จงยกตัวอย่างโปรแกรมหรือแอปพลิเคชันที่ใช้สำหรับการสื่อสารแบบ one to many และ many to many

Skip to content

Many to Many (เมนี่ ทู เมนี่) คือ ความสัมพันธ์ระหว่างตาราง แบบเฉพาะโดยมีการเชื่อมชนิดข้อมูลโดยที่ แต่ละข้อมูลสามารถมีรายการได้หลากหลาย ซึ่งรูปแบบโครงสร้างสามารถยกตัวอย่างได้ดังนี้

  • Posts มีได้หลาย Categories และ ในทางกลับกัน Categories ก็มีความสัมพันธ์ได้หลาย Posts
  • Products มีได้หลาย Orders และ Orders ก็มีได้หลาย Products
  • Users มีได้หลาย Roles และแต่ละ Roles ก็มี Users ได้หลายคน

สรุป

การทำ Many to Many สามารถนำไปประยุกต์ทำข้อมูลที่ซับซ้อนให้ง่ายต่อการจัดการมากขึ้น แถม Laravel ยังทำ Function ให้เราเชื่อมต่อได้ง่ายอีกด้วย สำหรับใครที่ยังไม่ได้ดู One to One หรือ One to Many สามารถกลับไปดูก่อนได้เลยครับเพราะ ep ก่อนหน้าผมอธิบายส่วนอื่นไว้ด้วยเช่นกัน สามารถดูตัวอย่างเพิ่มเติมได้ที่ Laravel Document Many to Many

ความสัมพันธ์ (Relationships) ของระบบฐานข้อมูล

1. ความสัมพันธ์แบบ หนึ่งต่อหนึ่ง ( One to one Relationships)

เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูล ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความส ัมพันธ์กับข้อมูลในอีกเอนทิตี้หนึ่ง ในลักษณะ หนึ่ง ต่อ หนึ่ง หรือเขียนได้เป็น 1:1 แสดงว่าข้อมูลเพียงหนึ่งข้อมูลของเอนทิตี้แรกมีความสัมพันธ์กับข้อมูลในเอนทิตี้ที่สองเพียงข้อมูลเดียว

จงยกตัวอย่างโปรแกรมหรือแอปพลิเคชันที่ใช้สำหรับการสื่อสารแบบ one to many และ many to many

หรือ

จงยกตัวอย่างโปรแกรมหรือแอปพลิเคชันที่ใช้สำหรับการสื่อสารแบบ one to many และ many to many

นักศึกษาหนึ่งคนจะมีสูติบัตรเพียงใบเดียวเท่านั้น
สูติบัตรหนึ่งใบก็เป็นของนักศึกษาได้เพียงคนเดียวเท่านั้นเช่นกัน

     2.ความสัมพันธ์แบบ หนึ่งต่อกลุ่ม ( One to many Relationships)

เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูล ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความส ัมพันธ์กับข้อมูลในอีกเอนทิตี้หนึ่ง ในลักษณะ หนึ่ง ต่อ กลุ่ม หรือเขียนได้เป็น 1:N แสดงว่าข้อมูลเพียงหนึ่งข้อมูลของเอนทิตี้แรกมีความสัมพันธ์กับข้อมูลในเอนทิตี้ที่สองหลายข้อมูล เช่น

จงยกตัวอย่างโปรแกรมหรือแอปพลิเคชันที่ใช้สำหรับการสื่อสารแบบ one to many และ many to many

หรือ

จงยกตัวอย่างโปรแกรมหรือแอปพลิเคชันที่ใช้สำหรับการสื่อสารแบบ one to many และ many to many

ลูกค้าหนึ่งคนมีใบเสร็จได้หลายใบ เนื่องจากลูกค้าหนึ่งคนอาจมาซื้อสินค้าหลายครั้ง
ใบเสร็จหนึ่งใบต้องเป็นของลูกค้าเพียงคนเดียวเท่านั้น

    3.ความสัมพันธ์แบบ กลุ่มต่อกลุ่ม ( Many to Many Relationships)

เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูล ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความส ัมพันธ์กับข้อมูลในอีกเอนทิตี้หนึ่ง ในลักษณะ กลุ่ม ต่อ กลุ่ม หรือเขียนได้เป็น N:M แสดงว่าข้อมูลเพียงหนึ่งข้อมูลของเอนทิตี้แรก มีความสัมพันธ์กับข้อมูลในเอนทิตี้ที่สองหลายข้อมูล และทำนองเดียวกัน ข้อมูลเพียงหนึ่งข้อมูลของเอนทิตี้ที่สองมีความสัมพันธ์ในทางกลับกันกับข้อมูลในเอนทิตี้ที่แรกหลายข้อมูล

