระบาท
10) กลบทสิริวิบุลกิติ
11) ปุณโณวาทคำฉันท์

นอกจากนี้ยังมีวรรณคดีที่ไม่ปรากฏนามผู้แต่งหรือสมัยที่แต่งอีกส่วนหนึ่ง เช่น คาวี ไชยเชษฐ์ มโนราห์ สุวรรณหงส์ สังข์ทอง สังข์ศิลป์ชัย ฯลฯ

ให้นักเรียนยกตัวอย่างศิลปวัฒนธรรมที่สำคัญในสมัยกรุงศรีอยุธยามา 5 ตัวอย่าง

ประเพณี

ให้นักเรียนยกตัวอย่างศิลปวัฒนธรรมที่สำคัญในสมัยกรุงศรีอยุธยามา 5 ตัวอย่าง
ขนบธรรมเนียมประเพณีสมัยอยุธยาได้รับอิทธิพลจากขอมเป็นส่วนใหญ่โดยได้ดัดแปลงจนเป็นประเพณีของไทยเป็นประเพณีเกี่ยวกับ พระราชสำนักและศาสนา ประเพณีที่เกี่ยวกับศาสนา เป็นประเพณีที่กระทำกันทั่วไปในสังคมไทย ได้แก่

พิธีกรรมทางศาสนา

ให้นักเรียนยกตัวอย่างศิลปวัฒนธรรมที่สำคัญในสมัยกรุงศรีอยุธยามา 5 ตัวอย่าง
เช่น พิธีอุปสมบท การทอดกฐิน ทอดผ้าป่า การทำบุญตักบาตร การทำสังฆทาน หรือการสร้างวัดถวายเป็นต้น

พิธีที่เกี่ยวข้องกับศาสนา

ให้นักเรียนยกตัวอย่างศิลปวัฒนธรรมที่สำคัญในสมัยกรุงศรีอยุธยามา 5 ตัวอย่าง
เช่น พิธีทำขวัญเดือน พิธีโกนผมไฟ พิธีโกนจุก การแต่งงาน หรือพิธีที่เกี่ยวกับการตาย

ประเพณีที่เกี่ยวกับราชสำนัก

ให้นักเรียนยกตัวอย่างศิลปวัฒนธรรมที่สำคัญในสมัยกรุงศรีอยุธยามา 5 ตัวอย่าง
เป็นพระราชกรณียกิจที่พระมหากษัตริย์ทรงบำเพ็ญในฐานะที่ทรงเป็นเทวราชาตามความเชื่อจากเขมรซึ่งได้รับมาจากอินเดีย อีกต่อหนึ่ง ได้แก่ พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระราชพิธีถือน้ำพิพัฒน์สัตยา พระราชพิธีสงกรานต์ พระราชพิธีไล่เรือ พระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ พระราชพิธีพิรุณศาสตร์ พระราชพิธีถวายเทียนพรรษา พระราชพิธีการลอยประทีป (ลอยกระทง) เป็นต้น

