ยก ตัวอย่าง ภาคผนวก ที่สามารถ ใช้ ประกอบ ใน แผนธุรกิจผลิตภัณฑ์อาหารเสริม 2 ตัวอย่าง

ภาคผนวก

ภาคผนวก
ในส่วนของภาคผนวกจะต้องแสดง

                   - ประวัติ ผลงานของผู้บริหารโดยละเอียด

                   - ภาพถ่ายสินค้า สถานที่ตั้งของกิจการ  สถานที่ผลิต(ถ้ามี)  แผนที่โดยสังเขป

                       - ข้อมูลวิจัยตลาดโดยทั่วไป

                       - ข้อมูลลูกค้า ประกอบด้วย

·       ข้อมูลลูกค้า  และคู่แข่งขันรายใหญ่ 3  รายแรกตามลำดับยอดขาย

(ที่ปรากฏในการวิเคราะห์แรงผลักดันทั้งห้าแล้ว)

·       แผนกลยุทธ์ในอนาคตจะเพิ่มยอดขายกับลูกค้า  ตลอดจนแผนการแข่งขัน

·       กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย

      การวิเคราะห์คู่แข่ง ระบุคู่แข่งขันรายใหญ่ 3 ราย โดยประกอบด้วย

· ระยะเวลาที่อยู่ในตลาด

· ส่วนแบ่งตลาด

· ราคา/กลยุทธ์

· ระบุจุดแข็ง-จุดอ่อนของเราเมื่อเทียบกับคู่แข่ง

     การแบ่งส่วนตลาดและกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย

กล่าวโดยสรุป ควรจะจัดทำในลักษณะรูปเล่มโดยเขียนตามหัวข้อที่กล่าวมาแล้ว ทั้งหมด   จะทำให้ง่ายต่อการเขียนโครงการขอสินเชื่อจากสถาบันการเงิน


บทความนี้เกิดจากการเขียนและส่งขึ้นมาสู่ระบบแบบอัตโนมัติ สมาคมฯไม่รับผิดชอบต่อบทความหรือข้อความใดๆ ทั้งสิ้น เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือไม่ ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง และหากท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม หรือทำให้เกิดความเสียหาย หรือละเมิดสิทธิใดๆ กรุณาแจ้งมาที่ ht.ro.apt@ecivres-bew เพื่อทีมงานจะได้ดำเนินการลบออกจากระบบในทันที


  • ตอนที่ 1 : เกริ่นนำ
  • ตอนที่ 2 : แผนธุรกิจมีความจำเป็นด้วยหรือ
  • ตอนที่ 3 : วัตถุประสงค์ในการจัดทำแผนธุรกิจ
  • ตอนที่ 4 : ลักษณะของแผนธุรกิจที่ดี
  • ตอนที่ 5 : การเริ่มต้นทำธุรกิจ คิดก่อนลงมือทำ
  • ตอนที่ 6 : องค์ประกอบของแผนธุรกิจ
  • ตอนที่ 7 : องค์ประกอบของแผนธุรกิจ (ต่อ)
  • ตอนที่ 8 : การเขียนบทสรุปผู้บริหารที่ทำให้น่าสนใจ
  • ตอนที่ 9 : ประวัติความเป็นมา (Company Summary)
  • ตอนที่ 10 : หลักการวิเคราะห์ SWOT
  • ตอนที่ 11 : หลักการวิเคราะห์ SWOT (ต่อ)
  • ตอนที่ 12 : ความแตกต่างที่มักเข้าใจผิดเกี่ยวกับSWOT
  • ตอนที่ 13 : สภาพแวดล้อมอื่น ๆ และวัตถุประสงค์ของแผนธุรกิจ
  • ตอนที่ 14 : แผนการตลาด
  • ตอนที่ 15 : เทคนิคการเขียนแผนการตลาด
  • ตอนที่ 16 : เทคนิคการเขียนแผนการตลาด (ต่อ)
  • ตอนที่ 17 : ขั้นตอนการเขียนแผนการตลาด
  • ตอนที่ 18 : คุณลักษณะที่ดีของแผนการตลาด
  • ตอนที่ 19 : บางสิ่งที่แผนการตลาดที่ดีจะต้องมี
  • ตอนที่ 20 : หลักการกำหนดราคา
  • ตอนที่ 21 : แนวทางของธุรกิจเพื่อนำไปจัดทำแผนการตลาด
  • ตอนที่ 22 : อีกหนึ่งช่องทางที่แผนการตลาดไม่ควรมองข้าม
  • ตอนที่ 23 : Five Force Model Analysis
  • ตอนที่ 24 : ภัยคุกคามจากสินค้าทดแทน
  • ตอนที่ 25 : ภัยคุกคามจากคู่แข่งขันรายใหม่
  • ตอนที่ 26 : อำนาจต่อรองจากผู้ส่งมอบ
  • ตอนที่ 27 : แผนการเงิน
  • ตอนที่ 28 : แผนการเงิน(ต่อ)
  • ตอนที่ 29 : งบกำไรขาดทุน
  • ตอนที่ 30 : งบดุล
  • ตอนที่ 31 : แผนการจัดการ
  • ตอนที่ 32 : แผนการผลิตและการดำเนินการ
  • ตอนที่ 33 : ทำเลในการประกอบการ
  • ตอนที่ 34 : ความเสี่ยง (Critical Risks) แผนฉุกเฉินหรือแผนสํารอง
  • ตอนที่ 35 : ภาคผนวก
  • ตอนที่ 36 : บุคคลหรือองค์การที่สามารถให้การรับรอง
  • ตอนที่ 37 : รูปแบบของการดำเนินธุรกิจ
  • ตอนที่ 38 : ความสำคัญของการวิจัยตลาดสำหรับการจัดทำแผนธุรกิจ
  • ตอนที่ 39 : ประเทศญี่ปุ่นกับงานวิจัย
  • ตอนที่ 40 : การใช้เทคโนโลยีสำหรับธุรกิจ
  • ตอนที่ 41 : การมีเว็บไซต์สำหรับกิจการธุรกิจขนาดย่อม
  • ตอนที่ 42 : จริยธรรมสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจ
  • ตอนที่ 43 : ความสำคัญของจริยธรรมในการดำเนินธุรกิจ
  • ตอนที่ 44 : การนำเสนอแผนธุรกิจ
  • ตอนที่ 45 : การนำเสนอแผนธุรกิจ(2)
  • ตอนที่ 46 : การประยุกต์แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในแผนธุรกิจ
  • ตอนที่ 47 : การพยากรณ์ยอดขาย (Sales Forecast)
  • ตอนที่ 48 : หน้าปกของแผนธุรกิจ