จงยกตัวอย่างโปรแกรมหรือแอปพลิเคชันที่ใช้สำหรับการสื่อสารแบบ one to many และ many to many

        จากความสัมพันธ์ระหว่าง Orders และ Items เป็นความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม และในทำนองเดียวกันความสัมพันธ์ระหว่าง Items และ Orders ก็เป็นความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่มด้วยเช่นกัน ดังนั้นความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม ( N:M) โดยมีความหมายดังต่อไปนี้คือ

        สินค้า 1 ชนิด หรือ 1 item จะถูกสั่งซื้อโดยปรากฏในใบสั่งซื้อหรือใบ orders ได้หลาย ๆ ใบ และในทำนองเดียวกัน ใบสั่งซื้อ 1 ใบ สามารถมีรายการสิ้นค้าหรือ items ได้หลาย ๆ รายการ หรือหลาย ๆ items ได้

หรือ

จงยกตัวอย่างโปรแกรมหรือแอปพลิเคชันที่ใช้สำหรับการสื่อสารแบบ one to many และ many to many

        นิสิตสามารถลงทะเบียนเรียนได้หลาย ๆ วิชาพร้อมกันในแต่ละครั้ง และในทางตรงกันข้าม ในแต่ละวิชา 1 วิชา จะประกอบด้วยนิสิตหลายคนมาลงทะเบียนในวิชานั้น

                                                    SOCIAL MEDIA

วิดีโอ YouTube

ความหมายของ SOCIAL MEDIA

 · มีเดีย (“Media”) หมายถึงสื่อหรือเครื่องมือที่ใช้เพื่อการสื่อสาร

  · โซเชียล (“Social”) หมายถึงสังคม

  · ในบริบทของโซเชียลมีเดียโซเชียลหมายถึงการแบ่งปันในสังคมซึ่งอาจจะเป็นการแบ่งปันเนื้อหา (ไฟล์รสนิยมมควมเห็น…) หรือปฏิสัมพันธ์ในสังคม (การรวมกับเป็นกลุ่ม…)

  · โซเชียลมีเดียในที่นี้หมายถึงสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่ทาให้ผู้ใช้แสดงความเป็นตัวตนของตนเองเพื่อที่จะมีปฏิสัมพันธ์กับหรือแบ่งปันข้อมูลกับบุคคลอื่น

จงยกตัวอย่างโปรแกรมหรือแอปพลิเคชันที่ใช้สำหรับการสื่อสารแบบ one to many และ many to many

                พื้นฐานการเกิด Social Media ก็มาจากความต้องการของมนุษย์หรือคนเราที่ต้องการติดต่อสื่อสารหรือมีปฏิสัมพันธ์กัน จากเดิมเรามีเว็บในยุค 1.0 ซึ่งก็คือเว็บที่แสดงเนื้อหาอย่างเดียว บุคคลแต่ละคนไม่สามารถติดต่อหรือโต้ตอบกันได้ แต่เมื่อเทคโนโลยีเว็บพัฒนาเข้าสู่ยุค 2.0 ก็มีการพัฒนาเว็บไซต์ที่เรียกว่า web application ซึ่งก็คือเว็บไซต์มีแอพลิเคชันหรือโปรแกรมต่างๆ ที่มีการโต้ตอบกับผู้ใช้งานมากขึ้น ผู้ใช้งานแต่ละคนสามารถโต้ตอบกันได้ผ่านหน้าเว็บ

โซเชียลมีเดียมีความสัมพันธ์กับเว็บอย่างไร

    · โซเชียลมีเดียส่วนใหญ่จะเป็นเว็บแอปพลิเคชัน 2.0 ซึ่งจะมีการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ให้และผู้รับข้อมูล

    · ทีวีและหนังสือพิมพ์ที่เป็นกระดาษเป็นสื่อแต่เป็นสื่อของการสื่อสารทางเดียวผู้รับข้อมูลไม่สามารถตอบกลับผู้ให้ข้อมูลทันทีทันใดได้

    · แต่โซเชียลมีเดียจะเป็นสื่อที่มีการสื่อสาร 2 ทางกล่าวคือผู้รับข้อมูลสามารถแสดงความคิดเห็นหรือตอบผู้ให้ข้อมูลได้