ให้นักเรียนยกตัวอย่างศิลปวัฒนธรรมที่สำคัญในสมัยกรุงศรีอยุธยามา 5 ตัวอย่าง

พระพุทธศาสนา

ให้นักเรียนยกตัวอย่างศิลปวัฒนธรรมที่สำคัญในสมัยกรุงศรีอยุธยามา 5 ตัวอย่าง
ในสมัยอยุธยายังคงเจริญสืบต่อมาจากกรุงสุโขทัย เป็นพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทแบบลังกาวงศ์ พระมหากษัตริย์ทรงเป็น องค์ศาสนูปถัมภกพระพุทธศาสนาตลอดมา มีการสร้างวัดวาอารามขึ้นอย่างมากมายตลอดสมัยอยุธยา ในรัชกาลสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถได้ทรงนำธรรมเนียม ปฏิบัติในสมัยสุโขทัยมาใช้ อาทิเช่น อุทิศเขตพระราชวังเพื่อสร้างเป็นวัดในเขตพระราชวัง คือวัดพระศรีสรรเพชญ ไม่มีพระสงฆ์จำพรรษาอยู่ ใช้เพียงประกอบพิธีกรรม ทางศาสนาเท่านั้น ในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม มีการพบรอบพระบาทที่บนเขาสุวรรณบรรพต แขวงเมืองสระบุรี พระองค์โปรดเกล้าฯ ให้ทรงสร้างมณฑป ครอบรอยพระบาทไว้ ในสมัยอยุธยาตอนปลาย รัชกาลสมเด็จพระเจ้าบรมโกศ ได้ทรงทำการบูรณะปฏิสังขรณ์วัดต่างๆ ทั้งในเขตราชธานีและภายนอกราชธานี ให้การสนับสนุนการศึกษาพระไตรปิฎกอย่างกว้างขวางแก่ผู้ต้องการศึกษาพระธรรม และในปี พ.ศ. 2296 สมเด็จพระเจ้าบรมโกศได้โปรดเกล้าฯ ให้พระอุบาลีและ พระอริยมุนีเป็นหัวหน้าคณะสงฆ์ไทยไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในลังกา เนื่องจากขณะนั้นพระพุทธศาสนาในลังกาเสื่อมลง ได้ประดิษฐานพระพุทธศาสนาลัทธิสยามวงศ์ ณ อาณาจักรลังกาขึ้นตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา นับเป็นความเจริญรุ่งเรืองอย่างยิ่งของกรุงศรีอยุธยา

ศิลปะวัฒนธรรมที่สำคัญในสมัยกรุงศรีอยุธยามีอะไรบ้าง

วัฒนธรรมกรุงศรีอยุธยา เป็นลักษณะวัฒนธรรมผสม ระหว่างวัฒนธรรมไทยแท้กับวัฒนธรรมต่างชาติที่สำคัญ ที่สุด คือ วัฒนธรรมอินเดียซึ่งรับมาจากพวกพราหมณ์ วัฒนธรรมและประเพณีสำคัญ เช่น พระราพิธีถือน้ำพิพัฒน์สัตยา พิธีพืชมงคล พิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ พิธีการบวช และการทำบุญ เป็นต้น

ศิลปกรรมในสมัยอยุธยามีอะไรบ้าง

ด้านประณีตศิลป์ ในสมัยอยุธยามีหลายประเภท เท่าที่ปรากฏหลักฐานเหลืออยู่เป็นพวกเครื่องไม้จำหลัก การเขียนลายรดน้ำ เครื่องเงิน เครื่องทอง เครื่องถม และการประดับมุก ส่วนใหญ่เป็นศิลปกรรมที่สร้างขึ้นปลายสมัยอยุธยา มีเพียงไม่กี่ชิ้นเป็นของสมัยกลางและสมัยต้น เช่น เครื่องใช้ เครื่องประดับ และวัตถุทางศาสนาทำด้วยทอง เป็นงานสมัยต้น ...

งานศิลปกรรมสมัยอยุธยาส่วนใหญ่มักเกี่ยวข้องกับสิ่งใด

จิตรกรรมในสมัยอยุธยาส่วนใหญ่ จะเกี่ยวเนื่องกับพระพุทธศาสนา โดยช่วงแรกจะได้รับอิทธิพลของศิลปะแบบลพบุรี สุโขทัย และลังกาผสมผสานกัน บางภาพจะมีลักษณะแข็งและหนัก ใช้สีดำ ขาว และแดง มีการปิดทองบนภาพบ้างเล็กน้อย เช่น ภาพเขียนบนผนังในกรุพระปรางค์ วัดราชบูรณะ ซึ่งสร้างขึ้นสมัยสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา) ภาพเขียนบน ...

ภูมิปัญญาไทยในสมัยอยุธยามีคุณค่าอย่างไร

ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมสมัยอยุธยา เป็นสิ่งที่สะท้อนให้เห็นถึงทักษะ ในการแก้ไขปัญหาการดารงชีวิตของชาวอยุธยาโดยภูมิปัญญามีคุณค่า และความสาคัญต่อสังคมสมัยอยุธยาและสมัยปัจจุบันหลายด้าน เช่น ภูมิปัญญาช่วยสร้างชาติให้มีความมั่นคง เป็นบ่อเกิดความรัก ความสามัคคีของคนในชาติสร้างความภูมิใจ และศักดิ์ศรีเกียรติภูมิให้แก่ คนไทย