รูปแบบของการระบุข้อมูลออก

รูปแบบของการระบุข้อมูลออก
### ยินดีต้อนรับเข้าสู่เว็บไซต์ศูนย์การเรียนรู้ รายวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนชัยบาดาลวิทยา ###
รหัสวิชา ง 30203
วิชา การพัฒนาโปรแกรมเบื้องต้น
หน้าหลัก
คำอธิบายรายวิชา
สาระการเีรียนรู้
แบบทดสอบก่อนเรียน
รูปแบบของการระบุข้อมูลออก
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
รูปแบบของการระบุข้อมูลออก
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
รูปแบบของการระบุข้อมูลออก
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
รูปแบบของการระบุข้อมูลออก
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
รูปแบบของการระบุข้อมูลออก
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5
รูปแบบของการระบุข้อมูลออก
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
รูปแบบของการระบุข้อมูลออก
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
รูปแบบของการระบุข้อมูลออก
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8
รูปแบบของการระบุข้อมูลออก
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9
รูปแบบของการระบุข้อมูลออก
หน่วยการเรียนรู้ที่ 10
แบบทดสอบหลังเรียน
เกณฑ์การวัดผลประเมินผล
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 

บทเรียนเสริมความรู้ หน่วยที่ 2

1. แนวทางการแก้ปัญหา

          จากการศึกษาพฤติกรรมในการเรียนรู้และแก้ปัญหาของมนุษย์พบว่า โดยปกติมนุษย์มีกระบวนการในการแก้ปัญหา ซึ่งประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ดังนี้

1. การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา
           การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา (State the problem) ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนแรกสุด
ก่อนที่จะลงมือแก้ปัญหา แต่ผู้แก้ปัญหามักจะมองข้ามความสำคัญของขั้นตอนนี้อยู่เสมอ จุดประสงค์ของขั้นตอนนี้ คือการทำความเข้าใจกับปัญหาเพื่อแยกให้ออกว่าข้อมูลที่กำหนดมา ในปัญหาหรือเงื่อนไขของปัญหาคืออะไร และสิ่งที่ต้องการคืออะไร อีกทั้งวิธีการที่ใช้ประมวลผล ในการวิเคราะห์ปัญหาใด กล่าวโดยสรุป มีองค์ประกอบในการวิเคราะห์ ดังนี้

1.1 การระบุข้อมูลเข้า ได้แก่ การพิจารณาข้อมูลและเงื่อนไขที่กำหนดมาในปัญหา1.2 การระบุข้อมูลออก ได้แก่ การพิจารณาเป้าหมายหรือสิ่งที่ต้องหาคำตอบ1.3 การกำหนดวิธีประมวลผล ได้แก่ การพิจารณาขั้นตอนวิธีหาคำตอบหรือข้อมูลออก 

ตัวอย่างที่ 2 แสดงการวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของการหาค่าเฉลี่ยของจำนวนเต็ม 5 จำนวน
ได้แก่ 0 3 4 8 และ 12
      �ҡͧ���Сͺ㹡������������С�˹� ��������´�ͧ�ѭ��
      (1) ����кآ�������� 㹷����⨷���˹� ����Ҥ������¢ͧ�ӹǹ��� 5 �ӹǹ �ѧ��� ������������� �ӹǹ 0 3 4 8 ��� 12
      (2) ����кآ������͡ �ҡ⨷����觷���繤ӵͺ�ͧ�ѭ�Ҥ�� �������� (X) �ͧ�ӹǹ������
      (3) ��á�˹��Ըջ����ż� �ҡ��觷��⨷���ͧ��� ��������” ���¶֧ ������ͧ�ӹǹ��� 5
��ô��� 5 �ѧ��� ��鹵͹�ͧ��û����żŻ�Сͺ����
           3.1) รับค่าจำนวนทั้ง 5 จำนวน
           3.2) นำจำนวนเต็มทั้ง 5 มาบวกเข้าด้วยกัน
           3.3) นำผลลัพธ์จากข้อ 3.2) มาหารด้วย 5