    · การให้ข้อคิดเห็นในบันทึกในบล็อกหรือในวิดีโอ

    · การพูดคุยผ่านโปรแกรมสนทนาออนไลน์หรือเว็บบอร์ด

    · การให้ข้อคิดเห็นและบันทึกว่าชอบสไลด์

                                        ลักษณะของSocial Media

        Social Media มีลักษณะดังนี้

        1. เป็นสื่อที่แพร่กระจายด้วยปฏิสัมพันธ์เชิงสังคม

        ตรงนี้ไม่ต่างจากคนเราสมัยก่อนครับ ที่เกิดเรื่องราวที่น่าสนใจอะไรขึ้นมา ก็พากันมานั่งพูดคุยกันจนเกิดสภาพ Talk of the town แต่เมื่อมาอยู่ในโลกออนไลน์ การแพร่กระจายของสื่อก็ทำได้ง่ายขึ้นโดยเกิดจากการแบ่งปันเนื้อหา (Content Sharing) จากใครก็ได้ อย่างกรณีของป้า Susan Boyle ที่ดังกันข้ามโลกเพียงไม่กี่สัปดาห์จากการลงคลิปที่ประกวดร้องเพลงในรายการ Britain’s Got Talent ผ่านทาง Youtubeเป็นต้น ทั้งนี้ Social media อาจจะอยู่ในรูปของ เนื้อหา รูปภาพ เสียงหรือวิดีโอ

         2. เป็นสื่อที่เปลี่ยนแปลงสื่อเดิมที่แพร่กระจายข่าวสารแบบทางเดียว (one-to-many) เป็นแบบการสนทนาที่สามารถมีผู้เข้าร่วมได้หลายๆคน (many-to-many)

         เมื่อมีสภาพของการเป็นสื่อสังคม สิ่งสำคัญก็คือการสนทนาพาทีที่เกิดขึ้น อาจจะเป็นการร่วมกลุ่มคุยในเรื่องที่สนใจร่วมกัน หรือการวิพากษ์วิจารณ์สินค้าหรือบริการต่างๆ โดยที่ไม่มีใครเข้ามาควบคุมเนื้อหาของการสนทนา แม้กระทั่งตัวผู้ผลิตเนื้อหานั่นเอง เพราะผู้ที่ได้รับสารมีสิทธิที่จะเข้าร่วมในรูปแบบของการเพิ่มเติมความคิดเห็น หรือแม้กระทั่งเข้าไปแก้ไขเนื้อหานั้นได้ด้วยตัวเอง

        3. เป็นสื่อที่เปลี่ยนผู้คนจากผู้บริโภคเนื้อหาเป็นผู้ผลิตเนื้อหา

        จากคนตัวเล็กๆในสังคมที่แต่เดิมไม่มีปากมีเสียงอะไรมากนัก เพราะเป็นเพียงคนรับสื่อ ขณะที่สื่อจำพวก โทรทัศน์ วิทยุ หรือ หนังสือพิมพ์จะเป็นผู้ทรงอิทธิพลอย่างมาก สามารถชี้ชะตาใครต่อใครหรือสินค้าหรือบริการใดโดยที่เราแทบจะไม่มีทางอุทธรณ์ แต่เมื่อเป็น Social Media ที่แทบจะไม่มีต้นทุน ทำให้ใครๆก็สามารถผลิตเนื้อหาและกระจายไปยังผู้รับสารได้อย่างเสรี หากใครผลิตเนื้อหาที่โดยใจคนหมู่มาก ก็จะเป็นผู้ทรงอิทธิพลไป ยิ่งหากเป็นในทางการตลาด ก็สามารถโน้มนำผู้ติดตามในการตัดสินใจซื้อสินค้าหรือบริการได้โดยง่าย 

        ถ้าอธิบายความหมายเพียงแค่นี้ หลายท่านอาจจะนึกภาพ Social Media ไม่ออก ถ้าจะให้เข้าใจง่ายๆก็คงจะต้องเปิดเว็บไซต์ต่างๆ ที่เผยแพร่กันอยู่บนอินเทอร์เน็ต ขึ้นมาสักเว็บไซต์หนึ่ง จะเห็นว่า บนหน้าเว็บไซต์นั้น เราจะพบตัวหนังสือ ภาพ หรืออื่นๆ เราจะเรียกสิ่งที่นำเสนอผ่านหน้าเว็บไซต์ดังกล่าวว่า สื่อ (media) แต่เนื่องจากสื่อดังกล่าวที่เผยแพร่ผ่านอินเทอร์เน็ตเหล่านั้น เราจึงเรียกว่า สื่อออนไลน์  (หมายถึงสื่อที่ส่งมาตามสาย (line) ถึงแม้ปัจจุบัน จะเผยแพร่แบบไร้สาย เราก็ยังเรียกว่า ออนไลน์

        ก่อนหน้านั้น การเปิดดูสื่อแต่ละเว็บไซต์นั้น ต่างคนก็ต่างเปิดเข้าไปดูสื่อออนไลน์ในเว็บไซต์เหล่านั้น ต่อมาจึงมีผู้คิดว่า ทำอย่างไร จะทำให้ผู้ที่เข้ามาในเว็บไซต์นั้นๆ แทนที่จะมาอ่าน มาดูสื่อเพียงอย่างเดียว ทำอย่างไรให้สามารถมาสร้างสื่อ เช่น พิมพ์ข้อความ หรือใส่ภาพ เสียง วีดิโอ ในเว็บไซต์นั้นได้ด้วย ซึ่งเว็บไซต์ที่พัฒนาในระยะต่อมาจะเป็นเว็บไซต์ที่ผู้คนทั่วๆไป สามารถเข้าไปเพิ่มเติมเนื้อหา หรือเพิ่มเติมสื่อได้ตามที่ตนเองต้องการ ซึ่งมีผลทำให้เว็บไซต์เหล่านั้น เป็นเว็บไซต์ที่ผู้ใช้งานมีส่วนร่วมในการสร้างสื่อ แทนที่จะเป็นเว็บไซต์ส่วนตัวของคนใดคนหนึ่ง ก็กลายเป็นเว็บไซต์ของกลุ่มคนกลุ่มหนึ่งขึ้นมา ทำให้เกิดเป็นชุมชน หรือสังคมย่อยๆของผู้ที่ใช้เว็บไซต์นั้นขึ้นมา โดยเนื้อหาหรือสื่อที่นำเสนอผ่านเว็บไซต์นั้น ก็เป็นสื่อที่คนในสังคมนั้นๆช่วยกันสร้างขึ้นมา

         แต่การพัฒนายังไม่หยุดยั้ง เพราะมีการคิดกันต่อไปอีกว่าทำอย่างไรที่จะให้คนในชุมชนหรือสังคมของคนใช้เว็บไซต์นั้นๆ นอกจากจะสามารถเพิ่มสื่อของตนเองแล้ว ยังสามารถที่จะสื่อสาร ติดต่อ โต้ตอบกันได้ด้วย ซึ่งปัจจุบัน มีเว็บไซต์จำนวนมากที่สามารถพัฒนาจนกระทั่งสร้างเป็นชุมชนขนาดใหญ่ที่มีสมาชิกจำนวนมากนับเป็นล้านคน สามารถติดต่อสื่อสาร ส่งเรื่องราวต่างๆถึงกันได้อย่างกว้างขวาง ทำให้เรื่องราวที่ส่งถึงกันนั้น เป็นเรื่องราวของคนในสังคมออนไลน์นั้น กลายเป็นสื่อ หรือ media ที่สร้างโดยคนท่อยู่ในสังคมที่เป็นสมาชิกของเว็บไซต์นั้นๆ

Social Media แบ่งตามหมวดดังนี้

เว็บ Social Media แบ่งตามหมวด

    1. หมวดการสื่อสาร (Communication)

            - Blogs: Blogger, LiveJournal, TypePad, WordPress, Vo    x

            - Internet forums:vBulletin, phpBB

            - Micro-blogging: Twitter,Plurk, Pownce, Jaiku

            - Social networking: Avatars United, Bebo, Facebook, LinkedIn, MySpace,             Orkut, Skyrock, Netlog, Hi5, Friendster, Multiply

            - Social network aggregation:FriendFeed, Youmeo

            - Events: Upcoming, Eventful, Meetup.com

    2.  หมวดความร่วมมือ และแบ่งปัน (Collaboration)

            - Wikis: Wikipedia, PBwiki, wetpaint

            - Social bookmarking: Delicious, StumbleUpon, Stumpedia, Google Reader,         CiteULike

            - Social news: Digg, Mixx, Reddit

            - Opinion sites:epinions, Yelp

    3.  หมวด มัลติมีเดีย (Multimedia)

            - Photo sharing: Flickr, Zooomr, Photobucket, SmugMug

            - Video sharing: YouTube, Vimeo, Revver

            - Art sharing:deviantART

            - LivecastingUstream.tv, Justin.tv, Skype

            - Audio and Music Sharing:imeem, The Hype Machine, Last.fm, ccMixter

    4.  หมวดรีวิว และแสดงความคิดเห็น (Reviews and Opinions)