ตัวอย่างที่ 3 แสดง การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของการหา ค่า X เมื่อ X คือจำนวนเต็มจำนวนหนึ่่ง
ในกลุ่มจำนวนเต็ม 5 จำนวน ที่มีค่าเฉลี่ยเป็น 10 และจำนวนอีก 4 จำนวนได ้แก่ 3 4 8 และ 12
จากองค์ประกอบในการวิเคราะห์และกำหนดราย ละเอียดของปัญหา
           (1) การระบุข้อมูลเข้า จากโจทย์ข้อมูลเข้า ได้แก่
                1.1) จำนวนอีก 4 จำนวน คือ 3 4 8 12
                1.2) ค่าเฉลี่ยของจำนวนทั้ง 5 จำนวน คือ 10
           (2) การระบุข้อมูลออก จากโจทย์สิ่งที่เป็น ผลลัพธ์ คือ ค่า X
           (3) การกำหนดวิธีประมวลผล จากโจทย์และความหมาย ของ “ค่าเฉลี่ย”เราสามารถสรุปขั้นตอนของการประมวลผลได้ดังนี้
               3.1) หาค่าผลรวมของจำนวนเต็มทั้ง 5 โดยนำค่าเฉลี่ยคูณด้วยจำนวนของเลข จำนวนเต็ม นั่นคือ 10 x 5 = 50
               3.2) จากความหมายของ “ผลรวม” จะได้ 3+4+8+12+X = 50
               3.3) แก้สมการ 27+X = 50 (จะได้ X = 23 ซึ่งคือผลลัพธ์)

     

รูปแบบของการระบุข้อมูลออก

เข้าสู่บทเรียนถัดไป

รูปแบบของการระบุข้อมูลออก
รูปแบบของการระบุข้อมูลออก

รูปแบบของการระบุข้อมูลออกคืออะไร

ข้อมูลออกหรือคำตอบคือสิ่งที่โจทย์ต้องการในการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ จำเป็นต้องระบุให้ชัดเจนว่าสิ่งที่ต้องการให้เป็นผลลัพธ์ของปัญหาคืออะไร และต้องการให้แสดงออกในรูปแบบใด เช่น การประมวลผลข้อมูลการเบิกถอนเงินจากเครื่องเอทีเอ็ม ต้องมีการแสดงข้อมูลออกเป็นจำนวนเงินที่ถอนไป และจำนวนเงินคงเหลือในบัญชี

การระบุข้อมูลเข้าข้อมูลออกคืออะไร

1.1 การระบุข้อมูลเข้า ได้แก่ การพิจารณาข้อมูลและเงื่อนไขที่กำหนดมาในปัญหา 1.2 การระบุข้อมูลออก ได้แก่ การพิจารณาเป้าหมายหรือสิ่งที่ต้องหาคำตอบ 1.3 การกำหนดวิธีประมวลผล ได้แก่ การพิจารณาขั้นตอนวิธีหาคำตอบหรือข้อมูลออก

ข้อใดคือข้อมูลนำออก

หมายถึงข้อมูลที่คอมพิวเตอร์ทำการประมวลผลให้เรียบร้อยแล้ว พร้อมที่จะส่งออกไปทางจอภาพ เครื่องพิมพ์ พล็อตเตอร์ หรืออุปกรณ์ส่งออกอื่น ๆ รวมทั้งหน่วยขับจานบันทึก

วิธีการแก้ปัญหาคืออะไร

คือการหาให้เจอว่าปัญหานั้นคืออะไร มีมากน้อยขนาดไหน เป็นปัญหาเล็ก ปัญหาใหญ่ เกิดบ่อยหรือนานๆเกิดที ปํญหาเล็กปัญหาใหญ่มีวิธีการแก้ไม่เหมือนกัน