            - Product Reviews: epinions.com, MouthShut.com, Yelp.com

            - Q&A: Yahoo Answers

    5. หมวดบันเทิง (Entertainment)

            - Virtual worlds: Second Life, The Sims Onlin

            - Online gaming: World of Warcraft, EverQuest, Age of Conan, Spore (2008 video game)

            - Game sharing:Miniclip

            ต่อไปนี้จะเป็นการยกตัวอย่างคร่าว ๆ ที่จะทำให้เห็นว่าการใช้ social media ในที่ทำงานนั้น สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในด้านใดได้บ้าง

        1. Facebook  เป็นโซเชียลยอดนิยมอันดับหนึ่งที่มีผู้ใช้มากที่สุด ไอเดียสำหรับการใช้เฟซบุคในการทำงานก็คือ การสร้างกลุ่มสังคมเครือข่ายในที่ทำงาน เพื่อการทำงานร่วมกันเป็นทีม แลกเปลี่ยนไอเดียความคิดเห็นในเรื่องงาน การสอบถามปัญหาในงานกับเพื่อนร่วมงานหรือผู้รู้ การนำเสนอผลงานที่     ต้องการฟีดแบค เป็นต้น

จงยกตัวอย่างโปรแกรมหรือแอปพลิเคชันที่ใช้สำหรับการสื่อสารแบบ one to many และ many to many

        2. Twitter  เหมาะสำหรับการรายงานสถานะความเคลื่อนไหวในการทำงาน การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์เรื่องที่ต้องการจะประกาศให้ทราบ แจ้งข่าวสารกิจกรรมและโครงการต่าง ๆ เพื่ออัพเดทความเป็นไปให้ทราบเป็นระยะ ๆ เช่น เถ้าแก่จะตื่นมาด้วยความสบายใจเมื่อเห็นข้อความสั้น ๆ เหมือนพาดหัวข่าวใน timeline ตอนเช้าว่า งานที่มอบหมายให้ลูกจ้างกลับไปทำต่อที่บ้านเสร็จเรียบร้อยแล้ว ยามกะดึกที่เฝ้าโกดังรายงานความสงบเรียบร้อยทุก ๆ 20 นาที คนขับรถส่งสินค้าไปถึงท่าเรือได้ทันเวลา เป็นต้น

จงยกตัวอย่างโปรแกรมหรือแอปพลิเคชันที่ใช้สำหรับการสื่อสารแบบ one to many และ many to many

        3. Wiki  ใช้สำหรับจัดการความรู้ขององค์กร หรือทำ KM นั่นเอง โดยเปิดพื้นที่ให้พนักงานเ้ข้าไปเขียนบันทึกจัดเก็บไว้เป็นคลังความรู้ขององค์กร ให้คนทำงานได้สืบค้นและเรียนรู้ตามได้ ใช้เป็นคู่มือในการทำงานก็ได้ ใช้เป็นแหล่งอ้างอิงในการแก้ไขปัญหา หรือตอบคำถามที่พบบ่อยก็ได้ พนักงานบางคนจะไม่มีวันถูกไล่ออกจากงาน เพราะเขาเป็นคนเขียน wiki ของที่ทำงาน เหมือนเป็นคัมภีร์ประจำออฟฟิศนั่นหมายความว่าความมั่นคงในงานของพนักงานก็สูงขึ้นด้วย

จงยกตัวอย่างโปรแกรมหรือแอปพลิเคชันที่ใช้สำหรับการสื่อสารแบบ one to many และ many to many

        4. Youtube  การถ่ายทอดผ่านวิดีโอ เป็นสิ่งที่ทำให้เกิดความเข้าใจได้ดีมากขึ้นกว่าการอ่านผ่านตัวหนังสือ ดังนั้น ไอเดียในการนำยูทูปมาใช้ในการฝึกอบรมหรือการสาธิตวิธีการทำงานจึงเป็นประโยชน์อย่างมาก ในการพัฒนาความรู้ทักษะของพนักงาน นอกจากนี้ยังสามารถใช้เป็นเครื่องมือในการสัมภาษณ์พนักงานได้อีกด้วย เช่น เมื่อมีผู้สมัครงานที่น่าสนใจจะรับเข้าทำงาน ก็ให้ผู้สมัครแนะนำตัวและตอบคำถามตามหัวข้อที่แจ้งไว้ อัดวิดีโอส่งผ่านยูทูปมา ก็จะลดต้นทุนได้ทั้งสองฝ่าย ทั้งผู้สัมภาษณ์ และผู้ถูกสัมภาษณ์ เป็นต้น

  

จงยกตัวอย่างโปรแกรมหรือแอปพลิเคชันที่ใช้สำหรับการสื่อสารแบบ one to many และ many to many

        5. Foursquare  ใช้ในการบริหารจัดการเชิงพื้นที่ เหมาะสำหรับองค์กรที่มีสาขาหลายแห่ง และมีการตรวจเยี่ยมพื้นที่ เช่น เซลส์ที่ต้องไปพบลูกค้าต่างจังหวัด ก็เช็คอินเวลาไปถึงสถานที่นัดหมาย ทำให้ผู้จัดการหรือหัวหน้าทีมขายติดตามการเข้าพบลูกค้าตามแผนออกทริปได้ หรือ การตรวจประเมินโดยออดิเตอร์ที่ต้องไปออดิทพนักงานประจำสาขา หรือตามห้างร้านต่าง ๆ ก็สามารถบันทึกข้อมูลการตรวจเยี่ยมในพื้นที่ต่าง  ๆ ไว้ให้สำนักงานใหญ่ควบคุมดูแลหรือมอนิเตอร์ดูได้  เป็นต้น

จงยกตัวอย่างโปรแกรมหรือแอปพลิเคชันที่ใช้สำหรับการสื่อสารแบบ one to many และ many to many

        6. Instagram  เน้นการโพสต์รูปภาพ แชร์รูปภาพเป็นหลัก เอามาประยุกต์ใช้ในการรายงานด้วยภาพ เช่น ภาพกิจกรรมต่าง ๆ การสัมมนา การประกวด การมอบของรางวัล การทำงานที่เสี่ยงอันตราย ชิ้่นงานที่ได้คุณภาพ ตัวอย่างของเสีย กิจกรรมนอกสถานที่ การแข่งกีฬา การดูงาน การทำ 5ส. สภาพแวดล้อมในสถานประกอบการ ฯลฯ หรือนำมาใช้เป็นภาพประกอบในการแจ้งเรื่องร้องเรียน หรือข้อเสนอแนะไคเซ็น เป็นต้น

จงยกตัวอย่างโปรแกรมหรือแอปพลิเคชันที่ใช้สำหรับการสื่อสารแบบ one to many และ many to many

         7. Blog  เอาไว้ใช้เขียนบทความ หรือข้อความที่มีเนื้อหารายละเอียดมากหน่อย ซึ่งเฟซบุค หรือทวิตเตอร์มีข้อจำกัด สามารถเขียนรีวิว เขียนรายงาน เขียนบันทึกการทำงาน ข้อค้นพบ การแก้ไขปัญหาในงาน ซึ่งสามารถใส่ภาพประกอบได้ เป็นการบันทึกข้อมูลที่เป็นหลักฐานอ้างอิงที่ดีไว้สำหรับประเมินผลการปฏิบัติงาน เช่น หัวหน้าที่ได้อ่านไดอารี่การทำงานของพนักงานก็จะสามารถตรวจสอบการทำงานย้อนหลัง และประเมินผลงาน หรือดูพัฒนาการของลูกน้องได้

จงยกตัวอย่างโปรแกรมหรือแอปพลิเคชันที่ใช้สำหรับการสื่อสารแบบ one to many และ many to many

           8.  Webboard  เอาไว้ตั้งกระทู้ สอบถามปัญหาในงาน หรือเรื่องต่าง ๆ ที่พนักงานสนใจ เช่น สวัสดิการพนักงาน นโยบาย กฎระเบียบข้อบังคับ ฯลฯ หรือเอาไว้ใช้ประกาศตำแหน่งงานว่างในองค์กร หรือตั้งกระทู้สำหรับระดมสมอง ประชันไอเดีย รับฟังข้อเสนอแนะ เป็นต้น

จงยกตัวอย่างโปรแกรมหรือแอปพลิเคชันที่ใช้สำหรับการสื่อสารแบบ one to many และ many to many

         9. Google Docs  นำมาใช้ในการจัดการไฟล์เอกสารร่วมกัน จะได้ไม่ยุ่งยากในการเซฟข้อมูลเป็นหลายไฟล์ สามารถแก้ไขเอกสารร่วมกันได้ แล้วเซฟเป็นไฟล์ที่อัพเดทล่าสุดเป็นไฟล์เดียว ทีมงานสามารถอัพโหลด ดาวโหลด ไฟล์งานไว้ในโฟลเดอร์กลางที่ทุกคนต้องใช้งานร่วมกัน นอกจากนี้ ยังสามารถนำมาใช้ทำแบบสอบถามออนไลน์ได้อีกด้วย ลดภาระการถ่ายเิอกสารแจกจ่ายไปยังทุกแผนก ซึ่งสิ้นเปลืองกระดาษแถมยังไม่ได้รับการตอบกลับอีกต่างหาก

จงยกตัวอย่างโปรแกรมหรือแอปพลิเคชันที่ใช้สำหรับการสื่อสารแบบ one to many และ many to many

         10. Drop Box  มีประโยชน์คือ เป็นฮาร์ดดิสก์สำรองออนไลน์ ไว้เก็บข้อมูลเผื่อฉุกเฉิน บางทีไปทำงานแต่ดันลืมหน่วยความจำสำรองไว้ที่บ้าน ก็สามารถดาวโหลดไฟล์ที่เก็บไว้ในดร็อปบ็อกซ์มาใช้งานได้อย่างทันท่วงที เป็นที่ฝากไฟล์ซึ่งสามารถแชร์กล่องเก็บข้อมูลให้ผู้อื่นใช้ร่วมกันได้ง่าย

จงยกตัวอย่างโปรแกรมหรือแอปพลิเคชันที่ใช้สำหรับการสื่อสารแบบ one to many และ many to many

        11. Skype  เอาไว้ใช้งานเวลามีประชุมทางไกล ออนไลน์แบบเห็นหน้ากันเรียลไทม์ ต้นทุนต่ำแต่ระดับปฏิสัมพันธ์สูง นอกจากนี้ยังประยุกต์ใช้ในการนัดหมายสัมภาษณ์งานทางไกลได้ด้วย ทั้งผู้สัมภาษณ์และผู้ถูกสัมภาษณ์ต้องมีอุปกรณ์และเวลาที่ตรงกัน จำลองสถานการณ์และสิ่งแวดล้อมให้เหมือนเจอตัวจริงกันเป็นๆ

จงยกตัวอย่างโปรแกรมหรือแอปพลิเคชันที่ใช้สำหรับการสื่อสารแบบ one to many และ many to many

ตัวอย่าง  เว็บไซต์ ที่ให้บริการ Social Network หรือ Social Media   

Google Group – เว็บไซต์ในรูปแบบ Social Networking

จงยกตัวอย่างโปรแกรมหรือแอปพลิเคชันที่ใช้สำหรับการสื่อสารแบบ one to many และ many to many

Wikipedia – เว็บไซต์ในรูปแบบข้อมูลอ้างอิง

จงยกตัวอย่างโปรแกรมหรือแอปพลิเคชันที่ใช้สำหรับการสื่อสารแบบ one to many และ many to many

MySpace – เว็บไซต์ในรูปแบบ Social Networking

จงยกตัวอย่างโปรแกรมหรือแอปพลิเคชันที่ใช้สำหรับการสื่อสารแบบ one to many และ many to many
 

MouthShut – เว็บไซต์ในรูปแบบ Product Reviews

จงยกตัวอย่างโปรแกรมหรือแอปพลิเคชันที่ใช้สำหรับการสื่อสารแบบ one to many และ many to many

Yelp – เว็บไซต์ในรูปแบบ Product Reviews

 

จงยกตัวอย่างโปรแกรมหรือแอปพลิเคชันที่ใช้สำหรับการสื่อสารแบบ one to many และ many to many

Youmeo – เว็บที่รวม Social Network

จงยกตัวอย่างโปรแกรมหรือแอปพลิเคชันที่ใช้สำหรับการสื่อสารแบบ one to many และ many to many
 

Last.fm – เว็บเพลงส่วนตัว Personal Music

จงยกตัวอย่างโปรแกรมหรือแอปพลิเคชันที่ใช้สำหรับการสื่อสารแบบ one to many และ many to many
 

YouTube – เว็บไซต์ Social Networking และ แชร์วิดีโอ

 

จงยกตัวอย่างโปรแกรมหรือแอปพลิเคชันที่ใช้สำหรับการสื่อสารแบบ one to many และ many to many

Flickr – เว็บแชร์รูปภาพ

จงยกตัวอย่างโปรแกรมหรือแอปพลิเคชันที่ใช้สำหรับการสื่อสารแบบ one to many และ many to many

ข้อดี - ข้อเสีย Social Media

ข้อดีของ Social Media

            – สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลความรู้ในสิ่งที่สนใจร่วมกันได้

            – เป็นคลังข้อมูลความรู้ขนาดย่อมเพราะเราสามารถเสนอและแสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยนความรู้ หรือตั้งคำถามในเรื่องต่างๆ เพื่อให้บุคคลอื่นที่สนใจหรือมีคำตอบได้ช่วยกันตอบ

            – ประหยัดค่าใช้จ่ายในการติดต่อสื่อสารกับคนอื่น สะดวกและรวดเร็ว

            – เป็นสื่อในการนำเสนอผลงานของตัวเอง เช่น งานเขียน รูปภาพ วีดิโอต่างๆ เพื่อให้ผู้อื่นได้เข้ามารับชมและแสดงความคิดเห็น

            – ใช้เป็นสื่อในการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ หรือบริการลูกค้าสำหรับบริษัทและองค์กรต่างๆ ช่วยสร้างความเชื่อมั่นให้ลูกค้า

            – ช่วยสร้างผลงานและรายได้ให้แก่ผู้ใช้งาน เกิดการจ้างงานแบบใหม่ๆ ขึ้น

            – คลายเครียดได้สำหรับผู้ใช้ที่ต้องการหาเพื่อนคุยเล่นสนุกๆ

            – สร้างความสัมพันธ์ที่ดีจากเพื่อนสู่เพื่อนได้

ข้อเสียของ Social Media

         – เว็บไซต์ให้บริการบางแห่งอาจจะเปิดเผยข้อมูลส่วนตัวมากเกินไป หากผู้ใช้บริการไม่ระมัดระวังในการกรอกข้อมูล อาจถูกผู้ไม่หวังดีนำมาใช้ในทางเสียหาย หรือละเมิดสิทธิส่วนบุคคลได้

      – Social Network เป็นสังคมออนไลน์ที่กว้าง หากผู้ใช้รู้เท่าไม่ถึงการณ์หรือขาดวิจารณญาณ อาจโดนหลอกลวงผ่านอินเทอร์เน็ต หรือการนัดเจอกันเพื่อจุดประสงค์ร้าย ตามที่เป็นข่าวตามหน้าหนังสือพิมพ์

      – เป็นช่องทางในการถูกละเมิดลิขสิทธิ์ ขโมยผลงาน หรือถูกแอบอ้าง เพราะ Social Network Service เป็นสื่อในการเผยแพร่ผลงาน รูปภาพต่างๆ ของเราให้บุคคลอื่นได้ดูและแสดงความคิดเห็น

      – ข้อมูลที่ต้องกรอกเพื่อสมัครสมาชิกและแสดงบนเว็บไซต์ในรูปแบบ Social Network ยากแก่การตรวจสอบว่าจริงหรือไม่ ดังนั้นอาจเกิดปัญหาเกี่ยวกับเว็บไซต์ที่กำหนดอายุการสมัครสมาชิก หรือการถูกหลอกโดยบุคคลที่ไม่มีตัวตนได้

      – ผู้ใช้ที่เล่น social network และอยู่กับหน้าจอคอมพิวเตอร์เป็นเวลานานอาจสายตาเสียได้หรือบางคนอาจตาบอดได้

      – ถ้าผู้ใช้หมกมุ่นอยู่กับ social network มากเกินไปอาจทำให้เสียการเรียนหรือผลการเรียนตกต่ำลงได้

      – จะทำให้เสียเวลาถ้าผู้ใช้ใช้อย่างไร้ประโยชน์

       กล่าวโดยสรุุปแล้ว สื่อสังคม หรือสื่อ Social Media เป็นสื่อทางการศึกษาเรียนรู้ในยุคแห่งสังคมออนไลน์ที่กำลังก้าวรุดหน้าไปอย่างรวดเร็วในการปรับใช้ในวงการศึกษา ดังนั้นผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย ต้องตระหนักและมองเห็นความสำคัญต่อสื่อดังกล่าวรวมทั้งการกำหนดแนวทางของการปรับใช้ให้เหมาะสมกับสภาพการณ์ทางสังคมในปัจจุบัน ซึ่ง Social Media ในหลากหลายประเภทที่กล่าวถึงในเบื้องต้นนั้นคงเป็นสื่อการศึกษาที่ต้องเข้ามามีบทบาทสำคัญต่อการศึกษาเรียนรู้ในสังคมอย่างแน่นอนจึงเป็นประเด็นสำคัญที่ทุกฝ่ายต้องตระหนักและเตรียมรับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

วิดีโอ YouTube